Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Uint1.Principles

Uint1.Principles

Published by sittiphoneak, 2018-03-13 05:20:53

Description: Uint1.Principles

Search

Read the Text Version

121 แผนการสอน หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา งานซ่อมเคร่ืองยนตเ์ บ้อื งตน้ สอนคร้ังที่ 6 ชื่อหน่วยหลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ จานวน 4ชั่วโมงเนือ้ หาหลกั การทางานเบอื้ งต้นของเครื่องยนต์เครื่องยนตไ์ ดร้ ับการออกแบบข้ึนมาเพอ่ื ใชเ้ ป็นเคร่ืองตน้ กาลงั โดยมีช้ิ นส่วนที่มีอยกู่ บั ทแ่ี ละชิ้นส่วนทีเ่ คล่ือนท่ีประกอบเขา้ ดว้ ยกนั สาหรบั เครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีนจะมีการทางานโดยการผสมอากาศกบั น้ามนั เช้ือเพลิงดว้ ยคาร์บเู รเตอร์แลว้ ส่งเขา้ ไปจุดระเบดิ ภายในกระบอกสูบ โดยการจดุ ประกายไฟจากหวั เทยี นแต่สาหรับเคร่ืองยนตด์ ีเซลน้นั เช้ือเพลิงจะถูกอดั ตวั ใหม้ ีกาลงั ดนั สูงโดยการเคล่ือนทีข่ องลูกสูบภายในกระบอกสูบแลว้หวั ฉีดจะฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงเขา้ ไปจดุ ระเบิด5.1หลักการทางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน4 จงั หวะจงั หวะดูด (อินเทก็ สโตรก : Intake stroke) รูปท่ี 5.1 แสดงลกั ษณะของจงั หวะดูดจังหวะดูด ลูกสูบจะเลื่อนลงจากจุดศูนยต์ ายบนลงมาสู่ศูนยต์ ายล่าง ทาใหค้ วามดนั ภายในกระบอกสูบน้าต่ากวา่ ความดนั บรรยากาศ แต่ปริมาตรบนหวั ลูกสูบจะเพม่ิ ข้นึ และในขณะเดียวกนั น้นั ลิ้นไอดีจะเปิ ดให้ส่วนผสมของอากาศกบั น้ามนั เช้ือเพลิง หรือเรียกวา่ “ไอดี” จากคาร์บูเรเตอร์ ไหลผา่ นลิ้นไอดีเขา้ มาบรรจใุ นกระบอกสูบ จนกระทง่ั ลูกสูบเลื่อนลงถึงจุดศนู ยต์ ายล่าง โดยทเี่ พลาขอ้ เหวย่ี งจะหมุนได้ 180 องศา[พิมพข์ อ้ ความ]

122จงั หวะอดั (คอมเพรสชน่ั สโตรก : Compression stroke) รูปที่ 5.2 แสดงลกั ษณะของจงั หวะอดัจังหวะอดั ลูกสูบจะเคล่ือนท่กี ลบั มาจากจดุ ศนู ยต์ ายล่างโดยท่ลี ิ้นไอดีและล้ินไอเสียจะปิ ดสนิท ส่วนผสมของอากาศกบั น้ามนั เช้ือเพลิงจะถูกอดั ตวั ภายในกระบอกสูบ เพอ่ื ทาใหป้ ริมาตรคอ่ ย ๆ เล็กลง จนกระทง่ั ลูกสูบเล่ือนข้ึนจนถึงศนู ยต์ ายบน เพลาขอ้ เหวย่ี งจะหมุนได้ 360 องศา เป็นจานวน 1 รอบจังหวะระเบิดหรือจงั หวะงาน (เพาเวอร์ สโตรก : Power stroke) รูปท่ี 5.3 แสดงลกั ษณะของจงั หวะระเบดิ หรือจงั หวะงาน ในจงั หวะระเบิดหรือจงั หวะงานน้ี เป็นจงั หวะทล่ี ูกสูบกาลงั จะเลื่อนข้ึนไปจนถึงจดุ ศูนยต์ ายบน ซ่ึงในขณะเดียวกนั น้นั หวั เทยี นจะจุดประกายไฟ เพอื่ จุดส่วนผสมระหวา่ งอากาศกนั น้ามนั เช้ือเพลิง ทาใหเ้ กิดการเผาไหม้ และมีความดนั เพมิ่ ข้นึ ภายในบริเวณหอ้ งเผาไหม้ ส่วนผสมทเ่ี กิดการเผาไหมจ้ ะเกิดการขยายตวั เพอ่ืผลกั ดนั ลูกสูบใหเ้ คลื่อนทลี่ งไปยงั จุดศูนยต์ ายล่าง ทาใหเ้ กิดพลงั งานกลข้ึน เพลาขอ้ เหวยี่ งจะหมุนไว้ 540องศา[พิมพข์ อ้ ความ]

123จังหวะคาย (เอก็ ซ๊อทสโตรท : Exhaust stroke) รูปที่ 5.4 แสดงลกั ษณะของจงั หวะคาย ในจงั หวะคายเมื่อเเก๊สขยายตวั ทาใหม้ ีกาลงั ดนั มากข้นึ เพอื่ ดนั ใหล้ ูกสูบเคล่ือนทลี่ งมาจนถึงจดุ ศนู ยต์ ายล่างแลว้ กเ็ ป็นการส้ินสุดของกระบวนการเผาไหมภ้ ายในกระบอกสูบ จะเหลือเพยี งเเก๊สไอเสีย ทาใหจ้ าเป็ นจะตอ้ งกาจดั แกส๊ ไอเสียใหอ้ อกไปจากกระบอกสูบ ก่อนทไ่ี อดีจะถูกดูดเขา้ มา ซ่ึงจงั หวะคายน้ีลูกสูบจะเลื่อนข้นึ สู่จดุ ศูนยต์ ายบนอีกคร้ังหน่ึง และในขณะเดียวกนั น้นั ล้ินไอเสียจะเปิ ด เพอื่ ใหล้ ูกสูบขบั ไล่แกส๊ ไอเสียออกผา่ นล้ินไอเสียไปยงั ทอ่ ร่วมไอเสียและไหลต่อไปตามทอ่ ไอเสีย สู่บรรยากาศภายนอกตอ่ ไป หลกั การทางานของเคร่ืองยนตก์ เ็ ป็นอยา่ งน้ีไปเรื่อย ๆ[พมิ พข์ อ้ ความ]

124 5.2 หลักการทางานของเคร่ืองยนต์ 2 จังหวะ หลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะ จะเหมือนกบั เครื่องยนต์ 4 จงั หวะ คอื มีจงั หวะดูด จงั หวะอดัจงั หวะระเบิด และจงั หวะคาย แตเ่ ครื่องยนต์ 2 จงั หวะ เมื่อเพลาขอ้ เหวย่ี งหมุนครบ 1 รอบ ก็จะสิ้นสุดจงั หวะการทางานอยา่ งสมบูรณ์ เคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะจะมีโครงสร้างที่แตกตา่ งกบั เคร่ืองยนต์ 4จงั หวะในการบรรจุไอดีและการคายไอเสียดว้ ยการใชช้ ่องไอดี สาหรบั เคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ จะใชล้ ้ินเป็นตวั ปิ ด-เปิ ดช่องไอดี และไอเสีย เม่ือลูกสูบเลื่อนข้นึ ก่อนถึงจดุ ศนู ยต์ ายบน ลูกสูบจะเปิ ดช่องไอดีเพอื่ ใหไ้ อดีจากคาร์บเู รเตอร์ไหลเขา้มายงั หอ้ งเพลาขอ้ เหวยี่ ง เมื่อลูกสูบเลื่อนข้ึนไปอีกประมาณ 15 องศาก่อนถึงจดุ ศนู ยต์ ายบนหวั เทียนจะจ่ายประกายไฟเพอ่ื ทาการจุดระเบิดไอดี จนเกิดการเผาไหม้ เกิดแรงผลกั ดนั ใหล้ ูกสูบเล่ือนตวั ลงมา ในช่วงน้ีจะเป็นจงั หวะระเบิดหรือจงั หวะงานของเคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะจังหวะดูด และจังหวะอัด รูปท่ี 5.5แสดงลกั ษณะจงั หวะดูด และอดั ช่วงบรรจุไอดี และขบั ไล่ไอเสีย ลูกสูบจะอยทู่ จ่ี ดุ ศนู ยต์ ายล่าง และช่องไอดีเปิ ด ซูเปอร์ชาร์จจะอดัอากาศเขา้ บรรจใุ นกระบอกสูบทางรูรอบ ๆ กระบอกสูบ ซ่ึงอากาศทถี่ ูกอดั เขา้ ไปบรรจใุ นกระบอกสูบจะทาหนา้ ท่ไี ล่ไอเสียออกจากกระบอกสูบทางวาลว์ ไอเสีย เม่ือลูกสูบเลื่อนข้นึ จากศนู ยต์ ายล่างปิ ดช่องไอดี ถือเป็ นการส้ินสุดจงั หวะดูด ช่วงอดั ไอดี ลูกสูบเล่ือนข้นึ ต่อไปจนเพลาขอ้ เหวย่ี งหมุนเลยศนู ยต์ ายล่างประมาณ 60 องศา วาลว์ ไอเสียท้งั สองจงึ ปิ ดและเป็นการเร่ิมตน้ จงั หวะอดั[พมิ พข์ อ้ ความ]

125จงั หวะระเบดิ และจงั หวะคาย รูปที่ 5.6แสดงลกั ษณะจงั หวะระเบดิ และจงั หวะคาย ช่วงจงั หวะระเบิด ลูกสูบยงั คงเล่ือนข้นึ อดั อากาศใหม้ ีอุณหภูมิประมาณ 55 องศาเซลเซียส เพลาขอ้เหวยี่ งหมุนดนั ลูกสูบก่อนถึงศนู ยต์ ายบนประมาณ 22 องศา หวั ฉีดจะฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงเขา้ หอ้ งเผา่ ไหม้ และเม่ือฝอยน้ามนั กระทบอากาศที่ถูกอดั ตวั จนร้อนจะเกิดการเผา่ ไหมอ้ ยา่ งรวดเร็ว ผลกั ดนั ลูกสูบใหเ้ ล่ือนลงเป็ นจงั หวะระเบดิ ช่วงคายไอเสีย ลูกสูบยงั คงเลื่อนลงในจงั หวะระเบดิ ก่อนเพลาขอ้ เหวยี่ งหมุนถึงศนู ยต์ ายล่างประมาณ90 องศา วาลว์ ไอเสียท้งั สองจะเปิ ด ไอเสียท่มี ีแรงดนั ออกสู่ภายนอก และเม่ือลูกสูบเล่ือนลงตอ่ ไปก่อนเพลาขอ้เหวยี่ งถึงศูนยต์ ายล่าง 54 องศา ลูกสูบจะเปิ ดช่องไอดี เพอ่ื ใหซ้ ูเปอร์ชาร์จอดั อากาศเขา้ บรรจุในกระบอกสูบ และขบั ไล่ไอเสียออก[พมิ พข์ อ้ ความ]

128 แผนการสอน หน่วยท่ี 4 ชื่อวิชา งานซ่อมเครื่องยนตเ์ บ้ืองตน้ สอนคร้ังที่ 6 ชื่อหน่วยหลกั การทางานของเครื่องยนต์ จานวน 4ช่ัวโมง แบบฝึ กหัดตอนที่ 1คาสั่ง จงตอบคาถามใหถ้ ูกตอ้ ง1.จงบอกปัจจยั ท่ที าใหเ้ กิดการเผา่ ไหมภ้ ายใน........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................2.จงอธิบายหลกั การทางานของเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีน4 จงั หวะ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................3. จงอธิบายขอ้ แตกต่างของหลกั การทางานของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีน4 จงั หวะกบั เคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................4.ปริมาณดูด หมายถึง........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................[พิมพข์ อ้ ความ]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook