Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

Published by เกตจรินทร์ คํายอด, 2019-11-05 05:33:00

Description: ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version

ข้อมูลที่ยกมานี้เป็นเร่ืองสาคัญเรื่องหนึ่งในประวัติศาสตร์ธนบุรี ในครงั้ นั้น หมายถึง พ.ศ. ๒๓๑๑ เมอ่ื สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชทรง ย้ายราชธานีมาอยู่ที่กรุงธนบุรีแล้ว ทรงพบว่า ราษฎรอดอยากเพราะทา นาไม่ได้เนื่องจากมีสงครามต่อเนื่องกนั มา ๒ - ๓ ปี ข้าวมีราคาแพงมาก เรือสาเภาท่ีบรรทุกข้าวสารมาขาย ขายถัง (๑๕ กิโลกรัม) ละ ๓ - ๕ บาท ซึ่งนับว่าแพงมาก สาหรับ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรง สงสารราษฎรท้ังหลายจงึ ทรงซื้อขา้ วสารแจก รวมทั้งเส้ือผ้า และเงินตรา เป็นจานวนมาก และทรงมีพระราชดารัสว่า ถ้าผู้ใดที่มีฤทธิ์ เช่น เทวดา สามารถทาให้ ข้าวปลาอาหารบริบูรณ์ คอื มีพอกับความต้องการ ทาให้ คนท้ังหลายมีความสุข แม้นว่าผู้มีฤทธิ์น้ัน ต้องการแขนข้างหน่ึงของ พระองค์ ก็ทรงยินดีตัดบริจาคให้ เร่ืองความอดอยากขาดแคลนข้าวปลาอาหารถือเป็นเรื่องใหญ่ใน ๒ - ๓ ปีแรกของ สมัยธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรง แก้ปัญหาโดยให้พ่อค้าต่างชาตินาข้าวบรรทุกเรือ สาเภามาขาย ทรงซื้อ ข้าวจากพ่อค้าสาเภาจีนในราคาแพง แล้วพระราชทานให้แก่บรรดา ข้าราชการ ทหาร พลเรือน คนละ ๑ ถังต่อ ๒๐ วัน รวมทั้งซื้อเสื้อผ้า แจกราษฎร ตลอดจนทรงสง่ เสริม ให้ราษฎรรวมทั้งขุนนางข้าราชการทา นาปลี ะ ๒ คร้งั ทงั้ นาปีและนาปรงั เพือ่ ให้มขี า้ วเพยี งพอกบั ความต้องการ

๕. การวเิ คราะห์และสงั เคราะหข์ ้อมลู

ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล นักเรียนควร ทาความเข้าใจเกี่ยวกับความสาคัญของ การวิเคราะหแ์ ละ สังเคราะห์ข้อมูล และตวั อย่างการวเิ คราะห์และสังเคราะห์ ขอ้ มูลจากหลกั ฐานที่ ยกมาใหศ้ ึกษาจนเกดิ ความเขา้ ใจ

๕.๑ ความสาคัญของการวิเคราะหแ์ ละ สงั เคราะห์ขอ้ มูล

ข้อมูลที่มีการค้นคว้ามาจากหลายแหล่ง ใช้หลักฐานที่มี บุคคลหลายฝ่ายเขียนถึง หรือแม้แต่ มาจากแหล่งเดียว ต้องมี การวิเคราะห์ คือ แยกแยะในส่วนท่ีเป็นความจริง ข้อเท็จจริง ความเห็น ของผู้บันทึก วิเคราะห์ความสาคัญของข้อมูลใน ประเด็นต่างๆ เช่น สาเหตุ เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน ผลที่เกิดขึ้นทั้ง ระยะส้ันและระยะยาว เปน็ ต้น

ความสาคัญของการวเิ คราะห์และสงั เคราะหข์ อ้ มูล มดี งั ต่อไปน้ี ความสาคญั ของการวเิ คราะห์ข้อมลู ๑. เพื่อแยกข้อมูลในส่วนที่เป็นข้อเท็จจริงจากหลักฐาน กับความ คิดเห็นของบุคคล ๒. เพื่อแยกข้อมูลที่มีข้อเท็จจริงตรงกัน สนับสนุนกัน กับข้อมูลท่ี แตกต่างหรอื คดั ค้าน ๓. เพ่ือแยกข้อมลู ท่ตี ่อเนอื่ ง ท่ีเป็นความเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ ความสาคัญของการสงั เคราะห์ขอ้ มลู ๑. เพื่อจัดรวมข้อมูลท่ีเป็นเรื่อง เป็นประเด็น หรือเป็นหัวข้อเดียวกัน ไว้ด้วยกัน ท้ังที่เป็นข้อมูลสนับสนุนและขัดแย้ง แตกต่าง เพ่ือความสะดวกใน การนาเสนอ ๒. เพ่ือจัดลาดับเหตุการณ์ ความต่อเน่ือง ความเปล่ียนแปลงของ ข้อมูล เพื่อความสะดวกในการนาเสนอ ๓. เพื่อจัดรวมความคิดเห็นส่วนตัว ซึ่งเป็นผลจากการอ่าน ค้นคว้า ข้อมลู จากหลกั ฐานตา่ งๆ เพอ่ื จะไดน้ าเสนอตอ่ ไป

๕.๒ ตวั อย่างการวิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ ข้อมลู จากหลกั ฐาน

๑) เอกสารสมัยอยุธยา เชน่ ตัวอย่างที่ ๑ “กรุงศรีอยุธยาจึงเป็นสถานที่ที่ผู้คนเดินทางเข้ามาค้าขายท้ังโดยทาง บกและทางน้ัน มีชาติต่างๆ จาก เอเชียและพวกพ่อค้าคริสเตียน... พระเจ้า แผ่นดินและพระอนุชาของพระองค์ทรงส่งเรือลาหนึ่งบรรทุก สินค้ามีค่าผ่าน ตะนาวศรีไปยังโจฬะมณฑลทุกปี ท้ังทรงสง่ ไปยังกวางตงุ้ (ใบทรงส่งเรือสาเภา ๒ หรือ ๓ ลา ไปยงั ทอ่ี น่ื ๆ ในประเทศจีน.. \" ท่ีมา : รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต) , กรุงเทพมหานคร : กรมศลิ ปากร,๒๕๔๘ หนา้ ๑๔๐ – ๑๔๓

ตวั อย่างท่ี ๒ “คนจีนมีส่วนทาการค้ามากอยู่ในประเทศสยาม... มี สาเภาเข้ามาไมต่ ่ากว่าปลี ะ ๑๕ ถงึ ๒๐ ลา บรรทุก สินคา้ ดๆี มา จากประเทศจีนและประเทศญี่ปุ่น และมีแหล่งที่แลกเปล่ียน สินค้ามาก\" ท่ีมา : นิโกลาส์ แพรแวส. ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมือง แห่งราชอาณาจักรสยาม (ในแผ่นดิน สมเด็จพระนารายณ์ ม ห า ร า ช ) , สั น ต์ ท . โ ก ม ล บุ ต ร แ ป ล พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ ๒ . กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พ์ ศรปี ญั ญา, ๒๕๕๐ หนา้ ๗๖.

ตัวอย่างข้อมูลจากหลักฐานท้ัง ๒ เร่ือง แสดงให้เห็นถึง ความเจริญรุ่งเรืองทางการ ค้าขายของกรุงศรีอยุธยา เพื่อการ วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพ่ิมเติมจากหลักฐานของไทย เชน่ กฎหมายตราสามดวง พระราชพงศาวดาร เปน็ ต้น วนั วลติ เป็นหัวหน้าพ่อค้าบริษัทอินเดีย ตะวันออกของฮอลันดาหรือ เนเธอร์แลนด์ ประจาที่กรุงศรีอยุธยา หลักฐานน้ีเขียนขึ้นเม่ือ ประมาณ พ.ศ. ๒๑๘๐ ตรงกับสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ส่วนนิโกลาส์ แชรแวส เป็นชาวฝรั่งเศส เคยพานักอยู่ท่ีกรุงศรี อยธุ ยาถึง ๔ ปี ตรงกบั สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช

ข้อมูลจากหลักฐานท้ัง ๒ เรื่อง จึงแสดงให้เห็นถึงความ เจริญรุ่งเรืองทางการค้าของ กรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะในรัชกาล สมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้เป็นอย่างดี จากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลท้ังหลาย จะทาให้เห็นความคึกคักของตลาด ค้าขายที่มีพ่อค้าต่างชาติ หลายชาติเข้ามาค้าขาย เช่น เรือสาเภาจีน เป็นต้น อนึ่ง ใน หลักฐานของ ไทย เช่น กฎหมายตราสามดวง กล่าวถึง “กานัน ตลาด” หรือเจา้ หนา้ ท่ีของไทยควบคมุ การซือ้ ขาย ในตลาดไมใ่ ห้ มีการขายสินค้าแพงเกินไป ท่าเรือมีเรือจอดเรียงราย บรรทุก สินค้าไปขายยัง ต่างประเทศทั้งในทวีปเอเชียและทวีปยุโรป หลักฐานดังกล่าวยังให้ข้อมูลที่เป็นรายละเอียดของ สินค้า จานวนมากด้วย ข้อมูลจากหลักฐานดังตัวอย่างจึงใช้ในการ วิเคราะห์และสังเคราะห์เร่ือง การค้าขายของกรุงศรีอยุธยาได้ เป็นอย่างดีและในลักษณะทีใ่ ห้ขอ้ มูลท่เี ป็นรายละเอยี ดมากข้นึ

๒) เอกสารสมัยธนบรุ ี เช่น ตัวอยา่ ง “ข้อหนึ่ง ทูตานุทูตพระนครศรีอยุธยาคุมเครื่องราช บรรณาการออกไปแตก่ อ่ นตอ้ งขงั ใสต่ กึ ล่นั กุญแจ ไว้ (ท)ี กรงุ จีน ทุกครั้ง ไม่ได้เท่ียวเตร่ ข้อน้ีทราบถึงสมเด็จพระเจ้ากรุงต้าฉ้ิง ผู้ ใ ห ญ่ ห รื อ ไ ม่ ก ลั ว จ ะ ก บ ป ร ะ ทุ ษ ร้ า ย ป ร ะ ก า ร ใ ด พระนครศรีอยุธยา ใครแ่ จง้ ข้อหน่งึ ” ที่มา : สัมพันธภาพระหว่างไทย - จีน, กรุงเทพมหานคร : กองจดหมายเหตุแหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร ๒๕๒๑ หนา้ ๗.

ข้อความท่ียกมาข้างบนน้ีเป็นส่วนหน่ึงของพระราชสาสน์คาหับที่ สมเด็จพระเจ้าตากสินได้ มหาราชส่งไปถวายจักรพรรดิเฉียนหลงแห่ง ราชวงศ์ชงิ ท่ีปกครองประเทศจีนขณะน้นั เมื่อ พ. ศ. ๒๓๒๔ เปน็ หลักฐาน ที่เขียนเป็นภาษาไทย และเป็นของไทยฉบับเดียวเกี่ยวกับเร่ือง ความสัมพันธ์ ไทย - จีนสมัยอยุธยา สมัยธนบุรี หลักฐานในเร่ืองนี้เกือบ ทงั้ หมดเป็นของจีนทีจ่ ีนเก็บรักษาไว้ ในสาระสาคัญ คือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงบอกกล่าว ในลักษณะต่อว่าจีนท่ี ๗ ไม่ให้เกียรติแก่บุคคลในคณะทูตไทยท่ีไปถวาย บรรณาการ โดยให้อยู่แต่ในท่ีพักและใส่กุญแจขังไว้ เหมือนกับเป็น นกั โทษ ทาให้ราชทูตและคณะไม่ได้ออกไปดูสภาพบ้านเมือง วิถีชีวิตของ ผู้คน วัฒนธรรมประเพณีจีน การที่จักรพรรดิจีนกักขังราชทูตและคณะ เป็นเพราะเหตุใด หรือทางการจีน กลัวว่าคณะราชทูตไทยจะเป็นกบฏคิ ประทุษร้ายจีน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงกล่าว ในตอนท้ายว่า เร่ืองน้จี กั รพรรดจิ ีนทรงทราบหรือไม่

ในพระราชสาสน์ของสมเด็จพระเจ้า ตากสินมหาราชยังมีข้อความ ต่อว่าทางการจีน อกี หลายข้อ และทรงถามในท้ายข้อว่าเรื่องน้ี จักรพรรดิ จีนทรงทราบหรือไม่ อย่างไรก็ดี ในพระราชสาสน์ตอบของจักรพรรดิจีน ไม่ได้ กล่าวถึงเรื่องเหล่านี้ ดังน้ันจึงควรแก่การวิเคราะห์ ข้อมูลหลาย ประการ ดังน้ี ๑. แสดงใหเ้ ห็นบทบาทของไทยใน ความสมั พันธ์กับจนี คอื มคี วาม เปน็ ตัวของ ตัวเอง ไมไ่ ดย้ อมจนี ทกุ อยา่ ง ๒. แสดงใหเ้ ห็นถึงความกล้าหาญ ภาพวาดจักรพรรดิเฉียนหลงแห่ง ราชวงศช์ งิ การรักษาผลประโยชน์ของบ้านเมอื ง ไม่ใช่ยอม จีนทกุ เรือ่ ง ๓. เมื่อเปรียบเทียบกับพระราชสาสน์ของจักรพรรดิเฉียนหลงท่ี ตอบมาในปีเดียวกัน (แต่มาถึงไทยเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราชทรงขึ้นครองราชสมบัติแล้ว) จะพบว่ามีข้อความบางข้อ ในพระราชสาสน์ของทางการจีนตรงกับท่ีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงบอกกล่าวให้จักรพรรดิจีนทรงทราบ แต่บางข้อก็ไม่ได้กล่าวถึงไว้ และ ท่ีน่าศึกษาค้นคว้าต่อไป คือ ลักษณะความสัมพันธ์ไทย - จีนมีความ แตกต่างจากความสมั พนั ธจ์ นี - ญวน จนี - เกาหลี หรอื ไม่ อยา่ งไร

๔. พระราชสาสน์คาหับนี้แสดงให้เห็นบุคลิกภาพของ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้เป็นอย่างดี คือ มีความกล้า หาญ เด็ดเด่ียว ตรงไปตรงมา รักษาผลประโยชน์ของบ้านเมือง และไมไ่ ดย้ อมจีนทุกอย่าง จึงกล่าวได้ว่า เพียงข้อมูลจากหลักฐานไม่มากก็สามารถที่ จะนามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อความเข้าใจเอกสารหลักฐาน น้นั ๆ ได้ชัดเจนและถกู ต้อง

กล่าวโดยสรุป ในการศึกษาประวัติศาสตร์ หลักฐานมี ความสาคัญมากโดยเฉพาะ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานปฐมภูมิ แต่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ก็ควรใช้หลักฐาน อ่ืนๆ ประกอบด้วย รวมท้ังการใช้หลักฐานทุติยภูมิ หลักฐาน ของชาวต่างชาติท่ีเขียนเกี่ยวกับไทย อย่างไรก็ดีในการใช้ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ใดๆ ก็ตามจะต้องมีการตรวจสอบ ประเมินความ ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ มีการตีความหลักฐาน วิเคราะห์ สังเคราะหข์ ้อมลู จากหลักฐาน ความสอดคลอ้ ง ความ ขัดแย้งหรือแตกต่างกันของข้อมูล ความต่อเน่ือง ความ เปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์จากข้อมูลท่ีศึกษา เพื่อจะได้เกิด ความสะดวกในการเรียบเรียง นาเสนอเหตุการณ์ ทาง ประวัติศาสตร์ตอ่ ไป

อ้างอิง รศ.ณรงค์ พ่วงพิศ, รศ.วุฒิชัย มูลศิลป์. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ประวัติศาสตร์ ม.2 ฉบับ อนญุ าต (อญ.) ตรงตามหลกั สตู รแกนกลาง '51. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น์, 2551


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook