Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 11-ภวัต ใจกล้า-1-4-จริยธรรมคอมพิวเตอร์

11-ภวัต ใจกล้า-1-4-จริยธรรมคอมพิวเตอร์

Published by 11 ภวัต ใจกล้า, 2021-07-06 05:59:29

Description: 11-ภวัต ใจกล้า-1-4-จริยธรรมคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 7 จริยธรรมกบั ความรับผิดชอบ แลพผลกระทบในการใช้คอมพวิ เตอร์และสารสนเทศ ในงานอาชีพ เน่ืองจากสังคมเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT: Information Technology) และระบบสารสนเทศ (IS: Information System) ในโลกยคุ ปัจจุบนั เริ่มเขา้ มามีบทบาทเป็นอยา่ งมากในการดาเนินชีวิตของมนุษยโ์ ดยเฉพาะในเชิงธุรกิจ ไมว่ า่ จะเป็นเร่ืองการเงินการลงทุนและการคา้ ระหวา่ งประเทศตลอดจนการศึกษาและการบริการตา่ งๆก็ตามสิ่ง เหลา่ น้ีลว้ นแลว้ แตอ่ าศยั เทคโนโลยสี ารสนเทศในการอานวยความสะดวกแทบท้งั สิ้นเพราะสามารถ ประหยดั เวลาประหยดั ตน้ ทุนมีความรวดเร็วและสามารถเชื่อมนั่ ในความถกู ตอ้ งแม่นยาของขอ้ มูลไดเ้ ป็นอยา่ งดี หลายองคก์ รไดย้ อมรับและใชเ้ ป็นมาตรฐานในการช้ีถึงความน่าเช่ือถือโดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ เช่นสหรัฐอเมริกาองั กฤษกลมุ่ ประเทศในแถบยโุ รปอยา่ งไรก็ดีความเหล่ือมล้ากนั ทางเทคโนโลยไี มว่ า่ จะดว้ ย ปัจจยั ใดก็ตามทาใหเ้ กิดช่องวา่ งระหวา่ งการรับรู้และการเขา้ ถึงข่าวสารของผมู้ ีข่าวสารและผไู้ ร้ขา่ วสารหรือท่ี เรียกกนั วา่ \"“ Digital Devide” ความไม่เทา่ เทียมกนั ของโอกาสในการเขา้ ถึงเทคโนโลยเี หล่าน้ีส่งผลถึงการ ละเมิดสิทธิตา่ งๆมากมายอาจจะดว้ ยความต้งั ใจหรือไม่ต้งั ใจที่จะทาก็ตาม ส่ิงหน่ึงท่ีตง้ ทาควบค่กู นั ไปกบั การ แกป้ ัญหา คือการป้องกนั การเสริมสร้างจริยธรรมในการใชค้ อมพิวเตอร์ส่งเสริมใหท้ ุกคนไดเ้ รียนรู้และเห็น คณุ คา่ ของปัญหาที่จะเกิดข้ึนท้งั โดยตนเองและส่วนรวม ความหมายของจริยธรรม (Ethics) ความหมายของจริยธรรม (Ethics) จริยธรรมจากพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึงธรรมท่ี เป็นข้อประพฤติปฏิบตั ิศลี ธรรมและกฎศีลธรรมจากการสัมมนาของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ได้สรุปนิยามไว้ว่าจริยธรรมคือแนวทางประพฤติปฏิบัติตนเพ่ือการบรรลถุ ึงสภาพชีวิตอันทรงคุณค่าพึงประสงค์ โดยท่ัวไปจริยธรรมมกั อิงอย่กู บั ศาสนาทั้งนเี้ พราะคาสอนทางศาสนามีส่วนสร้างระบบจริยธรรมให้สังคม แต่ ทั้งนไี้ ม่ได้หมายความว่าจริยธรรมอิงอย่กู บั หลกั คาสอนทางศาสนาเพยี งอย่างเดยี วแท้ท่ีจริงจริยธรรมหยงั่ รากอยู่ บนวฒั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและโดยนัยนบี้ างท่านเรียกหลกั แห่งความประพฤติอันเนื่องมาจากคา สอนทางศาสนาว่าศีลธรรมและเรียกหลกั แห่งความประพฤติอันพัฒนามาจากแหล่งอื่นว่าจริยธรรม

คําว่า Ethics ในภาษาองั กฤษมี2 ความหมายดงั น้ี ความหมายแรกคอื จริยธรรม (Ethics) หมายถึงประมวล กฎหมายท่ีกลมุ่ ชนหรือสังคมหน่ึง ๆ ยอมรับเป็น แนวควบคุมความประพฤติเพ่ือแยกแยะใหเ้ ห็นวาอะไรควร หรือไปก่อนไดก้ บั การ บรรลุวตั ถุประสงค์ ของ กลมุ่ Ethics ท่ีใชใ้ นความหมายน้ีเป็นอนั เดียวกบจริยธรรมเช่น Medical Ethics (จริยธรรมทางการแพทย)์ ซ่ึงตรงกบั ความหมายของ Medical Ethics ในภาษาองั กฤษวา่ The rules or principles governing the professional conduct of medical practitioners. ความหมายที่สองของ Ethics เป็นความหมายที่ใชใ้ นภาษา นกั ปรัชญาและ Ethics ในความหมายน้ีแปลเป็นไทยวา่ จริยศาสตร์ พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใ้ หค้ วามหมายของ จริยศาสตร์ ไวว้ า่ ปรัชญาสาขาหน่ึงวา่ ดว้ ยการ แสวงหาความ ดีสูงสุดของ ชีวติ มนุษยแ์ สวงหาเกณฑใ์ นการตดั สินความประพฤติของมนุษยว์ าอะไรถูกอะไรผิด หรืออะไรควรอะไร ไม่ควรคาวาจริยธรรมอาจมีผรู้ ู้ให้คาอธิบายแตกต่างกนั ออกไปตามสาขาวิชา แต่โดยสรุป แลว้ จริยธรรมก็ คอื กฎเกณฑค์ วามประพฤติของมนุษยซ์ ่ึงเกิดข้นึ จากธรรมชาติของมนุษยเ์ อง ไดแ้ ก่ ความเป็นผมู้ ี ปัญญา และเหตผุ ล หรือปรัชาญาณ ทาใหม้ นุษยม์ ีมโนธรรมและรู้จกั ไตร่ตรองแยกแยะความดีความชว่ั , ถกู -ผดิ , ควร-ไมค่ วรเป็นการควบคุมตวั เองและเป็นการควบคุมกนเองในกลุ่มหรือเป็นศีลธรรมเฉพาะกลุ่ม ความหมาย ของจรรยาบรรณ (Code of Conduct) จรรยาบรรณจากพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ ประกอบอาชีพการงานแต่ละอยา่ งกาหนดข้ึนเพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ช่ือเสียงและฐานะของ สมาชิกอาจเขียนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหรือไม่กไ็ ดเ้ ช่นจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ (Professional Code of Conduct) ความหมายของศีลธรรม (Moral) ศีลธรรม เป็นศพั ทพ์ ระพทุ ธศาสนาหมายถึง ความประพฤติที่ดีท่ีชอบหรือธรรมในระดบั ศีลคาวา่ ศีลธรรมถา้ พจิ ารณาจากรากศพั ทภ์ าษาละติน Moralis หมายถึงหลกั ความประพฤติที่ดีสาหรับบคุ คลพึง ปฏิบตั ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook