Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัตว์ป่าสงวน

สัตว์ป่าสงวน

Published by chutipornwisetsuk, 2020-10-27 12:15:52

Description: 88

Search

Read the Text Version

สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าท่ีหายาก กาหนดตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติสงวนแลคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๐๓ จานวน ๙ ชนิด เป็นสัตว์ป่าเล้ียงลูกด้วยนมทั้งหมด ได้แก่ แรด กระซู่ กูปรี ควายป่า ละองหรือ ละมั่ง สมนั เนอ้ื ทราย เลียงผา และกางผา สัตวป์ ่าสงวนเหลา่ นีห้ ายาก หรือใกลจ้ ะสูญพันธุ์หรืออาจจะสูญพันธุ์ ไปแล้ว จึงจาเป็นต้องมีบทบัญญัติเข้มงวดกวดขัน เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่สัตว์ป่าที่ยังมีชีวิตอยู่ หรือ ซากสัตว์ป่า ซ่ึงอาจจะตกไปอยู่ยังต่างประเทศด้วยการซ้ือขาย ต่อมาเม่ือสถานการณ์ของสัตว์ป่าในประเทศ ไทย เปล่ยี นแปลงไป สตั ว์ปา่ หลายชนิดมแี นวโนม้ ถูกคุกคามเส่ียงตอ่ การสูญพนั ธ์ุมากยิ่งขึ้น ประกอบกับเพื่อให้ เกิดความสอดคล้องกับความร่วมมือระหว่างประเทศในการ ควบคุมดูแลการค้าหรือการลักลอบค้าสัตว์ป่าใน รูปแบบต่างๆ ตามอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ว่าด้วยชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าหรือ CITES ซ่ึง ประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองอนุสัญญาในปี พ.ศ.๒๕๑๘ และได้ให้สัตยาบัน เม่ือวันที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๖ นับเป็นสมาชิกลาดับท่ี ๘๐ จึงได้มีการพิจารณาแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติฉบับเดิม และตรา พระราช บัญญัติสงว นและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ. ๒๕๓๕ ขึ้นใหม่เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภ าพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๕ สัตว์ป่าสงวนตามในพระราชบัญญัติฉบับใหม่ หมายถึง สัตว์ป่าท่ีหายากตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติฉบับน้ี และตามที่กาหนดโดยตราเป็นพระร าชกฤษฎีกา ทาให้สามารถเปลี่ยนแปลงชนิดสัตว์ป่าสงวนได้ โดยสะดวก โดยออกเปน็ พระราชกฤษฎีกาแกไ้ ข หรือเพ่ิมเติมเท่านั้น ไมต่ ้องถึงกบั ตอ้ งแกไ้ ขพระราชบัญญตั ิอยา่ งของเดิม ทัง้ น้ีได้มีการเพ่ิมเตมิ ชนิดสตั ว์ป่าทีม่ ีสภาพล่อแหลมต่อการสูญพันธ์ุ อย่างยิ่ง ๗ ชนิด และตัด สตั วป์ า่ ทไ่ี ม่อย่ใู นสถานะใกลจ้ ะสญู พนั ธ์ุ เน่ืองจากการที่สามารถเพาะเลี้ยงขยายพนั ธ์ุได้มาก ๑ ชนิด คอื เน้ือทราย รวมกบั สตั ว์ป่าสงวนเดิม ๘ ชนิด รวมเป็น ๑๕ ชนิด ได้แก่ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรด กระซู่ กปู รี ควายปา่ ละองหรอื ละม่งั สมัน เลียงผา กวางผา นกแตว้ แลว้ ทอ้ งดา นกกระเรียน แมวลายหนิ อ่อน สมเสร็จ เก้งหมอ้ และพะยูน

ลกั ษณะ : นกนางแอ่นที่มลี าตัวยาว ๑๕ เซนติเมตร สีโดยทวั่ ไปมีสดี าเหลือบเขียวแกมฟ้า โคนหาง มีแถบสีขาว ลักษณะเด่นได้แก่ มีวงสีขาวรอบตา ทาให้ดูมีดวงตาโปนโตออกมา จึงเรียกว่านก ตาพอง นกทโี่ ตเต็มวยั มแี กนขนหางคูก่ ลางยนื่ ยาวออกมา ๒ เสน้ อปุ นิสัย : แหลง่ ผสมพันธุ์วางไข่ และท่อี าศัยในฤดูร้อนยงั ไม่ทราบ ในบรเิ วณบึงบอระเพด็ นกเจ้า หญิงสิรนิ ธรจะเกาะนอน อย่ใู นฝูงนกนางแอน่ ชนิดอ่นื ๆ ท่ีเกาะอยู่ตามใบอ้อ และใบสนุ่นภายในบึง บอระเพด็ บางครงั้ ก็พบอยู่ในกลุ่มนกกระจาบ และนกจาบปีกอ่อน กลุ่มนกเหล่าน้ีมีจานวนนับพัน ตวั อาหารเชื่อได้วา่ ไดแ้ ก่แมลงทีโ่ ฉบจับได้ในอากาศ ทอี่ ยูอ่ าศัย : อาศยั อยู่ตามดงออ้ และพืชนา้ ในบรเิ วณบึงบอระเพ็ด เขตแพร่กระจาย : พบเฉพาะในประเทศไทย พบในช่วงเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนมีนาคม ซ่ึง เปน็ ชว่ งฤดหู นาว สถานภาพ : นกชนิดนี้สารวจพบคร้ังแรกในประเทศไทยเม่ือปี พ.ศ.๒๕๑๑ จังหวัดนครสวรรค์ หลังจากการค้นพบครง้ั แรกแลว้ มรี ายงานพบอกี ๓ คร้ัง แตม่ เี พยี ง ๖ ตวั เท่านนั้ นกเจา้ ฟ้าหญงิ สิรนิ ธร เป็นสัตวป์ า่ สงวนตามพระราชบญั ญตั ิสงวนและคุ้มครองสัตวป์ ่า พ.ศ.๒๕๓๕ สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธ์ุ: นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร เป็นนกท่ีสาคัญอย่างยิ่งในด้านการศึกษา ความสมั พันธ์ของนกนางแอ่น เพราะนกชนดิ ท่มี ีความสัมพันธก์ ับนกเจ้าฟา้ หญงิ สิรนิ ธรมากทส่ี ดุ คือ นกนางแอ่นคองโก ( Pseudochelidon euristomina ) ที่พบตามลาธารในประเทศซาอีร์ ใน ตอนกลางของแอฟริกาตะวันตก แหล่งท่ีพบนกท้ัง ๒ ชนิดนี้ห่างจากกันถึง ๑๐,๐๐๐ กิโลเมตร ประชากรในธรรมชาติของนกเจา้ ฟา้ หญงิ สิรนิ ธรเชื่อว่ามีอยู่น้อยมาก เพราะเป็นนกชนิดที่โบราณท่ี หลงเหลืออยใู่ นปจั จุบัน แตล่ ะปีในฤดูหนาวจะถกู จบั ไปพร้อมๆกับนกนางแอ่นชนิดอื่น นอกจากน้ีท่ี พักนอนในฤดูหนาว คือ ดงอ้อ และพืชน้าอื่นๆท่ีถูกทาลายไปโดยการทาการประมง การเปลี่ยน หนองบึงเป็นนาข้าว และการควบคุมระดับน้าในบึงเพื่อการพัฒนาหลายรูปแบบ ส่ิงเหล่าน้ี กอ่ ให้เกิดผลเสียต่อการคงอยูข่ องพืชน้า และตอ่ นกเจา้ ฟ้าหญิงสริ นิ ธรมาก

ลักษณะ : แรดจัดเป็นสตั วจ์ าพวกมกี บี คือมีเล็บ ๓ เล็บทั้งเท้าหน้าและเท้าหลัง ตัวโตเต็มวัยมีความ สูงที่ไหล่ ๑.๖-๑.๘ เมตร นา้ หนักตัว ๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ กิโลกรมั แรดมีหนังหนาและมีขนแข็งข้ึนห่างๆ สีพ้นื เป็นสีเทาออกดา ส่วนหลงั มีส่วนพับของหนัง ๓ รอย บริเวณหัวไหล่ด้านหลังของขาคู่หน้า และ ด้านหน้าของขาคูห่ ลงั แรดตัวผมู้ นี อเดียวยาวไม่เกิน ๒๕ เซนติเมตร ส่วนตัวเมียจะเห็นเป็นเพียงปุ่ม นนู ข้ึนมา อุปนิสัย : ในอดีตเคยพบแรดหากินรว่ มเปน็ ฝูง แต่ในปัจจบุ ันแรดหากนิ ตวั เดยี วโดดๆ หรืออยเู่ ป็นคู่ ในฤดูผสมพันธุ์ อาหารของแรดไดแ้ ก่ ยอดไม้ ใบไม้ กงิ่ ไม้ และผลไม้ท่ีร่วงหล่นบนพ้ืนดิน แรดไม่มีฤดู ผสมพันธุ์ท่ีแน่นอน จึงสามารถผสมพันธ์ุได้ตลอดปี ตกลูกครั้งละ ๑ ตัว ตั้งท่องนานประมาณ ๑๖ เดอื น ที่อยู่อาศัย: แรดอาศัยอยู่เฉพาะในบริเวณป่าดิบชื้นท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ หรือตามป่าทึบริมฝ่ัง ทะเล ส่วนใหญ่จะหากนิ อยูต่ ามพน้ื ทร่ี าบ ไม่คอ่ ยขนึ้ บนภูเขาสูง : แรดมเี ขตกระจายตัง้ แต่ประเทศบังคลาเทศ พม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม ลงไปทางแหลมมลายู สุ มาตรา และชวา ปัจจุบันพบน้อยมากจนกล่าวได้ว่า เกือบจะหมดไปจากผืนแผ่นดินใหญ่ของทวีป เอเชียแล้ว เช่ือว่ายังอาจจะมีคงเหลืออยู่บ้างทางเทือกเขาตะนาวศรี และในป่าลึกตามแนวรอยต่อ จังหวัดระนอง พังงา และสรุ าษฎรธ์ านี สถานภาพ : ปัจจุบันแรดจัดเปน็ สัตว์ป่าสงวนชนดิ หนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และจัดอยู่ใน Appendix 1 ของอนสุ ัญญา CITES ทั้งยงั เปน็ สัตวป์ ่าทใ่ี กลจ้ ะสญู พนั ธ์ตุ าม U.S.Endanger Species สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธ์ุ : เช่นเดียวกับแรดที่พบบริเวณอ่ืนๆ ที่พบในประเทศไทยถูกล่า และทาลายอย่างหนกั เพอ่ื ตอ้ งการนอหรือสว่ นอ่นื ๆ เชน่ กระดูก เลอื ด ฯลฯ ซ่งึ มคี ณุ ค่าสูงย่ิง เพ่ือใช้ ในการบารงุ และยาอ่ืนๆ นอกจากนบี้ รเิ วณปา่ ทร่ี าบทแี่ รดชอบอาศยั อยู่ก็หมดไป กลายเป็นบ้านเรือน และเกษตรกรรมจนหมด

ลักษณะ : กระซู่เป็นสัตว์จาพวกเดียวกับแรด แต่มีลักษณะลาตัวเล็กกว่า ตัวโตเต็มวัยมีความสูงที่ไหล่ ๑- ๑.๕ เมตร น้าหนักประมาณ ๑,๐๐๐ กิโลกรัม มีหนังหนาและมีขนขึ้นปกคลุมท้ังตัว โดยเฉพาะในตัวท่ีมี อายุนอ้ ย ซง่ึ ขนจะลดน้อยลงเม่ือมอี ายมุ ากข้ึน สีลาตัวโดยท่ัวไปออกเป็นสีเทา คล้ายสีขี้เถ้า ด้านหลังลาตัว จะปรากฏรอยพบั ของหนังเพียงพับเดียว ตรงบรเิ วณดา้ นหลงั ของขาคูห่ น้า กระซทู่ ้ังสองเพศมีนอ ๒ นอ นอ หนา้ มคี วามยาวประมาณ ๒๕ เซนตเิ มตร ส่วนนอหลังมีความยาวไม่เกิน ๑๐ เซนติเมตร หรือเป็นเพียงตุ่ม นูนข้ึนมาในตวั เมยี อุปนสิ ัย : กระซู่ปีนเขาไดเ้ กง่ มปี ระสาทรับกลนิ่ ดมี าก ออกหากินในเวลากลางคืน อาหาร ได้แก่ พวกใบไม้ และผลไม้ป่าบางชนิด ปกติกระซู่จะใช้ชีวิตอยู่อย่างโดดเดี่ยว ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์ หรือตัวเมียเล้ียงลูก ออ่ น ตกลูกครัง้ ละ ๑ ตัว มีระยะตงั้ ทอ้ ง ๗-๘ เดอื น ในท่เี ลี้ยงกระซู่มีอายุยืน ๓๒ ปี ทอ่ี ยูอ่ าศัย : กระซอู่ าศยั อยู่ตามปา่ เขาที่มีความหนารกทึบ ลงมาอยู่ในป่าที่ราบต่า ในตอนปลายฤดูฝนซ่ึง ในระยะน้นั มีปรกั และน้าอยู่ท่วั ไป เขตแพร่กระจาย : กระซู่มีเขตแพร่กระจายตั้งแต่แคว้นอัสสัมในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ พม่า ไทย เวียดนาม มลายู สุมาตรา และบอเนียว ในประเทศไทยมีรายงานว่าพบกระซู่อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หลายแห่งได้แก่ ภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ทุ่งใหญ่ นเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี และคลองแสง จังหวัดสุราษฏร์ธานี และในบริเวณอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง ได้แก่ แก่งกระจาน จงั หวัดเพชรบุรี และเขอื่ นบางลาง จังหวดั ยะลา และบริเวณปา่ รอยตอ่ ระหว่างประเทศ กับมาเลเซยี สถานภาพ : ปัจจุบันกระซู่จัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหน่ึงใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย อนุสัญญา CITES จดั ไว้ใน Appendix I และ U.S. Endanger Species Act จดั ไว้ในพวกที่ใกลจ้ ะสูญพนั ธุ์ สาเหตขุ องการใกล้จะสญู พนั ธ์ุ : กระซู่ปัจจุบันใกล้จะสูญพันธุ์ไปจากโลก เน่ืองจากถูกล่าเพื่อเอานอ และ อวยั วะทกุ ส่วนของตัว ซ่ึงมฤี ทธ์ิในทางเป็นยา กระซู่จึงถูกล่าอยู่เนืองๆ ประกอบกับกระซู่มีอยู่ในธรรมชาติ นอ้ ย และประชากรแต่ละกลุ่มและแม้แตก่ ลุม่ เดียวกนั กอ็ ยู่หา่ งกนั มากไมม่ โี อกาสจับคขู่ ยายพนั ธ์ุได้

ลกั ษณะ : กูปรีเปน็ สตั ว์ป่าชนิดหน่งึ เชน่ เดยี วกับ กระทงิ และวัวแดง เมื่อโตเต็มท่ีมีความ สงู ที่ไหล่ ๑.๗-๑.๙ เมตร น้าหนัก ๗๐๐-๙๐๐ กิโลกรัม ตัวผู้มีขนาดลาตัวใหญ่กว่าตัวเมีย มาก สโี ดยท่ัวไปเป็นสเี ทาเข้มเกือบดา ขาทั้ง ๔ มีถุงเท้าสีขาวเช่นเดียวกับกระทิง ในตัวผู้ ที่มีอายุมาก จะมีเหนียงใต้คอยาวห้อยลงมาจนเกือบจะถึงดิน เขากูปรีตัวผู้กับตัวเมียจะ แตกต่างกัน โดยเขาตัวผู้จะโค้งเป็นวงกว้าง แล้วตีวงโค้งไปข้างหน้า ปลายเขาแตก ออกเปน็ พคู่ ล้ายเส้นไม้กวาดแข็ง ตัวเมียมีเขาตีวงแคบแล้วม้วนข้ึนด้านบน ไม่มีพู่ท่ีปลาย เขา อุปนิสัย : อยู่รวมกันเป็นฝูง ๒-๒๐ ตัว กินหญ้า ใบไม้ดินโป่งเป็นคร้ังคราว ผสมพันธ์ุใน ราวเดือนเมษายน ต้ังท้องนาน ๙ เดือน จะพบออกลูกอ่อนประมาณเดือนธันวาคมและ มกราคม ตกลกู คร้ังละ ๑ ตัว ทอ่ี ยูอ่ าศัย : ปกติอาศยั อยู่ตามปา่ โปรง่ ท่ีมีท่งุ หญา้ สลับกับป่าเตง็ รังและในปา่ เบญจพรรณ ท่ีค่อนขา้ งแลง้ เขตแพรก่ ระจาย : กูปรีมเี ขตแพรก่ ระจายอย่ใู นไทย เวียดนาม ลาว และกัมพชู า สถานภาพ : ประเทศไทยมรี ายงานวา่ พบกปู รอี ยู่ตามแนวเทือกเขาชายแดนไทย-กัมพูชา และลาว เม่ือปี พ.ศ.๒๕๒๕ มีรายงานพบกูปรีในบริเวณเทือกเขาพนมดงรัก กูปรีจัดเป็น สัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และอยู่ใน Appendix I ตาม อนุสญั ญา CITES สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์ : ปัจจุบันกูปรีเป็นสัตว์ป่าท่ีหายากกาลังใกล้จะสูญพันธุ์ หมดไปจากโลก เน่ืองจากการถูกล่าเป็นอาหารและสภาวะสงครามในแถบอินโดจีน ซึ่ง เปน็ แหล่งอาศยั เฉพาะกูปรี ทาให้ยากในการอยรู่ ่วมกนั ในการอนุรกั ษก์ ปู รี

ลักษณะ : ควายป่าเป็นสัตว์ชนิดเดียวกับ ควายบ้าน แต่มีลาตัวขนาดลาตัวใหญ่กว่า มีนิสัยว่องไว และดุ ร้ายกว่าควายบ้านมาก ตัวโตเต็มวัยมีความสูงท่ีไหล่เกือบ ๒ เมตร น้าหนักมากกว่า ๑,๐๐๐ กิโลกรัม สี ลาตัวโดยทั่วไปเป็นสีเทา หรือสีน้าตาลดา ขาท้ัง ๔ สีขาวแก่ หรือสีเทาคล้ายใส่ถุงเท้าสีขาว ด้านล่างของ ลาตัวเป็นลายสีขาวรูปตัววี ( V ) ควายป่ามีเขาทั้ง ๒เพศ เขามีขนาดใหญ่กว่าควายเลี้ยง วงเขากางออก กว้างโค้งไปทางดา้ นหลัง ด้านตดั ขวางเปน็ รปู สามเหลีย่ ม ปลายเขาเรียวแหลม อุปนิสัย : ควายป่าชอบออกหากินในเวลาเช้า และเวลาเย็น อาหารได้แก่ พวกใบไม้ หญ้า และหน่อไม้ หลังจากกินอาหารอ่ิมแล้ว ควายป่าจะนอนเค้ียวเอื้องตามพุ่มไม้ หรือนอนแช่ปรักโคลนตอนช่วงกลางวัน ควายป่าจะอยู่ร่วมกันเป็นฝูง ฤดูผสมพันธุ์อยู่ราวๆ เดือนตุลาคมและพฤศจิกายน ตกลูกคร้ังละ ๑ ตัว ตั้ง ทอ้ งนาน ๑๐ เดอื น เท่าทท่ี ราบควายป่ามอี ายยุ ืน ๒๐-๒๕ ปี เขตแพร่กระจาย : ควายป่ามีเขตแพร่กระจายจากประเทศเนปาลและอินเดีย ไปส้ินสุดทางด้านทิศ ตะวันออกทป่ี ระเทศเวียดนาม ในประเทศไทยปัจจบุ นั มีควายป่าเหลืออยู่บริเวณเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าห้วย ขาแขง้ จังหวัดอทุ ยั ธานี สถานภาพ : ปจั จุบนั ควายป่าที่เหลอื อยใู่ นประเทศไทยมจี านวนนอ้ ยมาก จนนา่ กลวั ว่าอกี ไม่นานจะหมด ไปจากประเทศ ควายปา่ จัดเปน็ สตั วป์ า่ สงวนชนิดหน่ึงใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และอนุสัญญา CITES จัดควายปา่ ไว้ใน Appendix III สาเหตุของการใกลจ้ ะสญู พันธ์ุ : เนื่องจากการถูกล่าเพ่ือเอาเนื้อและเอาเขาท่ีสวยงาม และการสูญเช้ือ พนั ธ์ุ เน่อื งจากไปผสมกับควายบ้าน ทีม่ ผี ู้เอาไปเล้ียงปลอ่ ยเป็นควายปละในป่า ในกรณีหลังนี้บางครั้งควาย ปา่ จะติดโรคตา่ งๆ จากควายบา้ น ทาให้จานวนลดลงมากยิ่งขนึ้

ลกั ษณะ : เนอ้ื สมนั เป็นกวางชนิดหน่ึงที่เขาสวยงามท่ีสุด ในประเทศไทย เม่ือโตเต็มวัยจะมีความสูงที่ไหล่ ประมาณ ๑ เมตร สขี นบนลาตัวมีสีน้าตาลเข้มและเรียบเป็นมัน หางค่อนข้างสั้น และมีสีขางทางตอนล่าง สมันมีเขาเฉพาะตัวผู้ ลักษณะเขาของสมันมีขนาดใหญ่ และแตกก่ิงก้านออกหลายแขนง ดูคล้ายสุ่มหรือ ตะกร้า สมนั จงึ มชี ่ือเรียกอกี อย่างหนึ่งว่า กวางเขาสุม่ อุปนิสัย : ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็กๆ โดยเฉพาะในฤดูผสมพันธุ์ หลังจากหมดฤดูผสมพันธุ์ และตัวผู้จะ แยกตวั ออกมาอยู่โดดเด่ียว สมันชอบกินหญา้ โดยเฉพาะหญา้ อ่อน ผลไม้ ยอดไม้ และใบไมห้ ลายชนิด ทอ่ี ยอู่ าศยั : สมนั จะอาศัยเฉพาะในทุง่ โล่ง ไมอ่ ยูต่ ามปา่ รกทบึ เน่ืองจากเขามกี ิ่งกา้ นสาขามาก จะเกีย่ วพัน พันกับเถาวลั ย์ไดง้ า่ ย เขตแพร่กระจาย : สมันเปน็ สตั วช์ นิดท่ีมีเขตแพร่กระจายจากัด อยู่ในบริเวณท่ีราบภาคกลางของประเทศ เท่านั้น สมัยก่อนมีชุกชุมมากในที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา บริเวณจังหวัดรอบกรุงเทพฯ เช่น นครนายก ปทมุ ธานี และปราจีนบรุ ี และแม้แตบ่ รเิ วณพน้ื ท่ีรอบนอกของกรุงเทพฯ เช่น บรเิ วณพญาไท บางเขน รงั สิต ฯลฯ สถานภาพ : สมันได้สูญพันธ์ุไปจากโลกและจากประเทศไทยเม่ือเกือบ ๖๐ ปีท่ีแล้ว สมันยังจัดเป็นป่า สงวนชนิดหนง่ึ ใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทยโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อควบคุมซาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเขาของ สมนั ไม่ใหม้ กี ารส่งออกนอกราชอาณาจักร สาเหตุของการสูญพันธ์ุ : เน่ืองจากแหล่งท่ีอยู่อาศัยได้ถูกเปล่ียนเป็นนาข้าวเกือบทั้งหมด และสมันท่ี เหลืออยู่ตามที่ห่างไกลจะถูกล่าอย่างหนักในฤดูน้าหลากท่วมท้องทุ่ง ในเวลาน้ันสมันจะหนีน้าข้ึนไปอยู่ รวมกันบนที่ดอนทาใหพ้ วกพรานล้อมไลฆ่ า่ อย่างงา่ ยดาย

ลกั ษณะ : กวางผาเป็นสัตว์จาพวก แพะแกะเช่นเดียวกับเลียงผา แต่มีขนาดเล็กกว่า เม่ือโตเต็มท่ีมีความ สูงที่ไหล่มากกว่า ๕๐ เซนติเมตร เพียงเล็กน้อย และมีน้าหนักตัวประมาณ ๓๐ กิโลกรัม ขนบนลาตัวสี นา้ ตาล หรอื สีน้าตาลปนเทา มีแนวสีดาตามสนั หลงไปจนจดหาง ด้านใต้ท้องสีจางกว่าดา้ นหลงั หางส้นั สีดา เขาสดี ามลี ักษณะเปน็ วงแหวนรอบโคนเขา และปลายเรยี วโคง้ ไปทางดา้ นหลงั อุปนิสัย : ออกหากินตามทีโ่ ลง่ ในตอนเยน็ และตอนเชา้ มดื หลับพกั นอนตามพุ่มไม้ และชะง่อนหินในเวลา กลางคืน อาหาร ได้แก่ พืชท่ีขึ้นตามสันเขาและหน้าผาหิน เช่น หญ้า ใบไม้ ก่ิงไม้ และลูกไม้เปลือกแข็ง จาพวกลูกก่อ กวางผาอยู่รวมกันเป็นฝูงๆละ ๔-๑๒ ตัว ผสมพันธุ์ในราวเดือนพฤศจิกายน และธันวาคม ออกลกู ครอกละ ๑-๒ ตวั ต้งั ท้องนาน ๖ เดือน ทอี่ าศัย : กวางผาจะอยบู่ นยอดเขาสูงชันในท่ีระดับนา้ สงู ชันมากกวา่ ๑,๐๐๐ เมตร เขตแพร่กระจาย : กวางผามีเขตแพร่กระจายต้ังแต่แคว้นแพร่กระจาย ตั้งแต่แคว้นแคชเมียร์ลงมาจนถึง แควน้ อสั สมั จนี ตอนใต้ พมา่ และตอนเหนอื ของประเทศไทย ในประเทศไทยมรี ายงานพบกวางผาตามภูเขา ท่ีสูงชนั ในหลายบริเวณ เช่น ดอยม่อนจอง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย ดอยเลี่ยม ดอยมือกาโด จังหวัด เชยี งใหม่ และบริเวณสองฝ่ังลาน้าปงิ ในอทุ ยานแห่งชาติแม่ปงิ จังหวดั ตาก สถานภาพ : กวางผาจดั เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหน่ึงใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทยและอนุสัญญา CITES จัด ไวใ้ น Appendix I สาเหตขุ องการใกล้จะสูญพันธ์ุ : เน่ืองจากการบุกรุกถางป่าที่ทาไร่เล่ือนลอยของชาวเขาในระยะเร่ิมแรก และชาวบา้ นในระยะหลัง ทาใหท้ ่ีอาศยั ของกวางผาลดนอ้ ยลง เหลืออย่เู พียงตามยอดเขาที่สูงชัน ประกอบ กับการล่ากวางผาเพ่ือเอาน้ามันมาใช้ในการสมานกระดูกที่หักเช่นเดียวกับเลียงผา จานวนกวางผาใน ธรรมชาตจิ ึงลดลงเหลืออยนู่ ้อยมาก

ลกั ษณะ : เปน็ นกขนาดเล็ก ลาตัวยาว ๒๑ เซนตเิ มตร จัดเป็นนกท่มี คี วามสวยงามมาก นกตวั ผูม้ สี ่วนหวั สี ดา ท้ายทอยมีสีฟ้าประกายสดใส ด้านหลังสีน้าตาลติดกับอกตอนล่าง และตอนใต้ท้องที่มีดาสนิท นกตัว เมียมสี สี ดใสน้อยกวา่ โดยทั่วไปสีลาตัวออกน้าตาลเหลือง ไมม่ ีแถบดาบนหน้าอกและใต้ท้อง นกอายุน้อยมี หัว และคอสีนา้ ตาลเหลอื ง ส่วนอกใต้ท้องสีน้าตาล ท่วั ตัวมลี ายเกล็ดสีดา อุปนิสัย : นกแต้วแล้วท้องดาทารังเป็นซุ้มทรงกลม ด้วยแขนงไม้และใบไผ่ วางอยู่บนพื้นดิน หรือในกอ ระกา วางไข่ ๓-๔ ฟอง ทัง้ พอ่ นกและแม่นก ช่วยกนั กกไข่และหาอาหารมาเลย้ี งลกู อาหารได้แก่หนอนด้วง ปลวก จ้งิ หรีดขนาดเล็ก และแมลงอน่ื ๆ ทอี่ ยู่อาศัย : นกแตว้ แล้วทอ้ งดาชนิดน้พี บอาศัยอยู่เฉพาะในบรเิ วณป่าดงดบิ ต่า เขตแพร่กระจาย : พบต้ังแต่ตอนใต้ของประเทศพม่า ลงมาจนถึงเขตรอยต่อระหว่างประเทศไทย กบั ประเทศมาเลเซีย สถานภาพ : เคยพบชุกชุมในระยะเมื่อ ๘๐ ปีก่อน แต่ไม่มีรายงานทางวิทยาศาสตร์เลยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ จนมีรายงานพบครั้งล่าสุดเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๑ นกแต้วแล้วท้องดา ได้รับการจัดให้เป็น สตั ว์ชนดิ ที่หายากชนดิ หน่ึง ในสบิ สองชนดิ ทหี่ ายากของโลก สาเหตขุ องการใกล้จะสูญพนั ธ์ุ : นกชนิดน้ี จัดเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่เฉพาะในป่าดงดิบต่า ซ่ึงกาลังถูกตัดฟัน อยา่ งหนัก และสภาพที่อยู่เช่นน้ีมีน้อยมากในบริเวณเขตคุ้มครองในภาคใต้ นอกจากนี้ เน่ืองจากเป็นนกท่ี หายากเปน็ ทีต่ อ้ งการของตลาดนกเล้ียง จึงมีราคาแพง อันเป็นแรงกระตุ้นให้นกแต้วแล้วท้องดาถูกล่ามาก ยิ่งขนึ้

ลักษณะ : เป็นนกขนาดใหญ่เมื่อยืนมีขนาดสูงราว ๑๕๐ เซนติเมตร ส่วนหัวและคอไม่มีขนปกคลุม มี ลักษณะเป็นปุม่ หยาบสีแดง ยกเว้นบรเิ วณกระหมอ่ มสเี ขยี วอมเทา ในฤดูผสมพันธม์ุ สี ีแดงส้มสดขึ้นกว่าเดิม ขนลาตวั สีเทาจนถึงสเี ทาแกมฟา้ มีกระจกุ ขนสขี าวหอ้ ยคลมุ สว่ นหาง จะงอยปากสีออกเขียว แข้งและเท้าสี แดงหรือสชี มพูอมฟา้ นกอายนุ อ้ ยมขี นสีนา้ ตาลทว่ั ตวั บนส่วนหัวและลาคอมีขนสีน้าตาลเหลืองปกคลุม ใน ประเทศไทยเป็นนกกระเรยี นชนดิ ย่อย Sharpii ซึ่งไมม่ ีวงแหวนสีขาวรอบลาคอ อปุ นสิ ยั : ออกหากินเปน็ คแู่ ละเปน็ กลมุ่ ครอบครวั กินพวกสตั ว์ เช่น แมลง สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน กบ เขียด หอย ปลา กุ้งและพวกพืช เมล็ดข้าวและยอดหญ้าอ่อน ทารังวางไข่ในฤดูฝนราวเดือนมิถุนายน ปกติวางไข่ จานวน ๒ ฟอง พ่อแม่นกจะเล้ียงดลู กู อกี เป็นเวลาอยา่ งน้อย ๑๐ เดอื น ทอี่ ยอู่ าศัย : ชอบอาศยั ตามทงุ่ หญ้าที่ช้นื แฉะ และหนองบึงท่ใี กลป้ ่า เขตแพรก่ ระจาย : นกกระเรยี นชนดิ ยอ่ ยน้ี มีเขตแพร่กระจายจากแควน้ อัสสมั ในประเทศอินเดีย ประเทศ พม่า ไทย ตอนใต้ลาว กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ถึงเมืองลูซุนประเทศฟิลิปปินส์ บางคร้ังพลัดหลงไปถึง ประเทศมาเลเซีย และยังมปี ระชากรอกี กลมุ่ หนง่ึ ในรัฐควนี แลนดป์ ระเทศออสเตรเลยี สถานภาพ : นกกระเรียนเคยพบอยู่ท่ัวประเทศ ครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๗ พบ ๔ ตัว ท่ีวัดไผ่ล้อม จังหวัดปทุมธานี จากนั้นมีรายงานท่ีไม่ยืนยันว่าพบนกกระเรียน ๔ ตัว ลงหากินในทุ่งนาอาเภอขุขันธ์ จงั หวัดศรสี ะเกษ เมอ่ื เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๒๘

ลกั ษณะ : แมวลายหนิ ออ่ นเป็นแมวปา่ ขนาดกลาง น้าหนักตัวเมื่อโตเต็มท่ี ๔-๕ กิโลกรัม ใบหูเล็กมน กลมมจี ุดด้านหลังใบหู หางยาวมีขนหนาเป็นพวงเด่นชัด สีขนโดยท่ัวไปเป็นสีน้าตาลอมเหลือง มีลาย บนลาตัวคล้ายลายหินอ่อน ด้านใต้ท้องจะออกสีเหลืองมากกว่า ด้านหลังขาและหางมีจุดดา เท้ามี พังผืดยดื ระหว่างนว้ิ น้ิวมีปลอกเล็บสองช้ัน และเล็บพับเกบ็ ได้ในปลอกเลบ็ ท้งั หมด อุปนิสัย : ออกหากินในเวลากลางคืน ส่วนใหญ่มักอยู่บนต้นไม้ อาหารได้แก่สัตว์ขนาดเล็กแทบทุก ชนิดตั้งแต่แมลง จิ้งจก ตกุ๊ แก งู นก หนู กระรอก จนถงึ ลงิ ขนาดเลก็ นิสยั ค่อนข้าดรุ ้าย ทอ่ี ยอู่ าศยั : ในประเทศไทยพบอยู่ตามป่าดงดิบเทือกเขาตะนาวศรีและปา่ ดงดิบช้ืน ในภาคใต้ เขตแพร่กระจาย : แมวป่าชนดิ นมี้ เี ขตแพรก่ ระจายตง้ั แตป่ ระเทศเนปาล สิกขิม แควน้ อัสสัม ประเทศ อินเดยี ผ่านทางตอนเหนอื ของพม่า ไทย อินโดจีน ลงไปตลอดแหลมมลายู สุมาตราและบอรเ์ นยี ว สถานภาพ : แมวลายหินอ่อนจัดเป็นสัตว์ป่าชนิดหน่ึงใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และอนุสัญญา CITES จัดอยูใ่ น Appendix I สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์: เนื่องจากแมวลายหินอ่อนเป็นสัตว์ที่หาได้ยาก และมีปริมาณใน ธรรมชาติค่อนข้างต่า เม่ือเทียบกับแมวป่าชนิดอื่นๆ จานวนจึงน้อยมาก และเนื่องจากถ่ินที่อยู่อาศัย ถูกทาลาย และถูกล่าหรือจับมาเป็นสัตว์เลี้ยงท่ีมีราคาสูง จานวนแมวลายหินอ่อนจึงน้อยลง ด้าน ชีววทิ ยาของแมวป่าชนิดนี้ยังรูก้ นั น้อยมาก

ลักษณะ : สมเสร็จเป็นสัตว์กีบคี่ เท้าหน้ามี ๔ เล็บ และเท้าหลังมี ๓ เล็บ จมูกและริมฝีปากบนยื่น ออกมาคล้ายงวง ตามีขนาดเล็ก ใบหูรูปไข่ หางสั้น ตัวเต็มวัยมีน้าหนัก ๒๕๐-๓๐๐ กิโลกรัม ส่วนหัว และลาตัวเป็นสขี าวสลับดา ตง้ั แตป่ ลายจมกู ตลอดทอ่ นหวั จนถึงลาตวั บรเิ วณระดับหลังของขาคู่หน้ามี สดี า ท่อนกลางตัวเป็นแผน่ ขาว ส่วนบริเวณโคนหางลงไปตลอดขาคู่หลัง จะเป็นสีดา ขอบปลายหูและ รมิ ฝปี ากขาว ลูกสมเสรจ็ ลาตวั มีลายเป็นแถบ ดลู ายพรอ้ ยคล้ายลูกแตงไทย อุปนิสัย : สมเสร็จชอบออกหากนิ ในเวลากลางคนื กินยอดไม้ กิ่งไม้ หน่อไม้ และพืชอวบน้าหลายชนิด มักมุดหากินตามที่รกทึบ ไม่ค่อยชอบเดินหากินตามเส้นทางเก่า มีประสาทสัมผัสทางกลิ่นและเสียงดี มาก ผสมพนั ธุใ์ นเดอื นเมษายนหรือเดือนพฤษภาคม ตกลูกคร้ังละ ๑ ตัว ใช้เวลาต้ังท้องนานประมาณ ๑๓ เดือน สมเสร็จทเ่ี ลย้ี งไว้มอี ายุนานประมาณ ๓๐ ปี ทอี่ ยอู่ าศยั : สมเสร็จชอบอยู่อาศยั ตามบรเิ วณทรี่ ่มครม้ึ ใกลห้ ว้ ยหรอื ลาธาร เขตแพร่กระจาย : สมเสร็จมีเขตแพร่กระจายจากพม่าตอนใต้ ไปตามพรมแดนด้านทิศตะวันตกของ ประเทศไทย ลงไปสุดแหลมมลายูและสุมาตรา ในประเทศไทยจะพบสมเสร็จได้ในป่าดงดิบตาม เทือกเขาถนนธงชยั เทอื กเขาตะนาวศรี และปา่ ทัว่ ภาคใต้ สถานภาพ : ปัจจุบันสมเสร็จจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และจัดโดย อนุสัญญา CITES ไว้ใน Appendix I และจัดเป็นสัตว์ท่ีใกล้จะสูญพันธ์ุตาม U.S. Endanger Species Act. สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์ : การล่าสมเสร็จเพ่ือเอาหนังและเนื้อ การทาลายป่าดงดิบที่อยู่อาศัย และหากนิ โดยการตัดไม้ การสร้างเข่ือนกักเก็บน้าและถนน ทาให้จานวนสมเสร็จลดปริมาณลงจนหา ไดย้ าก

ลักษณะ : เก้งหม้อมีลักษณะโดยทั่วไป คล้ายคลึงกับเก้งธรรมดา ขนาดลาตัวไล่เล่ียกัน เมื่อโตเต็มท่ี น้าหนักประมาณ ๒๐ กิโลกรัม แต่เก้งหม้อจะมีสีลาตัวคล้ากว่าเก้งธรรมดา ด้านหลังสีออกน้าตาลเข้ม ใต้ท้องสีน้าตาลแซมขาว ขาส่วนท่ีอยู่เหนือกีบจะมีสีดา ด้านหน้าของขาหลังมีแถบขาวเห็นได้ชัดเจน บนหนา้ ผากจะมีเสน้ สีดาอยู่ดา้ นในระหวา่ งเขา หางสนั้ ด้านบนสดี าตดั กับสีขาวด้านลา่ งชัดเจน อุปนิสยั : เกง้ หม้อชอบอาศัยอยู่เดี่ยว ในป่าดงดิบ ตามลาดเขา จะอยู่เป็นคู่เฉพาะฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ออกหากินในเวลากลางวันมากกว่าในเวลากลางคนื อาหารได้แก่ ใบไม้ ใบหญ้า และผลไม้ป่า ตกลกู ครั้ง ละ ๑ ตัว เวลาต้ังท้องนาน ๖ เดือน ทอี่ ยอู่ าศยั : ชอบอยตู่ ามลาดเขาในป่าดงดิบและหบุ เขาทม่ี ีปา่ หนาทบึ และมีลาธารน้าไหลผ่าน เขตแพร่กระจาย : เก้งหม้อมีเขตแพร่กระจาย อยู่ในบริเวณต้ังแต่พม่าตอนใต้ลงไปจนถึงภาคใต้ ตอนบน ของประเทศไทยเท่านั้น ในประเทศไทยพบในบริเวณเทือกเขาตะนาวศรีลงไปจนถึงเทือกเขา ภูเก็ต ในบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองนาคา และเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าคลองแสง ในจังหวัด ระนอง สุราษฎร์ธานแี ละพังงา สถานภาพ : องคก์ ารสวนสัตว์ ได้ประสบความสาเร็จในการเพาะเลี้ยงเก้งหม้อมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๘ ในปจั จบุ นั เก้งหม้อจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และองค์การ IUCN จัด เก้งหม้อให้เป็นสัตวป์ ่าท่ีใกลจ้ ะสญู พนั ธุ์ สาเหตขุ องการใกล้จะสญู พนั ธ์ุ : ปจั จุบันเป็นสัตว์ป่าท่ีหายากและใกล้จะสูญพันธุ์หมดไปจากประเทศ เนอ่ื งจากมีเขตแพร่กระจายจากัด และทอี่ ยอู่ าศยั ถกู ทาลายหมดไปเพราะการตัดไม้ทาลายป่า การเก็บ กกั นา้ เหนือเขอื่ นและการลา่ เป็นอาหาร เก้งหมอ้ เป็นเนอ้ื ที่นิยมรับประทานกันมาก

ลักษณะ : พะยนู จดั เป็นสัตว์เล้ียงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในน้า มีลาตัวเพรียวรูปกระสวย หาง แยกเปน็ สองแฉก วางตัวขนานกบั พืน้ ในแนวราบ ไมม่ คี รีบหลัง ปากอยู่ตอนล่าง ของส่วนหน้าริมฝีปาก บนเป็นก้อนเนื้อหนา ลักษณะเป็นเหลี่ยมคล้ายจมูกหมู ตัวอายุน้อยมีลาตัวออกขาว ส่วนตัวเต็มวัยมีสี ชมพแู ดง เมื่อโตเตม็ วยั จะมนี ้าหนักตวั ประมาณ ๓๐๐ กิโลกรัม อุปนิสัย : พะยูนอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัว หลายครอบครัวจะหากินเป็นฝูงใหญ่ ออกลูกครั้งละ ๑ ตัว ใช้เวลาตั้งทอ้ งนาน ๑๓ เดอื น และจะโตเตม็ ทเี่ มื่อมีอายุ ๙ ปี ที่ยู่อาศัย : ชอบอาศัยหากินพืชจาพวกหญ้าทะเลตามพื้นท้องทะเลชายฝ่ัง ทั้งในเวลากลางวันและ กลางคืน เขตแพรก่ ระจาย : พะยูนมเี ขตแพรก่ ระจาย ตงั้ แต่บริเวณชายฝง่ั ตะวันออกของทวปี อาฟริกา ทะเลแดง ตลอดแนวชายฝ่ังมหาสมุทรอินเดียไปจนถึงประเทศฟิลิปปินส์ ไต้หวัน และตอนเหนือของออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบไมบ่ อ่ ยนกั ทั้งในบริเวณอ่าวไทยแถบจังหวัดระยอง และชายฝั่งทะเลอันดามัน แถบ จงั หวัดภูเกต็ พังงา กระบี่ ตรงั สตลู สถานภาพ : ปัจจุบันพบพะยูนน้อยมาก พยูนท่ียังเหลืออยู่จะเป็นกลุ่มเล็กหรืออยู่โดดเดี่ยว บางครั้ง อาจจะเข้ามาจากน่านน้าของประเทศใกล้เคียง พะยูนจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของ ประเทศไทย และจดั โดยอนสุ ัญญา CITES ไวใ้ น Appendix I สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์ : เน่ืองจากพะยูนถูกล่าเพ่ือเป็นอาหาร ติดเครื่องประมงตาย และเอา น้ามันเพื่อเอาเป็นเช้ือเพลิง ประกอบกับพะยูนแพร่พันธุ์ได้ช้ามาก นอกจากน้ีมลพิษที่ก่อให้เกิดการ เปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมตามชายฝ่ังทะเล ได้ทาลายแหล่งหญ้าทะเล ท่ีเป็นอาหาร ของพยูนเป็น จานวนมาก จงึ นา่ เป็นห่วงวา่ พะยูนจะสูญสน้ิ ไปจากประเทศในอนาคตอนั ใกลน้ ้ี

ลักษณะ : เลยี งผาเป็นสตั วจ์ าพวกเดียวกบั แพะและแกะ เม่ือโตเต็มท่ีมีความสูงท่ีไหล่ประมาณ ๑ เมตร ขายาวและแข็งแรง ใบหูยาวคล้ายใบหูลา ขนตามลาตัวค่อนข้างยาว หยาบและมีสีดา ด้านท้องขนสีจางกว่า มีขนเป็นแผงยาวบนสันคอและสันหลัง มีเขาทั้งในตัวผู้และตัวเมีย เขามี ลกั ษณะตอนโคนกลม หยักเป็นวงแหวนโดยรอบค่อยๆ เรยี วไปทางปลายเขาโค้ง ไปทางด้านหลงั เล็กน้อย อุปนิสัย : ในเวลากลางวันจะพักอาศัยอยู่ในถ้า หรือในพุ่มไม้ ออกหากินในตอนเย็นถึงพลบค่า และในเวลาเชา้ มดื อาหารได้แกพ่ ืชต่างๆ ทุกชนิด เลยี งผามปี ระสาทหู ตา และรบั กลิ่นได้ดี ผสม พันธ์ุในช่วงปลายเดือนตุลาคม ตกลูกคร้ังละ ๑-๒ ตัว ใช้เวลาตั้งท้องราว ๗ เดือน ในท่ีเลี้ยง เลยี งผามอี ายุยาวกวา่ ๑๐ ปี ที่อาศัย : เลียงผาอาศยั อยตู่ ามภูเขาทีม่ ีหน้าผาสูงชนั มีป่าปกคลุม เขตแพร่กระจาย : เลียงผามีเขตแพร่กระจาย ต้ังแต่แคว้นแคชเมียร์ มาตามเทือกเขาหิมาลัย จนถึงแคว้นอัสสัม จีนตอนใต้ พม่า อินโดจีน มลายู และสุมาตรา ในประเทศไทยพบอาศัยอยู่ ตามภเู ขาสงู ในหลายภูมิภาคของประเทศ เชน่ เทือกเขาตะนาวศรี เทอื กเขาถนนธงชัย เทือกเขา เพชรบรู ณ์ และภูเขาท่วั ไปในบรเิ วณภาคใต้ รวมทัง้ บนเกาะในทะเลท่ีอยู่ไม่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ มากนัก สถานภาพ : เลียงผาจดั เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และอนุสัญญา CITES จดั เรยี งผาไว้ใน Appendix I สาเหตุของการใกลจ้ ะสูญพันธ์ุ : ในระยะหลังเลียงผามีจานวนลดลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากการ ลา่ อยา่ งหนักเพ่อื เอาเขา กระดูก และนา้ มันมาใช้ทายาสมานกระดูก และพ้ืนทหี่ ากนิ ของเลยี งผา ลดลงอย่างรวดเรว็ จากการทาการเกษตรตามลาดเขา และบนพน้ื ทีท่ ่ีไม่ชนั จนเกินไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook