แผนการสอนเร่อื ง การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพผู้สงู อายุ จานวนชั่วโมงทใ่ี ช้สอน 4 ชว่ั โมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้นกั ศกึ ษาสามารถ 1. บอกหลกั การประเมินภาวะสุขภาพผู้สงู อายุได้ 2. อธบิ ายการประเมนิ ความสามารถทางรา่ งกายได้ 3. บอกวธิ ีการประเมินสภาพทางจิตและสมรรถภาพสมองผสู้ ูงอายุ 4. ใชแ้ บบประเมนิ ภาวะสุขภาพต่างๆ และแปลผลได้ถกู ต้อง 5. เห็นความสาคญั ของการใชแ้ บบประเมนิ ภาวะสขุ ภาพดา้ นต่าง ๆ หวั ข้อบรรยาย 1. หลักการประเมินภาวะสุขภาพผสู้ งู อายุ 2. การประเมนิ ความสามารถทางรา่ งกาย 3. การประเมินสภาพทางจิตและสมรรถภาพสมองผสู้ ูงอายุ 4. การประเมนิ ทางกายภาพ วธิ กี ารสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. ผสู้ อนยกสถานการณส์ มมติ ให้ผเู้ รยี นเลือกใช้แบบประเมินตา่ ง ๆ 2. ผูส้ อนส่มุ ผู้เรียนเพ่ือสาธติ วิธีการประเมินสุขภาพจิต สมรรถภาพสมอง และ Time Up and Go Test แล้วผู้เรียนสาธติ ย้อนกลับ 3. ผู้เรียนจบั ค่เู พอ่ื นฝกึ การใช้แบบประเมนิ 4. ผู้สอนให้ผเู้ รียนเขา้ ร่วมโครงการสง่ เสรมิ การดแู ลตนเองผ้สู งู อายุปอ้ งกนั สมองเส่ือมตาบลขนุ ทะเล 5. ผู้เรียนทาการประเมนิ สุขภาพผสู้ งู อายุ ADL/IADL, TGDS, MMSE, MoCA, TUGT 6. ผ้สู อนใชก้ ารสงั เกตผู้เรียนขณะประเมินภาวะสุขภาพผูส้ งู อายุ 7. ผูส้ อนทบทวนการประเมิน การแปลผลคะแนนและผลการประเมนิ ของผเู้ รยี น 8. ผู้สอนและผู้เรียนร่วม reflective การเข้ารว่ มโครงการ ส่อื การเรยี นการสอน 1. Power point 2. เอกสารประกอบการสอน การประเมนิ ภาวะสุขภาพผู้สงู อายุ 3. แบบประเมินภาวะสขุ ภาพผ้สู ูงอายุ ADL/IADL, TGDS, MMSE, MoCA, TUGT 4. หนังสอื การพยาบาลผสู้ งู อายุ 5. ฝกึ ในสถานการณ์จริงชมรมผ้สู งู อายุ 47
การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้* วธิ กี ารประเมนิ ** สดั ส่วนของการประเมนิ 1.4 มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อการ - การแสดงความคิดเห็นในช้ัน - การมีสทิ ธ์ิสอบ กระทาของตนเอง เรยี น 1.5 มรี ะเบียบวนิ ัยและซอื่ สัตย์ - สอบกลางภาค 20% - สอบกลางภาค ขอ้ สอบปรนยั , อัตนยั ผ่านเกณฑ์ 60% 2.2 มีความรูแ้ ละความเข้าใจใน -รายงานฉบบั รวม 15% ใชแ้ บบประเมินกรณีศกึ ษา สาระสาคัญของศาสตร์ทางวิชาชพี - กรณีศึกษาผ้สู ูงอายุเด่ียว การพยาบาลผสู้ ูงอายุ ระบบ หวั ขอ้ การประเมนิ ภาวะ สุขภาพและปัจจยั ที่มีผลต่อการ สขุ ภาพผสู้ งู อายุ เปลยี่ นแปลงของสงั คมและต่อ - การเข้ารว่ มกิจกรรมชมรม ระบบสขุ ภาพ ผูส้ งู อายุ 2.5 มคี วามร้แู ละความเข้าใจใน -สังเกตการประเมินภาวะ สาระสาคญั เกีย่ วกบั เทคโนโลยี สขุ ภาพผ้สู ูงอายุ สารสนเทศทางการพยาบาลและ - ตรวจสอบการให้คะแนนการ จาแนกข้อมูลทางการพยาบาล ประเมิน และการวิเคราะห์ผล 3.4 สามารถคดิ วิเคราะห์โดยใช้ การประเมนิ องค์ความรู้ทางวิชาชีพและใช้ ประสบการณ์เป็นฐานฯ 4.1 มีความสามารถในการปรับตัว เชงิ วิชาชพี และปฏิสัมพันธ์อย่าง สรา้ งสรรค์กับผใู้ ช้บริการ ผ้รู ่วมงาน 5.2 สามารถแปลงข้อมูลเป็น ขา่ วสารท่ีมคี ุณภาพ สามารถอ่าน วิเคราะห์ และถา่ ยทอดข้อมูล ข่าวสารแก่ผู้อน่ื ได้อยา่ งเข้าใจ 48
หวั ขอ้ บรรยายเร่อื ง การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพผูส้ งู อายุ บทนา การประเมินผู้สงู อายุควรมีหลายระดบั ต้งั แต่การประเมนิ แบบงา่ ยไปถึงการประเมินทีล่ ึกและซับซ้อน เปน็ วิธกี ารทางคลินิกเพ่ือให้ผู้สงู อายมุ สี ุขภาพทด่ี ี และมคี วามสามารถในการทาหน้าท่ขี องร่างกายไดส้ ูงสดุ สาหรบั ผู้สูงอายทุ ี่เจบ็ ปว่ ย การประเมินช่วยใหก้ ารวางแผนการพยาบาลเหมาะสมกับผู้สงู อายแุ ตล่ ะรายที่มี ภาวะสขุ ภาพ ปญั หาด้านร่างกาย จิตใจ สงั คม และส่งิ แวดล้อมแตกต่างกัน พยาบาลและผใู้ หก้ ารดูแลจงึ ควรมี ข้อมลู ผสู้ งู อายุ ทส่ี าคญั มคี วามรู้และทักษะในการประเมินท่ีถูกต้อง รจู้ ักเลือกใช้เครอื่ งมือ และอุปกรณก์ าร วินจิ ฉยั ทปี่ ลอดภยั เพื่อในอนาคตจะเปน็ ผูม้ ีความรูแ้ ละความไวท่จี ะตอบสนองความตอ้ งการทีแ่ ตกตา่ งกนั ของ ผสู้ ูงอายไุ ด้ (Wold, 2008) 5.1 หลักการประเมนิ ภาวะสขุ ภาพผูส้ ูงอายุ การประเมินภาวะสุขภาพ (health assessment) หมายถึง การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลอย่าง เป็นระบบ โดยการประเมิน การตรวจสอบเพื่อทราบถึงภาวะสุขภาพ อันได้แก่ สุขภาพร่างกาย จิตใจ สังคม ตลอดจนสง่ิ แวดล้อม แบ่งการประเมนิ เป็น 2 วธิ ี ไดแ้ ก่ (ประเสรฐิ อสั สันตชยั , 2554) 1) การประเมินทางภววิสัย (objective perspective) เป็นการประเมินทางการแพทย์หรือการ ทางานของร่างกาย (physical function) 2) การประเมินทางอัตวิสัย (subjective perspective) เป็นการแสดงถึงความรู้สึกเก่ียวกับ สุขภาพที่บุคคลประเมนิ ตนเอง การประเมนิ ภาวะสุขภาพ ประกอบด้วยขั้นตอน สาคญั 2 ขน้ั ตอน คือ 1. การรวบรวมข้อมูล (collecting data) 2. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล (analyzing data) ชนิดการประเมนิ ภาวะสุขภาพผสู้ งู อายุ การประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุสามารถจาแนกเป็นลักษณะใหญ่ได้ 5 ประการ (วีรศักด์ิ เมอื งไพศาล, 2556) คอื 1) การประเมนิ สุขภาพทางกาย (physical Assessment) 2) การประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติ (functional ability assessment หรือ functional assessment) 3) การประเมินสุขภาพจิตและสมรรถภาพสมองผู้สูงอายุ (psychological and cognitive health assessment) 4) การประเมินทางสังคม (social functioning assessment) 5) การประเมินส่งิ แวดล้อม (environmental assessment) 49
5.2 การประเมินความสามารถทางรา่ งกาย (physical assessment) การประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติ หรือความสามารถในการทาหน้าท่ีของร่างกาย (functional ability) แบง่ การประเมินเป็น 2 ระดบั ใหญ่ ๆ ดงั น้ี 1. การประเมินกิจวัตรประจาวันพนื้ ฐาน (basic activity of daily living หรอื ADL) ตัวอย่าง เช่นการรับประทานอาหาร การล้างหน้าดูแลความสะอาดหน้าตาตนเอง การสวมใส่เสื้อผ้า การเข้า ห้องน้า การอาบน้า เปน็ ตน้ เครอื่ งมือท่ีใช้ ได้แก่ ดชั นบี ารเ์ ธลเอดีแอล (Barthel ADL (Index) 2. การประกอบกิจวตั รประจาวนั ทม่ี ีอุปกรณส์ งิ่ ของตา่ ง ๆ เข้ามาเกย่ี วข้อง (instrumental activity of daily living หรอื IADL) ตวั อยา่ งได้แก่ การไปจ่ายตลาด ความสามารถในการใชบ้ ริการขนส่ง การประกอบอาหาร การคิดเงิน ทอนเงนิ ทาบัญชเี งนิ คา่ ใชจ้ ่ายส่วนตวั เป็นตน้ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ ดัชนีจุฬาเอดีแอล (Chula ADL Index), Instrumental Activities of Daily living (IADL) ของ Lawton of Brody (1969) การประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติ หรือความสามารถในการทาหน้าท่ีของร่างกาย โดยเฉพาะ การประเมินกิจวัตรประจาวันพื้นฐานน้ีเป็นเคร่ืองมือการดูแลผู้สูงอายุท่ีสาคัญ สามารถใช้ประเมินภาวะสุขภาพ ร่างกายผู้สูงอายุที่สุขภาพดี และผู้สูงอายุท่ีเจ็บป่วยขณะรักษาตัวในสถานพยาบาล และรักษาต่อท่ีบ้าน ใช้เป็น เครอื่ งมือประเมนิ ระดบั ความบกพร่องของร่างกายทางสมอง และจิตใจได้อีกทางหนึ่ง ผู้สูงอายุท่ีมีความสามารถใน การดแู ลกิจวตั รประจาวันพน้ื ฐานตนเองและการใช้ชีวิตนอกบ้านได้อย่างอิสระ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตด้านร่างกาย และจิตใจดี ผสู้ งู อายทุ ่ีมีความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจาวันน้อย พยาบาลนอกจากจะให้การดูแลกิจวัตร ประจาวันแล้ว ควรวางแผนส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติกิจวัตรด้วยตนเองให้นานที่สุด เพื่อฟ้ืนฟูการ ทาหน้าที่ของร่างกายและสมอง นอกจากน้ีผลการประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติ เป็นแนวทางในการส่งเสริม ความรู้ในการดแู ลผสู้ ูงอายแุ ก่ผ้ดู แู ล อนั จะส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย จิตใจทีด่ ขี องผู้สูงอายุ 5.3 การประเมินสุขภาพจิตและสมรรถภาพสมองผู้สูงอายุ (psychological and cognitive health assessment) ประเมินสุขภาพจิต (psychological health assessment) จะรวมถึงการประเมินทางด้าน ปัญญา (cognitive assessment) ได้แก่ การรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลท่ีแสดงถึงสภาพจิต ตลอดจนเชาว์ ปัญญาของผู้สูงอายุ พยาบาลท่ีดูแลผู้สูงอายุสามารถจะประเมินภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุได้โดยการ สอบถาม ซักประวัติ พูดคุย เพื่อดูปฏิกิริยาโต้ตอบระหว่างการประเมิน เครื่องมือประเมินภาวะปัญหาทาง สุขภาพจติ ทพ่ี บไดบ้ อ่ ยในผ้สู งู อายุ ได้แก่ ภาวะซึมเศร้า (depression) มีการใช้เคร่ืองมือประเมินภาวะซึมเศร้า ตวั อย่าง เชน่ - Geriatric Depression Scale / GDS โดย Yesavage, Brink และ Rose (1983) - Beck Depression Inventory / BDI โดย Beck และคณะ (1961) 50
- แบบประเมนิ ภาวะซมึ เศร้าผู้สงู อายุไทย (the geriatric depression scale/ TGDS) โดยกลมุ่ ฟ้ืนฟสู มรรถภาพสมอง (2537) การประเมินสมรรถภาพสมอง (cognitive health assessment) ของผสู้ ูงอายุ มีการใช้เครื่องมือ ประเมนิ หลากหลายรูปแบบ เครอ่ื งมอื ท่ีนิยมใช้ (สิรนิ ทร ฉันศริ กิ าญจน, 2558) ไดแ้ ก่ - แบบคัดกรองสมรรถภาพความจา 14 คาถาม (แปลจากบทความใน British Medical Association โดยชาญกัญญา ตนั ติลปี กิ ร, ไม่ปรากฏปี) - แบบทดสอบสภาพจิตจุฬา (chula mental test) (สทุ ธชิ ัย จติ ะพนั ธก์ ลุ , 2542) - Mini-Mental State Examination (MMSE) โดย Folstein และคณะ (1975) - MMSE-T (mini-mental state examination-thai version 2002) ท่ีดัดแปลงโดยสถาบันเวช ศาสตรผ์ สู้ ูงอายุ กระทรวงสาธารณสขุ -แบบทดสอบวาดหน้าปดั นาฬิกา (clock Drawing) (สถาบันประสาทวิทยา, 2557) -แบบประเมินพุทธปิ ญั ญาโมคา (MoCA test) (โสฬพทั ธ์ เหมรญั ช์โรจน,์ 2011) สาหรับการประเมินผู้สูงอายุสมรรถภาพสมองผู้สูงอายุปกติ อาจให้ผู้สูงอายุประเมินตัวเอง โดยใช้ แบบคัดกรองสมรรถภาพความจา 14 คาถาม ถ้ามีคะแนนมากกว่า 40 คะแนน แนะนาให้ไปพบเจ้าหน้าท่ี สาธารณสุขเพื่อคัดกรองสภาพสมองเบ้ืองต้น (MMSE-T 2002) ซึ่งมีการดัดแปลงแบบประเมิน mini-mental state exam (MMSE) ของ Folstein และคณะ (1975) โดยการศึกษาและพัฒนาแบบทดสอบสภาพสมองของ คนไทยสาหรับบุคคลท่ีอ่านภาษาไทยไม่ได้ จากการรวมกลุ่มแพทย์ผู้เช่ียวชาญด้านประสาทวิทยา จิตแพทย์ แพทย์โรคผู้สูงอายุ พยาบาลจิตเวช และนักจิตวิทยา สร้างแบบทดสอบสภาพสมองของไทยใน พ.ศ. 2536 ซึ่ง พบวา่ มีข้อจากดั การใช้งาน กล่าวคอื ผู้ถกู ทดสอบต้องอา่ นภาษาไทยได้ในขณะท่ีผู้สูงอายุในต่างจังหวัดส่วนใหญ่ ไม่ไดเ้ รยี นหนงั สือ จงึ อ่านภาษาไทยไมไ่ ด้ การใช้แบบทดสอบสภาพสมองของไทยทดสอบกับผู้สูงอายุเหล่านี้จึง ทาไม่ได้ จึงได้ดัดแปลงแบบทดสอบสมองของไทยบางส่วน โดยแบ่งคะแนนย่อยออกเป็น 6 รายการ คือ การ รับรู้ (orientation) 6 คะแนน การจดจา (registration) 3 คะแนน สมาธิ (attention) 5 คะแนน การคานวณ (calculation) 3 คะแนน การใช้ภาษา (language) 9 คะแนน และการระลึกได้ (recall) 3 คะแนน นา แบบทดสอบน้ีไปทาการศึกษาในประชากรผู้สูงอายุไทยท่ีอาเภอเจาะไอร้อง อายุ 60-70 ปี จานวน 60 คน พบว่า คะแนนรวมเฉลี่ยของการทดสอบเท่ากับ 21.97 คะแนน (ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 3.41) สาหรับเกณฑ์ ปกติของคะแนนการทดสอบคือมากกว่า 15 คะแนน โดยใช้คะแนนรวมเฉลี่ยลบด้วย 2 เท่าของค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผูส้ งู อายเุ สยี คะแนนในเรื่องการระลึกได้ (recall) มากที่สุด ร้อยละ 33.41 ของคะแนนที่เสียท้ังหมด แบบทดสอบสภาพสมองของไทยสาหรับบุคคลท่ีอ่านภาษาไทยไม่ได้ชุดนี้สามารถใช้เป็นการทดสอบข้างเตียง ผู้ป่วย เพ่ือคัดกรองผู้ป่วยภาวะความจาเส่ือม เพราะใช้ได้สะดวกและรวดเร็ว โดยใช้เวลาในการทดสอบเฉล่ีย เพียง 15.78 นาที เหมาะท่ีจะใช้กบั ประชาชนในชนบทของประเทศไทยท่ีไมร่ ูห้ นงั สอื (จงเจษฎ์ ยง้ั สกุล, 2545) นอกจากนี้มีการคัดกรองสมรรถภาพสมองผู้ท่ีมีสมองบกพร่องระยะต้น โดยแบบประเมินพุทธิปัญญา โมคา (MoCA test) ฉบับแปลเป็นภาษาไทยโดยโสฬพัทธ์ เหมรัญช์โรจน์ (2011) ประกอบด้วยการประเมิน 51
สมอง 7 ด้าน ได้แก่ 1) ความสามารถในการบริหารจัดการ 2) การเรียกชื่อ 3) ความใส่ใจ 4) ภาษา 5) ความคิดเชิงนามธรรม 6) ความจาระยะยาว 7) การรับรู้ คะแนนเต็ม 30 คะแนน โดยเพ่ิมหนึ่งคะแนนในผู้ท่ีมี การศึกษาน้อยกว่าหรือเท่ากับ 6 ปี ผู้ที่ได้คะแนนน้อยกว่า 25 ถือว่ามีภาวะสมองบกพร่องระยะต้น (สถาบัน ประสาทวิทยา, 2557) ซ่ึงทาให้สามารถประเมินผู้ที่มีความเสี่ยงก่อนเกิดภาวะสมองเสื่อมได้จากสมรรถภาพ สมองที่บกพร่องลงโดยเฉพาะเก่ียวกับเรื่องความจาท่ีถดถอย พบได้ก่อนท่ีผู้ป่วยจะได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น โรคอัลไซเมอร์ ถงึ 7 ปี (Lin, et.al., 1995) การประเมินทางสังคม (social functioning assessment) การประเมนิ ทางสงั คมจะรวมถึงเศรษฐกจิ ฐานะความเปน็ อยู่ ความเช่ือ ความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุ ตัวอย่างการรวบรวมข้อมูลทางสังคม เช่น สัมพันธภาพในครอบครัว ลักษณะครอบครัว เศรษฐานะ สาย สัมพันธ์ทางสังคม/เครือข่ายทางสังคม ความเช่ือทางศาสนา สิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ระดับการศึกษา พฤตกิ รรม ความเชื่อทางสขุ ภาพ 5.4 การประเมนิ ทางกายภาพ การประเมินสิ่งแวดล้อม (environmental assessment) การประเมินสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวท่ี ส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุ ความปลอดภัยของส่ิงแวดล้อม มีการพัฒนาเครื่องมือที่นามาใช้ ประเมินความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมในบ้าน การประเมินส่ิงแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุหกล้ม เช่น home safety checklist ของ national safety council ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น การประเมินท่ีนิยม ประเมินความเสี่ยงของการหกล้มโดยใช้การประเมิน timed get-up and go test เป็นการประเมินท่าทาง การลุกขึ้นยืน การเดินและการทรงตัว โดยเน้นการจับเวลาท่ีผู้ป่วยเดิน คนปกติจะเดินภายในเวลา 10 วินาที คนทม่ี ีความผดิ ปกตใิ นการเดินจะใช้เวลามากกว่า 29 วินาที เป็นผู้สูงอายุท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิดภาวะหกล้ม (สถาบันเวชศาสตร์สมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสงั วรเพอ่ื ผู้สงู อาย,ุ 2557) การแปลผลแบบประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ประเมินต้องสามารถแปลผลข้อมูลที่ได้ เพื่อนาไปวาง แผนการดูแลอยา่ งครอบคลุมในเรื่องดงั ต่อไปนี้ 1. แบบประเมนิ ความสามารถในการทากจิ วตั รประจาวัน คะแนนเตม็ 20 คะแนน ใช้ประเมนิ การทา กิจกรรมของผสู้ งู อายุ ระดับคะแนนที่ไดเ้ ป็นการประเมนิ ภาวะพงึ่ พงิ ผูด้ ูแล ดังนี้ คะแนนรวม ≥12 คะแนน เปน็ กลมุ่ ที่ 1 ชว่ ยเหลอื ตวั เองได้ และ/หรอื ชว่ ยเหลือผอู้ ่นื ชมุ ชน และสงั คมได้ คะแนนรวม 5-11คะแนน เป็นกลมุ่ ท่ี 2 ช่วยเหลือและดแู ลตนเองได้บ้าง คะแนนรวม ≤4คะแนน เป็นกลมุ่ ท่ี 3 ช่วยเหลอื ตวั เองไม่ได้ 2. แบบประเมนิ ทางจิต ประเมินภาวะซมึ เศรา้ (GDS) เพื่อประเมินปัญหาทางด้านจิตใจ ผูท้ มี่ ีคะแนน มากกว่า 7 คะแนน คือมภี าวะซึมเศรา้ ท่ีตอ้ งได้รบั การวินจิ ฉยั และตรวจรกั ษา 3. แบบประเมินสภาพสมอง เพ่ือประเมินเชาว์ปัญญาผสู้ ูงอายุ การแปลผลแบบประเมิน ดังนี้ 1.1 MMSE-thai 2002 คะแนนเต็ม 30 คะแนน แปลผลคะแนนตามระดับการศกึ ษา ดงั น้ี 52
ระดบั การศกึ ษา คะแนน จุดตดั เต็ม ผู้สูงอายปุ กติไม่ไดเ้ รียนหนงั สือ ≤ 14 23 (อา่ นไม่ออก-เขียนไม่ได้) ผูส้ ูงอายุปกตเิ รียนระดบั ประถมศกึ ษา (ไม่ต้องทาข้อ 4,9,10) ผสู้ งู อายุปกติเรยี นระดับสูงกว่าประถมศึกษา ≤ 17 30 ≤ 22 30 1.2 แบบประเมินพทุ ธิปญั ญาโมคา (MoCA test) ฉบบั แปลเปน็ ภาษาไทยโดยโสฬพัทธ์ เหมรัญชโ์ รจน์ (2011) (สถาบันประสาทวิทยา, 2557) คะแนนเต็ม 30 คะแนน ผู้ท่ีได้คะแนนน้อยกว่า 25 ถือว่ามีภาวะสมอง บกพร่องระยะต้น ซ่ึงมีความเส่ียงต่อการเกิดภาวะสมองเส่ือมร้อยละ 10 ภายใน 1 ปี (Olazaran, J., et.al., 2011) จึงควรมีการวางแผนทากิจกรรมส่งเสริมความสามารถของสมองเพ่ือป้องกันการเกิดสมองเส่ือมใน อนาคตตอ่ ไป (สถาบนั เวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพอื่ ผ้สู งู อายุ, 2559) สรุป การพยาบาลผู้สูงอายปุ จั จุบนั มุง่ เนน้ การพยาบาลแบบองค์รวม โดยตอ้ งเรยี นรแู้ นวคิดการประเมนิ ภาวะสุขภาพผสู้ งู อายุทกุ มิติ ดา้ นการทาหน้าทข่ี องร่างกาย ดา้ นสภาพจติ ใจ สมรรถภาพสมอง ด้านสังคม และ ดา้ นสง่ิ แวดล้อม การประเมินภาวะสขุ ภาพเป็นข้ันตอนเบ้ืองต้นของกระบวนการพยาบาล การประเมินภาวะ สุขภาพช่วยให้พยาบาลไดข้ ้อมูลที่เป็นประโยชน์ สาคญั ชว่ ยในการวางแผนการพยาบาล และนาไปสกู่ ารเลือก การพยาบาลที่เหมาะสม การประเมินภาวะสุขภาพทาให้ได้มาซ่ึงข้อมูลอันเป็นประโยชน์ในการสง่ เสริมสุขภาพ ลดแนวโนม้ โอกาสในการเกดิ ความรุนแรงของโรค ภาวะเร้ือรัง ตลอดจนพยาบาลสามารถนาข้อมลู ท่ปี ระเมนิ ได้ ชว่ ยใหบ้ ุคคลสามารถดูแลสขุ ภาพดว้ ยตนเอง เพ่ือรองรบั ประชากรเขา้ สสู่ ังคมผู้สูงอายุอย่างมคี ุณภาพต่อไป กจิ กรรมใบงาน ให้นักศึกษาจบั ค่เู พือ่ สาธติ ย้อนกลับการใช้แบบประเมิน ADL/IADL, TGDS, MMSE, MoCA พร้อมทั้ง แปลผลคะแนนท่ีได้ หลังจากน้ันให้นักศึกษานาแบบประเมินไปประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุกรณีศึกษา 1 ราย และนาเสนอเปน็ ข้อมูลสนบั สนนุ ในแผนการพยาบาล พรอ้ มแนบแบบประเมนิ ท้ายเลม่ รายงานเด่ียว 53
เอกสารอ้างอิง จงเจษฏ์ ย้ังสกุล. (2545). แบบทดสอบสภาพสมองของคนไทยสาหรบั บคุ คลท่ีอ่านภาษาไทยไม่ได.้ สารศริ ิราช, 54(2), 96-109. ประเสรฐิ อสั สนั ตชัย. (2554). ปญั หาสุขภาพท่ีพบบ่อยในผ้สู ูงอายแุ ละการป้องกัน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรงุ เทพ: บริษทครีเอช่ันจากดั . ผ่องพรรณ อรณุ แสง. (2556). การประเมินภาวะสขุ ภาพผู้ใหญแ่ ละผ้สู ูงอายุสาหรบั พยาบาล(พมิ พค์ รง้ั ที่7). ขอนแก่น: คลงั นานาวทิ ยา. วีรศกั ด์ิ เมืองไพศาล. (2556). การปอ้ งกัน การประเมนิ และการดูแลผู้ปว่ ยสมองเส่ือม Dementia: Prevention, Assessment and Care. กรุงเทพ: หา้ งหุน้ สว่ นจากัดภาพพิมพ์. สถาบนั ประสาทวิทยา กรมการแพทย.์ แนวทางเวชปฏิบตั ภิ าวะสมองเสื่อม (Clinical practice guidelines for dementia) พ.ศ. 2557. กรงุ เทพ: ธนาเพลสจากัด. สถาบนั เวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพ่ือผู้สูงอายุ. (2558). คู่มอื แนวทางการจัดบรกิ ารสุขภาพ ผูส้ งู อายุในสถานบรกิ ารสขุ ภาพ. นนทบุรี: กรมการแพทย.์ สริ ินทร ฉนั ศริ กิ าญจน. (2558). รูปแบบบรกิ ารสขุ ภาพผ้สู งู อายใุ นสถานบริการสขุ ภาพ “ภาวะสมองเสื่อม” ใน คู่มือแนวทางการจัดบริการสขุ ภาพผสู้ ูงอายุในสถานบริการสุขภาพ. นนทบุรี: กรมการแพทย์. Lin, R.T., Wolf, P.A., Bachman, D.L., Knoefel, J.E., Cobb, J.L., Belanger, A.J., . . . & D, Agostino, R.B. (1995). The preclinical phase of probable Alzheimer’s disease: a 13-year prospective study of the Framingham Cohort. Archive Neurology, 52(5), 485-490. Olazaran, J., et.al. Mild cognitive impairment and dementia in primary care: the value of medical history. Family Practice 2011; 28:385-392. Wold, G. H. (2008). Basic Geriatric Nursing (4th). Missouri: Mosby Elsevier. 54
การประเมินความสามารถในการทากิจวตั รประจาวนั (ADL) ข้อแนะนา • เป็นการวัดว่าผสู้ งู อายุทาอะไรได้บ้าง (ทาอยูจ่ ริง) ไม่ใชเ่ ป็นการทดสอบวา่ หรอื ถามว่าทาได้หรือไม่ • เป็นการสอบถามถงึ กจิ กรรมทีป่ ฏบิ ัติในระยะเวลา 2 สัปดาห์ทผ่ี า่ นมา • เปน็ การวัดระดบั การพึง่ พงิ หากตอ้ งมีคนคอยดูแลหรอื เฝ้าระวังเวลาปฏบิ ัติกจิ ให้ถือว่าไม่ได้คะแนนเต็ม • ถ้าหมดสติ ให้ 0 คะแนนทั้งหมด คะแนน 1 Feeding (รับประทานอาหารเมอื่ เตรียมสารบั ไว้ให้เรยี บรอ้ ยต่อหนา้ ) 0 ไมส่ ามารถตักอาหารเข้าปากได้ ตอ้ งมีคนปอ้ นให้ 1 ตกั อาหารเองไดแ้ ต่ตอ้ งมีคนชว่ ยเช่นชว่ ยใช้ชอ้ นตักเตรียมไว้ใหห้ รอื ตัดเปน็ ชน้ิ เลก็ ๆ ไว้ลว่ งหนา้ 2 ตกั อาหารและช่วยตวั เองไดเ้ ป็นปกติ 2 Grooming (ล้างหน้า หวผี ม แปรงฟัน โกนหนวด ในระยะเวลา 24-48 ชั่วโมงที่ผ่านมา) 0 ตอ้ งการความช่วยเหลอื 1 ทาเองได้ (รวมท้ังท่ที าได้เองถ้าเตรยี มอุปกรณ์ไว้ให)้ 3 Transfer (ลุกน่งั จากท่นี อน หรือจากเตียงไปยงั เกา้ อี)้ 0 ไม่สามารถน่งั ได้ (นงั่ แล้วจะล้มเสมอ) หรือตอ้ งใชค้ นสองคนช่วยกนั ยกข้นึ 1 ต้องการความชว่ ยเหลอื อยา่ งมากจงึ จะน่งั ได้ เชน่ ตอ้ งใชค้ นทีแ่ ขง็ แรงหรอื มีทกั ษะ1คน หรอื ใช้คนท่วั ไป 2 คนพยงุ หรือดันข้นึ มาจึงจะน่ังอยไู่ ด้ 2 ต้องการความชว่ ยเหลือบ้างเช่นบอกให้ทาตามหรอื ช่วยพยุงเล็กนอ้ ยหรอื ตอ้ งมคี นดูแลเพื่อ ความปลอดภยั 3 ทาได้เอง 4 Toilet use (ใช้หอ้ งน้า) 0 ชว่ ยตัวเองไมไ่ ด้ 1 ทาเองได้บ้าง(อยา่ งนอ้ ยทาความสะอาดตวั เองได้หลงั จากเสรจ็ ธรุ ะ)แต่ต้องการความชว่ ยเหลอื ในบางสง่ิ 2 ชว่ ยตวั เองไดด้ ี (ข้ึนน่งั และลงจากโถสว้ มเองได้ ทาความสะอาดไดเ้ รียบร้อยหลังจากเสร็จธรุ ะ ถอดใส่เส้ือผ้าได้เรียบร้อย) 5 Mobility (การเคล่ือนท่ีภายในหอ้ งหรือบา้ น) 0 เคลอ่ื นท่ีไปไหนไม่ได้ 1 ต้องใช้รถเขน็ ชว่ ยตัวเองให้เคลอ่ื นท่ไี ด้เอง (ไม่ต้องมีคนเข็นให้) และจะต้องเขา้ ออกมมุ ห้องหรือประตูได้ 2 เดนิ หรือเคล่อื นทโี่ ดยมคี นชว่ ยเชน่ พยงุ หรอื บอกใหท้ าตามหรอื ต้องให้ความสนใจดูแลเพ่อื ความปลอดภยั 3 เดินหรือเคลื่อนทไ่ี ดเ้ อง 55
6 Dressing (การสวมใสเ่ ส้ือผ้า) 0 ตอ้ งมีคนสวมใส่ให้ ชว่ ยตัวเองแทบไมไ่ ดห้ รือได้น้อย 1 ชว่ ยตวั เองได้ประมาณร้อยละ 50 ท่ีเหลอื ต้องมีคนชว่ ย 2 ชว่ ยตัวเองได้ดี (รวมท้งั การติดกระดุม รูดซบิ หรือใช้เสือ้ ผา้ ทีด่ ดั แปลงให้เหมาะสมก็ ได)้ 7 Stairs (การขนึ้ ลงบันได 1 ช้ัน) 0 ไมส่ ามารถทาได้ 1 ตอ้ งการคนช่วย 2 ข้ึนลงไดเ้ อง (ถ้าตอ้ งใชเ้ ครื่องช่วยเดิน เชน่ walker จะต้องเอาขนึ้ ลงไดด้ ว้ ย) 8 Bathing (การอาบน้า) 0 ต้องมีคนชว่ ยหรือทาให้ 1 อาบน้าเองได้ 9 Bowels (การกลัน้ การถ่ายอจุ จาระในระยะ 1 สปั ดาหท์ ผี่ า่ นมา) 0 กลน้ั ไม่ได้ หรอื ต้องการการสวนอจุ จาระอยเู่ สมอ 1 กลน้ั ไม่ไดบ้ างครง้ั (เป็นน้อยกวา่ 1 ครง้ั ตอ่ สปั ดาห์) 2 กล้ันได้เปน็ ปกติ 10 Bladder (การกลัน้ ปัสสาวะในระยะ 1 สัปดาหท์ ่ีผา่ นมา) 0 กลั้นไม่ได้ หรอื ใสส่ ายสวนปสั สาวะแต่ไม่สามารถดูแลเองได้ 1 กล้นั ไม่ได้บางครั้ง (เป็นน้อยกวา่ วันละ 1 ครัง้ ) 2 กลนั้ ได้เปน็ ปกติ คะแนนรวม การพจิ ารณา (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) คะแนนรวม ≥12 คะแนน เป็น กลมุ่ ท่ี 1 ช่วยเหลือตวั เองได้ และ/หรอื ช่วยเหลอื ผู้อ่นื ชุมชน และสงั คมได้ คะแนนรวม 5-11 คะแนน เป็น กลุ่มท่ี 2 ช่วยเหลอื และดแู ลตนเองได้บา้ ง คะแนนรวม ≤4 คะแนน เปน็ กล่มุ ที่ 3 ชว่ ยเหลือตวั เองไมไ่ ด้ 56
Chula IADL Index 1. เป็นการวดั วา่ ทาอะไรไดบ้ ้าง (ทาอยู่ได้จรงิ ) ไม่ใชเ่ ป็นการทดสอบว่าหรอื ถามว่าสามารถทาได้ หรือไม่ 2. สอบถามถงึ การปฏบิ ตั ใิ นระยะ1-2 สัปดาห์ 3. เป็นการวดั ระดับ independence ถ้าหากตอ้ งมีคนคอยดูแลหรอื เฝา้ ระวังเวลาปฏิบตั ิ ให้ถือว่า ไมไ่ ดค้ ะแนนเต็ม 4. ถ้าผูป้ ่วยไมเ่ คยทากิจกรรมนั้น ให้ประเมินวา่ ถ้าผู้ปว่ ยสามารถทาได้ จะสามารถทาได้หรอื ไม่ 1.เดินหรอื เคลอ่ื นท่ีนอกบา้ น 0 เดนิ ไม่ได้ 1 ใช้รถเข็นและชว่ ยตนเองได้ หรอื ต้องการคนประคอง 2 ขา้ ง 2 ต้องการคนช่วยพยงุ หรือไปด้วยตลอด 3 เดินได้เอง (รวมท้งั ท่ีใช้เครื่องช่วยเดนิ ) 2. ทาหรอื เตรียมอาหาร/หงุ ขา้ ว 0 ทาไม่ได้ 1 ต้องการคนชว่ ยในการทา 2 ทาไดเ้ อง 3. ทาความสะอาดถูบา้ น/ซกั รดี เสอ้ื ผ้า 0 ทาไม่ได้/ตอ้ งมีคนช่วย 1 ทาได้เอง 4. ทอนเงิน/แลกเงิน 0 ทาไม่ได้/ตอ้ งมีคนช่วย 1 ทาไดเ้ อง 5. ใชบ้ รกิ ารรถเมล์ รถสองแถว 0 ไม่สามารถทาได้ 1 ทาได้แต่ต้องมคี นชว่ ยดูแลไปด้วย 2 ไปมาได้เอง 57
แบบประเมิน Thai Geriatric Depression Scale (TGDS) กล่มุ ฟื้นฟสู มรรถภาพสมอง (2537) โปรดเลอื กคาตอบที่ตรงกับความรู้สึกของทา่ น ในระยะหนึง่ สปั ดาหท์ ี่ผา่ นมา โดยทาเครอื่ งหมาย √ ในชอ่ งว่าง ขอ้ คาถาม คาตอบ คาตอบ คะแนน 1. ทา่ นพอใจกบั ชีวิตความเป็นอยตู่ อนนี้ ใช่ ไมใ่ ช่ ………. 2. ทา่ นไม่อยากทาในสิ่งทเี่ คยสนใจหรอื เคยทาเป็นประจา ใช่ ไมใ่ ช่ ………. 3. ท่านรู้สกึ ว่าชวี ิตของทา่ นวา่ งเปลา่ ไม่รูจ้ ะทาอะไร ใช่ ไม่ใช่ ………. 4. ท่านรูส้ กึ เบ่อื หน่ายบ่อย ๆ ใช่ ไม่ใช่ ………. 5. สว่ นใหญ่แล้วทา่ นรู้สึกอารมณ์ดี ใช่ ไม่ใช่ ………. 6. ท่านรู้สึกกลัวว่าจะมีเร่ืองไมด่ เี กิดขน้ึ กับท่าน ใช่ ไม่ใช่ ………. 7. ส่วนใหญ่แล้วท่านรูส้ ึกมคี วามสุข ใช่ ไมใ่ ช่ ………. 8. บอ่ ยครั้งท่ีท่านรสู้ ึกไม่มีท่ีพึ่ง ใช่ ไม่ใช่ ………. 9. ทา่ นชอบอยู่กับบา้ นมากกว่าทีจ่ ะออกนอกบา้ นหรอื ทาการสงิ่ ใช่ ไม่ใช่ ………. ใหม่ๆ 10. ทา่ นคดิ วา่ ความจาของท่านไม่ดเี ท่าคนอื่น ใช่ ไมใ่ ช่ ………. 11. การท่ีมีชวี ติ อยู่ถึงปจั จบุ ันน้ีเป็นเรอ่ื งทนี่ ่ายินดีหรอื ไม่ ใช่ ไม่ใช่ ………. 12. ท่านรสู้ ึกว่าชีวิตของคุณค่อนข้างไม่มีคุณค่า ใช่ ไมใ่ ช่ ………. 13. ท่านรู้สกึ กระตือรือร้น ใช่ ไม่ใช่ ………. 14. ทา่ นรสู้ ึกส้นิ หวงั ใช่ ไมใ่ ช่ ………. 15. ทา่ นรู้สึกว่าคนอนื่ ดกี วา่ ท่าน ใช่ ไมใ่ ช่ ………. คะแนนรวม ………. การคิดคะแนน ข้อที่ 1. 5, 7, 11, 13 ถา้ ตอบว่า “ไม่ใช่” ได้ 1 คะแนน ข้อท่ี 2, 3, 4, 6, 8, 9, 10, 12, 14, 15 ถา้ ตอบว่า “ใช่” ได้ 1 คะแนน การแปลผล น้อยกว่า 7 คะแนน หมายถึง ปกติ มากกว่าหรือเทา่ กบั 7 คะแนน หมายถึง มภี าวะซึมเศร้า 58
แบบคดั กรองสมรรถภาพความจา 14 คาถาม (การคดั กรองดว้ ยตนเองสาหรับประชาชน) แต้ม 1 เม่ือเหตุการณ์นัน้ ไม่เคยเกิดขึ้นเลย หรอื อาจจะเกิดข้นึ นานๆ ครงั้ ในระยะเวลา 1 ปี แตม้ 2 เม่อื เหตุการณ์นั้นเกดิ ข้ึนไม่บ่อยนัก หรือ อาจจะเกดิ ขึน้ 1 หรือ 2 ครั้ง ในระยะเวลา 1 เดือน แตม้ 3 เมื่อเหตุการณน์ ้ันเกดิ ข้ึนค่อนขา้ งบอ่ ย หรอื อาจจะเกดิ ขึ้นเกือบทุกสัปดาห์ แต้ม 4 เมอ่ื เหตุการณน์ ั้นเกิดข้นึ เกือบทุกวัน กิจกรรม แตม้ 12 34 1 หาของใช้ในบา้ นไม่พบ 2 จาสถานทีท่ เ่ี คยไปบ่อยๆไม่ได้ 3 ต้องกลบั ไปทบทวนงานทแี่ มจ้ ะตั้งใจทาซ้าถึง 2 ครง้ั 4 ลมื สิ่งของทีต่ ัง้ ใจวา่ จะนาเอาออกไปนอกบา้ นด้วย 5 ลืมเรื่องท่ีไดร้ ับฟังมาเมื่อวานนี้ หรือ เมอ่ื สองสามวนั ก่อน 6 ลืมเพ่ือนสนิท หรือ ญาติสนิท หรอื บุคคลท่ีคบหากนั บอ่ ยๆ 7 ไมส่ ามารถเข้าใจเนื้อเรื่องในหนงั สือพิมพ์ หรอื วารสารท่ีอา่ น 8 ลืมบอกขอ้ ความที่คนอ่ืนวานใหม้ าบอกอีกคนหน่ึง 9 ลมื ข้อมลู สว่ นตวั ของตนเอง เชน่ วันเกดิ ทอ่ี ยู่ 10 สบั สนในรายละเอียดของเรือ่ งที่ได้รบั ฟงั มา 11 ลืมทท่ี ่เี คยวางส่งิ ของนน้ั เป็นประจา หรอื มองหาส่งิ ของน้ันในทท่ี ไี่ มน่ ่าจะวางไว้ 12 ขณะเดนิ ทาง หรือ เดินเลน่ หรืออยูใ่ นอาคารท่เี คยไปบ่อยๆ มกั เกดิ อาการ หลงทิศ หรอื หลงทาง 13 ต้องทากจิ วัตรประจาวนั บางอย่างซา้ ถงึ สองครง้ั เพราะมคี วามผดิ พลาดเกดิ ขึน้ เช่น ใส่นา้ ตาลมากเกนิ ไปในเวลาปรุงอาหาร หรอื เดินไปหวีผมซา้ อกี คร้ัง ซ่ึงเม่อื สักครเู่ พ่งิ ได้หวผี มเสรจ็ ไป 14 เลา่ เร่อื งเดิมซ้าอีกคร้ังซ่ึงเม่ือสักครู่เพ่ิงได้เล่าเสรจ็ การแปลผล ทาแบบทดสอบสมรรถภาพความจาคะแนนมากกวา่ 40 ควรไปพบแพทย์ ทีม่ า : แปลจากบทความใน British Medical Association โดย ชาญกญั ญา ตนั ตลิ ปี กิ ร (วท.ม.จติ วิทยา คลนิ กิ ) สถาบันวิจยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหดิ ล และพญ.โสภา เกรกิ ไกรกุล หนว่ ยประสาทวิทยา วทิ ยาลยั แพทยศาสตร์ กรงุ เทพฯและวชิรพยาบาล 59
แบบทดสอบสภาพสมองเบอื้ งต้นฉบับภาษาไทย: MMSE-Thai 2002 ข้อแนะนา แบบทดสอบสภาพสมองเบ้ืองตน้ ใชค้ ดั กรองภาวะสมองเสอื่ มในผู้สงู อายุ สามารถใชไ้ ด้ในผู้สูงอายทุ ่ไี มไ่ ดเ้ รยี น หรือไมร่ ้หู นังสือ (อา่ นไมอ่ อก เขยี นไม่ได)้ ด้วย โดยไม่ต้องทาข้อ 4 ข้อ 9 และข้อ 10 1. Orientation for time : ทดสอบการรับรเู้ กีย่ วกับเวลาในปจั จบุ ัน (5 คะแนน) 1.1 วันน.ี้ .วนั ทเ่ี ท่าไร ………………………... ………………………... 1.2 วนั น.ี้ .วันอะไร ………………………... ………………………... 1.3 เดอื นน.ี้ .เดือนอะไร ………………………... 1.4 ปนี ้ี..ปีอะไร ………………………... ………………………... 1.5 ฤดนู .้ี .ฤดูอะไร ………………………... ………………………... 2. Orientation for place : ทดสอบการรบั รเู้ กี่ยวกบั ท่อี ยใู่ นปัจจบุ นั (5 คะแนน) ………………………... 2.1 กรณีอยสู่ ถานพยาบาล ………………………... ………………………... 2.1.1 สถานทีต่ รงนเ้ี รยี กว่าอะไร และ ชื่อวา่ อะไร ………………………... ………………………... 2.1.2 ขณะนอ้ี ยู่ชนั้ ที่เทา่ ไรของของตัวอาคาร ………………………... 2.1.3 ทนี่ ี่อยใู่ นอาเภออะไร ………………………... 2.1.4 ที่นจี่ ังหวัดอะไร ………………………... 2.1.5 ที่น่ภี าคอะไร 2.2 กรณอี ยทู่ ่ีบ้านของผู้ถูกทดสอบ 2.2.1 สถานที่ตรงนเ้ี รียกวา่ อะไร และ เลขที่เทา่ ไร 2.2.2 ที่นหี่ ม่บู า้ น (หรอื ละแวก คุ้ม ยา่ น ถนน) อะไร 2.2.3 ทน่ี อ่ี าเภอ หรือ เขตอะไร 2.2.4 ทน่ี ่ีจงั หวัดอะไร 2.2.5 ทน่ี ีภ่ าคอะไร 3. Registration : ทดสอบการบันทกึ ความจาโดยใหจ้ าชือ่ ของ 3 อยา่ ง (3 คะแนน) ตอ่ ไปนีจ้ ะเปน็ การทดสอบความจาโดยจะบอกช่อื ของ 3 อยา่ ง ใหค้ ณุ (ตา,ยาย...) ฟงั ดๆี นะคะจะบอกเพียงคร้ังเดยี ว เม่อื พดู จบแลว้ ใหค้ ณุ (ตา,ยาย...) พดู ทวนตาม ท่ีไดย้ ินทง้ั 3 ชอื่ แลว้ จาไวใ้ ห้ดีนะคะ เดี๋ยวจะถามซ้า ดอกไม้ แมน่ า้ รถไฟ ในกรณีทท่ี าแบบทดสอบซ้าภายใน 2 เดอื น ให้ใช้คาว่า ต้นไม้ ทะเล รถยนต์ 60
4. Attention or Calculation : ทดสอบสมาธิโดยใหค้ ดิ เลขในใจ (5 คะแนน) ถามผถู้ ูกทดสอบวา่ “คดิ เลขในใจเปน็ หรือไม”่ ถ้าคดิ เปน็ ให้ทาข้อ 4.1 ถา้ คิดไม่เปน็ หรอื ไมต่ อบใหท้ าขอ้ 4.2 4.1 ข้อน้ีคิดเลขในใจโดยเอา 100 ตง้ั ลบออกทลี ะ 7 ไปเรอ่ื ยๆ ไดผ้ ลลพั ธเ์ ท่าไรบอกมา ............ ............ ............ ............ ............ ………………………... บันทึกคาตอบตวั เลขไวท้ กุ ครัง้ (ทั้งคาตอบที่ถูกและผดิ ) ทาท้ังหมด 5 ครงั้ ถา้ ลบได้ 1, 2 หรอื 3 คร้ังแล้วตอบไม่ได้ ใหค้ ดิ คะแนนเท่าท่ีทาได้ ไมต่ อ้ งเปลยี่ นไปทาขอ้ 4.2 4.2 “เดย๋ี วผม (ดิฉัน) จะสะกดคาวา่ มะนาวใหค้ ุณ (ตา,ยาย) ฟงั แล้วให้คณุ (ตา,ยาย) สะกดถอยหลังจากพยัญชนะตวั หลงั ไปตัวแรก คาว่ามะนาวสะกดว่า มอม้า-สระอะ -นอหน-ู สระอา-วอแหวน คุณ (ตา,ยาย) สะกดถอยหลงั ให้ฟงั สิครบั (คะ)” ............ ............ ............ ............ ............ ………………….…... ววว ววา ววน ววะ ววม 5. Recall : ทดสอบความจาระยะสนั้ ของชอ่ื สิง่ ของ 3 อย่างทใี่ หจ้ าไว้แล้ว (3 คะแนน) เมื่อสักครทู่ ี่ให้จาของ 3 อยา่ ง จาไดไ้ หม มีอะไรบา้ ง ดอกไม้ แมน่ า้ รถไฟ ……………………….. ในกรณที ที่ าแบบทดสอบซ้าภายใน 2 เดอื น ใหใ้ ช้คาว่า ต้นไม้ ทะเล รถยนต์ ……………………….. 6. Naming : ทดสอบการบอกช่อื ส่งิ ของทไี่ ดเ้ ห็น (2 คะแนน) 6.1 ย่ืนดินสอใหผ้ ูถ้ ูกทดสอบดูแลว้ ถามวา่ “ของสิ่งนเ้ี รียกวา่ อะไร” ………………….…... 6.2 ชี้นาฬิกาขอ้ มือใหผ้ ู้ถกู ทดสอบดูแลว้ ถามว่า “ของส่ิงนเี้ รยี กวา่ อะไร” ………………….…... 7. Repetition : ทดสอบการพูดซา้ คาทไี่ ด้ยนิ (1 คะแนน) ตง้ั ใจฟงั ผม (ดิฉัน) นะ เมอื่ ผม (ดฉิ นั ) พดู ขอ้ ความนแี้ ลว้ ให้คุณ (ตา,ยาย) พดู ตามผม (ดฉิ นั ) จะบอกเพียงเท่ยี วเดียว “ใครใครข่ ายไก่ไข่” ………………….…... 8. Verbal command : ทดสอบการเขา้ ใจความหมายและทาตามคาส่งั (3 คะแนน) ขอ้ นี้ใหท้ าตามท่บี อก ต้งั ใจฟงั ดๆี นะ เดย๋ี วผม (ดิฉัน) จะส่งกระดาษให้ แล้วให้คุณ (ตา,ยาย) รับดว้ ยมือขวา พบั ครงึ่ ด้วยมอื ท้ัง 2 ข้าง เสรจ็ แลว้ วางไวท้ …่ี .......” (พ้ืน, โต๊ะ, เตยี ง) ผทู้ ดสอบส่งกระดาษเปล่าขนาดประมาณ เอ 4 ไม่มรี อยพับ ให้ผู้ถูกทดสอบ รับดว้ ยมือขวา พบั ครึง่ ด้วยมอื 2 ข้าง วางไวท้ ี่ (พื้น, โต๊ะ, เตยี ง) ……………………….. 9. Written command : ทดสอบการอ่าน การเขา้ ใจความหมาย สามารถทาตามได้ (1 คะแนน) ให้คณุ (ตา,ยาย...) อา่ นแล้วทาตาม จะอ่านออกเสียงหรอื อ่านในใจกไ็ ด้ ผู้ทดสอบแสดงกระดาษทีเ่ ขยี นว่า “หลับตา” หลบั ตาได้ ………………….…... 61
10.Writing : ทดสอบการเขยี นภาษาอยา่ งมคี วามหมาย (1 คะแนน) ให้คณุ (ตา,ยาย) เขียนข้อความอะไรกไ็ ด้ที่อ่านแล้วรูเ้ รอื่ งหรือมคี วามหมาย 1 ประโยค …………………………………………….……………………………………………………………..……… ………………….…... ประโยคมคี วามหมาย 11.Visuoconstruction : ทดสอบความสมั พันธร์ ะหวา่ งตากับมอื (1 คะแนน) ใหค้ ุณ (ตา,ยาย) วาดภาพให้เหมือนภาพตัวอย่าง ………………….…... จุดตัด (cut-off point) สาหรับคะแนนทส่ี งสัยภาวะสมองเสื่อม (cognitive impairment) ระดบั การศึกษา คะแนน จดุ ตดั เตม็ ผ้สู งู อายปุ กติไม่ได้เรียนหนังสือ ≤ 14 23 (อา่ นไม่ออก-เขียนไมไ่ ด้) ผู้สงู อายุปกติเรยี นระดบั ประถมศึกษา (ไมต่ ้องทาข้อ 4,9,10) ผู้สงู อายุปกตเิ รยี นระดับสงู กว่าประถมศึกษา ≤ 17 30 ≤ 22 30 การแปลผล • ถ้าคะแนนนอ้ ยกว่าจดุ ตัด แสดงวา่ เป็นผู้สงสัยวา่ มีภาวะสมองเส่อื ม (cognitive impairment) • ให้สง่ ตอ่ แพทย์เพอื่ ตรวจวนิ ิจฉัยยืนยันผลและทาการรักษาในรายท่สี งสัยวา่ มีภาวะสมองเส่ือม หลับตา 62
การคัดกรองภาวะหกลม้ : Timed Up and Go Test (TUGT) ขอ้ แนะนา การคัดกรองภาวะหกล้มด้วย TUGT เปน็ การทดสอบด้วยการเดนิ ตามวธิ ที ่ีกาหนด โดยสังเกตท่าเดนิ และจับ เวลาท่ีใช้ในการเดนิ วิธีการประเมิน ใหผ้ ู้สูงอายลุกข้ึนจากเกา้ อ้ีท่มี ีที่ท้าวแขน เดินเป็นเส้นตรงระยะทาง 3 เมตร หมุนตัวและเดินกลบั มานงั่ ท่ีเดิม จบั เวลาได้ นาที วินาที <30 วนิ าที ≥30 วนิ าที เดินไม่ได้ การพจิ ารณา • เวลาปกติของผสู้ งู อายคุ วรน้อยกวา่ 10 วินาที • ถ้าใชเ้ วลา “> 30 วินาที” แสดงว่า มีความเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม แนวทางการปฏบิ ตั ิ • ใหแ้ จ้งผลและแนะนาความรู้ “การป้องกนั ภาวะหกล้ม” ขอ้ ควรระวงั • ผสู้ งู อายมุ โี อกาสทจี่ ะหกลม้ มากกวา่ วยั อน่ื ๆ ดังนั้น ผทู้ ดสอบจงึ ควรระมดั ระวงั ขณะทาการทดสอบ 63
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: