Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานไตรมาส 1-2 ปี 2564 กศน.ตำบลยางตลาด

รายงานไตรมาส 1-2 ปี 2564 กศน.ตำบลยางตลาด

Published by Atchalalak Chareonjit, 2021-06-11 07:18:07

Description: รายงานไตรมาส 1-2 ปี 2564 กศน.ตำบลยางตลาด

Search

Read the Text Version

๑ สรปุ ผลการดาเนินงานไตรมาส1-2 (1 ตลุ าคม 2563 – 31 มนี าคม 2564) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตาบลยางตลาด ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอยางตลาด สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดกาฬสินธุ์ สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

๒ คานา รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 1–2 ตามภารกิจ 4ศูนย์การเรียนร๎ู ของ กศน.ตาบลยางตลาด ประจาปีงบประมาณ 2564 (ระหวํางวันท่ี 1ตุลาคม 2563 – 31มีนาคม2564) จัดทาข้ึนเพื่อรายงานผลการ ดาเนินงานของ กศน.ตาบลยางตลาด ท่ีจัดกิจกรรมให๎สอดคล๎องเช่ือมโยงกับนโยบายเรํงดํวน และจุดเน๎นการ ดาเนินงานของสานักงาน กศน. การออกแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู๎ยดึ หลักการสอดคล๎องกับความต๎องการของ ผ๎ูเรียนในแตํละบริบทของชุมชนและทิศทางการพัฒนาชุมชน เพ่ือกํอให๎เกิดประโยชน์สูงสุดแกํประชาชน กลํุมเปูาหมาย เพื่อเสริมสร๎างและเติมเต็มโอกาสทางการศึกษาให๎กับกลุํมเปูาหมายในตาบลยางตลาด ให๎ได๎รับ การศึกษาตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอยํางท่ัวถึงและเทําเทียมกัน นาไปสํูสังคมแหํงการเรียนร๎ู และการพัฒนาที่ย่ังยืน โดยการจดั กจิ กรรมทีเ่ ปน็ รูปธรรมและมีคณุ ภาพ ซ่ึงสามารถดาเนินการจดั กศน. ได๎อยาํ งครบวงจร (PDCA) ผ๎ูจัดทาหวังเป็นอยํางยิ่งวํา รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 1–2 ตามภารกิจศูนย์การเรียนร๎ู ของ กศน.ตาบลยางตลาด ประจาปีงบประมาณ 2564 (ระหวาํ งวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2563 – 31 มนี าคม 2564) ฉบับน้ี จะนาไปสํูการปฏบิ ตั งิ านทีป่ ระสบผลสาเร็จตามเปูาหมายท่ีวางไว๎ และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานให๎ดยี ่งิ ขนึ้ ไป และจะนาผลจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในคร้ังน้ีไปเป็นแนวทางใน การจดั การศึกษาและพัฒนาของ กศน.ตาบลยางตลาด ตํอไป กศน.ตาบลยางตลาด เมษายน2564

สารบญั ๓ เรือ่ ง หนา้ 1 สวํ นท่ี 1 สภาพทัว่ ไปและข๎อมลู พื้นฐาน 12 สํวนท่ี 2 ผลการดาเนนิ งานตามนโยบายเรงํ ดํวนเพื่อรํวมขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 19 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564(กจิ กรรม/โครงการ) 23 งบดาเนินงาน แผนงานพ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 32 ผลผลิตที่ 4 : ผรู๎ ับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ 39 49 งบดาเนินงาน แผนงานพ้นื ฐานด๎านการพัฒนาและเสรมิ สร๎างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 53 ผลผลิตที่ 5 : ผรู๎ บั บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศยั งบดาเนินงาน แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร๎างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนบั สนนุ กิจกรรมจัดการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน งบรายจํายอืน่ แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพ่ือสนบั สนุนดา๎ นการพฒั นาและเสรมิ สร๎างศักยภาพ ทรพั ยากรมนษุ ย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาทย่ี ั่งยนื งบรายจาํ ยอ่ืน แผนงาน : ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาศักยภาพคนตลอดชวี ติ โครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผู๎สงู อายุ งบรายจาํ ยอืน่ แผนงาน : ยุทธศาสตรพ์ ฒั นาเศรษฐกิจและสังคม โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ภาคผนวก คณะผ้จู ัดทา

๔ บทท่ี ๑ ข้อมูลทัว่ ไป สว่ นที่ 1 สภาพทวั่ ไปและขอ้ มลู พ้นื ฐาน กศน.ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธ์ุ ๑. ช่ือสถานศึกษา กศน.ตาบลยางตลาด ๒. ท่ีตง้ั /การตดิ ต่อ บ๎านดอนยูง หมูํที่ 16 ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาดจังหวัดกาฬสินธุ์ รหัสไปรษณีย์ ๔๖๑๒๐ โทร 085-315-9581 ๓. สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอยางตลาด สานักงานสํงเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์ สานักงานสํงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั กระทรวงศึกษาธิการ ๔. ประวตั ิความเปน็ มาของสถานศกึ ษา ๔.๑ ประวัตสิ ถานศกึ ษา เดมิ ตายางตลาด เปน็ ตาบลทตี่ ้ังอยูใํ นเขตสขุ าภิบาล ครอบคลุมพื้นทห่ี ลาย หมูํบา๎ น แตํกํอนตาบลยางตลาด ตาบลยางตลาด เปน็ เขตการปกครองของตาบลยางตลาด ตอํ มาไดแ๎ ยกออกไป ปัจจบุ นั ตาบลยางตลาดอยูํในเขตปกครองของอาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธุ์ แบงํ เขตปกครองออกเปน็ ๒ เขต (๑) เขตเทศบาลตาบลยางตลาด ซ่ึงได๎รับการยกฐานะจากสุขาภิบาล เป็นเทศบาลตาบล เม่ือวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๔๙๙ โดยมีจอมพล ป.พบิ ูลสงคราม เป็นผ๎ลู งนามท๎ายประกาศกระทรวงมหาดไทย ปัจจุบันสานักงานเทศบาล ตาบลยางตลาด ต้ังอยูํอาคารท่ีวําการอาเภอหลังเกํา หมูํที่ ๑ ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธ์ุ (๒) เขตองคก์ ารบริหารส่วนตาบลยางตลาด ซึ่งเดิมเป็นเขตปกครองเดียวกันกับสุขาภิบาลยางตลาด ที่ตั้งอาคาร ทที่ าการอยูํบา๎ นดอนยงู หมํูที่ ๑๖ ปจั จุบนั ได๎มีการยา๎ ยอาคารทที่ าการหลงั ใหมํมาอยํทู ่บี ๎านดอนปอแดง หมํูท่ี ๒๐ ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ “คาขวญั อาเภอยางตลาด” เรํวพันธ์ดีดงระแนง แหลํงรวมการเกษตร เขตก๎งุ กา๎ มกรามรสเลิศ ถ่นิ กาเนดิ วงโปงลาง เส๎นทางสํูอินโดจีน แผํนดนิ แหงํ นกั ปราชญ์

๕ ๔.๒ อาณาเขตอาเภอยางตลาด ทต่ี งั้ ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสินธ์ุ ตง้ั อยบูํ ริเวณทิศตะวนั ตกท่ตี ้ัง ศาลากลางจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ หํางจากจังหวดั กาฬสินธ์ุประมาณ ๑๖กิโลเมตร มีพ้ืนท่ี ๒๑.๔๑ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๓,๓๘๑ไรํ อาณาเขต - ทิศเหนอื ติดตํอกับเขตตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ - ทิศตะวันตก ตดิ ตํอกับเขตตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ - ทิศตะวนั ออก ตดิ ตํอกับเขตตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ - ทิศใต๎ ติดตํอกับเขตตาบลหนองอเิ ฒํา อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสินธุ์ ๔.๓ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ สภาพพื้นทท่ี ัว่ ไปเป็นท่ีราบสงู และพ้ืนท่ีทาการเกษตรสวํ นมากเปน็ ท่ีดอนสลับลํมุ ไมํมแี หลํงน้า ธรรมชาตไิ หลผาํ น มีคลองสงํ น้าชลประทาน ประชากรมีอาชพี หลักคือการทานา การปลกู พืชผัก การคา๎ ขาย และการรับจา๎ ง ๕. สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม ๕.๑ ประชากร และครัวเรอื น จากสถติ กิ รมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จานวนประชากรและ ครัวเรอื นของตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธ์ุ มปี ระชากรท้งั สนิ้ ๑๕,๐๖๖ คน แยกเปน็ ชาย ๗,๒๓๑ คน เปน็ หญงิ ๗,๘๓๕ คนมีจานวนครวั เรือน ๔,๓๓๘ ครวั เรอื น เขตเทศบาลตาบลยางตลาด จานวน ๑๐ ชมุ ชน ๙ หมูบํ ๎าน ดังนี้ ลาดับที่ ชอื่ ชุมชน หม่ทู ี่ 1. ชุมชนยางตลาด 1 2. ชมุ ชนขวญั เมือง 2 3. ชุมชนบ๎านค๎อ (เขต อบต.บางสํวน) 3 3. ชุมชนโคกน๎อย 4 5. ชุมชนโคกใหญํ 4 6. ชมุ ชนยางนอ๎ ย (เขต อบต.บางสวํ น) 6 7. ชุมชนอรํามมงคล(เขต อบต.บางสํวน) 9 8. ชุมชนดงบํอ(เขต อบต.บางสํวน) 10 9. ชมุ ชนดงบํอใต๎ (เขต อบต.บางสวํ น) 19 10. ชมุ ชนดอนปอแดง(เขต อบต.บางสวํ น) 20

๖ เขตองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลยางตลาด จานวน ๑๑ หมูํบา๎ น ดังน้ี ลาดับที่ ชอื่ หมบู่ า้ น หม่ทู ่ี 1. บ๎านเปลอื ย 5 2. บา๎ นหัวงวั 7,8 3. บา๎ นอรอุมาอารมณ์ 11 3. บ๎านดอนยูงน๎อย 12 5. บา๎ นฮอํ งฮี 13,14 6. บา๎ นจอมศรี 15 7. บ๎านดอนยูง 16 8. บา๎ นดอนยูงสวรรค์ 17 9. บ๎านไทยเจรญิ 18 ๕.๒ การต้ังถิน่ ฐานบ้านเรือน เน่ืองจากตาบลยางตลาด เปน็ สังคมเมือง และสังคมชนบท การอาศัยอยํภู ายในพนื้ ที่ของแตลํ ะ หมูบํ า๎ นนัน้ จงึ มีความแตกตาํ งกนั มาก ที่เปน็ สังคมเมอื ง (เขตเทศบาล) มกั เป็นครอบครัวเดี่ยว และการเชาํ บ๎าน เชาํ ห๎องแถว เน่ืองมาจากมปี ระชากรแฝงอยมูํ าก ทเ่ี ป็นสงั คมชนบท สวํ นมากมแี ตญํ าติพี่นอ๎ งกัน รูปแบบของการ กํอสรา๎ งบา๎ นเรือนจงึ เป็นแบบผสมผสานกันไป คือเป็นในลกั ษณะบางครอบครวั อยูํอาศัยรํวม กนั เปน็ ครอบครัวใหญํ แตํสํวนมากเม่ือพห่ี รอื น๎องที่มีศักยภาพพอกจ็ ะขอแยกครอบครวั เพือ่ เปน็ ครอบครัวของ ตวั เอง (ออกเรอื น) การกํอสร๎างบา๎ นเรอื น มีทัง้ บา๎ นเดยี่ วหนึ่งชน้ั /สองชั้น บ๎านไมส๎ องช้ัน ตกึ แถวชั้นเดยี ว/สองชั้น ๕.๓ เสน้ ทางคมนาคม การตดิ ต่อกับภายนอก การคมนาคมเสน๎ ทางหลกั ในการคมนาคม คือ - ทางหลวงหมายเลข ๒๑๓ (๑๒) ถนนกาฬสนิ ธ์ุ - ยางตลาด - ทางหลวงหมายเลข ๒๑๑๖ ถนนขอนแกํน – โพนทอง (ยางตลาด – บา๎ นบํอ) - ทางหลวงหมายเลย ๒๑๓ ถนนยางตลาด – มหาสารคาม - ทางหลวงหมายเลข ๒๐๙ (๑๒) ถนนขอนแกนํ – โพนทอง (ยางตลาด – ขอนแกนํ ) - ภายในพืน้ ทมี่ ีถนนลาดยาง และถนนคอนกรีตทกุ หมบูํ ๎าน การโทรคมนาคม ๑ แหงํ - ท่ีทาการไปรษณยี ์โทรเลข ๑ แหํง - ชมุ สายโทรศัพท์

๗ ๕.๔ การศกึ ษา กอ่ นวัยเรียน (๑) ศนู ย์อบรมเดก็ กํอนเกณฑ์วัดบ๎านคอ๎ หมทูํ ่ี ๓ (๒) ศนู ยอ์ บรมเดก็ กํอนเกณฑ์วดั บ๎านฮอํ งฮี หมทํู ี่ ๑๔ (๓) ศูนย์อบรมเด็กกอํ นเกณฑ์วดั บ๎านดอนยูง หมูทํ ี่ ๑6 (๔) ศูนยอ์ บรมเดก็ กอํ นเกณฑ์วดั บา๎ งดงบอํ ใต๎ หมํทู ่ี ๑๙ ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา และประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (๑) โรงเรยี นบา๎ นหัวงวั วทิ ยา หมทูํ ่ี ๘ (๒) โรงเรียนผดุงราษฎร์วทิ ยา หมํทู ่ี ๒ (๓) โรงเรยี นพินจิ ราษฎรบ์ ารงุ หมํทู ่ี ๔ (๔) โรงเรยี นบา๎ นฮํองฮีวิทยา หมูํที่ ๑๑ (๕) โรงเรียนชมุ ชนบา๎ นดอนยูง หมทูํ ่ี ๑๗ (๖) โรงเรียนยางตลาดวทิ ยาคาร หมํทู ่ี ๒๐ (๗) โรงเรียนเพ่ิมพนู วิทยาคม หมูทํ ี่ ๑ (๘) โรงเรยี นเพมิ่ พูนพานชิ การกาฬสินธุ์ หมทํู ี่ ๑ การศึกษานอกระบบ ตาบลยางตลาด มศี ูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอยางตลาด เป็นศูนย์กลางในการประสานงานการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ในระดบั ตาบล มี กศน. ตาบลยางตลาด ซึ่งตัง้ อยํใู น บ๎านดอนยงู หมํูท่ี ๑๖ เป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน มีการพบกลุมํ ทุกวัน องั คารและพฤหสั บดี ตงั้ แตเํ วลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๐๐ น. ๕.๕ การสาธารณสขุ การดาเนนิ การด๎านสาธารณสุขของตาบลยางตลาดได๎ดาเนินการในรปู แบบผสมผสาน คือ มงุํ ในดา๎ นรักษาพยาบาล ส่งิ แวดล๎อม การปูองกัน และการสงํ เสรมิ สุขภาพพร๎อมกันไปกับสาธารณสขุ มลู ฐาน ๑) โรงพยาบาล ขนาด ๙๐ เตียง จานวน ๑ แหํง ๒) สุขศาลาประจาหมบูํ ๎าน จานวน ๒๐ แหํง ๓) อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน จานวน ๒๐๐ คน ๖. ด้านศาสนา ความเช่อื และการเคารพนับถอื ประชาชนในเขตพ้นื ทีต่ าบลยางตลาด รอ๎ ยละ ๙๕ นบั ถือพระพทุ ธศาสนา ร๎อยละ ๕ นับถือ คริสต์ศาสนา พราหมณ์ และวัฒนธรรมประเพณีสวํ นใหญํกม็ าจากพระพุทธศาสนา แตํยังมีประเพณบี างอยํางที่ เป็นประเพณขี องศาสนาพราหมณ์ แตํถูกประยุกต์เปน็ พิธกี ารของพระพุทธศาสนา เชนํ การสํขู วญั บายศรี เป็นต๎น สวํ นความเชื่ออืน่ ๆ ท่นี อกเหนือจากพระพทุ ธศาสนาก็มบี างสํวน เชํน ประเพณเี ลี้ยงตาแฮก เลี้ยงผีปูุตา เปน็ ตน๎ และประชาชนบางสํวนกเ็ ป็นคนไทยเชื้อสายจนี ตาบลยางตลาดจึงมศี าลเจา๎ สาหรบั พี่น๎องไทย-จนี

๘ ๗. ด้านการปกครองสว่ นท้องถ่นิ และภาวะผูน้ าทางการเมือง ๗.๑ คณะผ้บู ริหารของเทศบาลตาบลยางตลาด ๑. นายชัยเวท เกษรรตั น์ นายกเทศมนตรตี าบลยางตลาด ๒. นายแดนไทย โคตรยอด รองนายกเทศมนตรตี าบลยางตลาด ๓. นางประทุมทิพย์ หอมกลิ่น รองนายกเทศมนตรีตาบลยางตลาด ๔. ภญ.นันทภทั ศรจี ินดา เลขานกุ ารนายกเทศมนตรีตาบลยางตลาด ๗.๒ สมาชกิ สภาเทศบาลตาบลยางตลาด (ส.ท.) ๑. นายสรุ ชาติ ดลอารมย์ สท.ตาบลยางตลาด เขต ๑ ๒.นายศราวุธ ศีลพนั ธ์ สท.ตาบลยางตลาด เขต ๑ ๓. นายประยงค์ ภนู ิลามัย สท.ตาบลยางตลาด เขต ๑ ๔. นายอัมรนิ ทร์ แฝงจันดา สท.ตาบลยางตลาด เขต ๑ ๕. นายขวัญใจ ภกู าสอน สท.ตาบลยางตลาด เขต ๑ ๖. นายพีรวฒั น์ สมศรี สท.ตาบลยางตลาด เขต ๑ ๗. นายสาราญ ภูอาํ ว สท.ตาบลยางตลาด เขต ๒ ๘. นางสาวเพชรา หอมกล่นิ สท.ตาบลยางตลาด เขต ๒ ๙. วาํ ที่ร๎อยตรีรณชติ ภพู ลอย สท.ตาบลยางตลาด เขต ๒ ๑๐. นางสาวชมภู คาสุข สท.ตาบลยางตลาด เขต ๒ ๑๑. นางสาวดวงใจ จันทรมิ า สท.ตาบลยางตลาด เขต ๒ ๑๒. นายทวีวฒั น์ อินทรแ์ ปลง สท.ตาบลยางตลาด เขต ๒ ๗.๓ คณะผบู้ รหิ ารขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบลยางตลาด ๑. นายสมหมาย ทับศรี นายกองคก์ ารบรหิ ารสวํ นตาบลยางตลาด ๒. นายวฒั นา ภเู กิดพมิ พ์ รองนายกองคก์ ารบริหารสํวนตาบลยางตลาด ๓. นายอดุลย์ อาพวา รองนายกองคก์ ารบรหิ ารสํวนตาบลยางตลาด ๔. นายสุรนิ ทร์ เศรษฐรักษา เลขานุการองค์การบรหิ ารสวํ นตาบลยางตลาด ๗.๔ สมาชิกสภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลยางตลาด (ส.อบต.) ส.อบต. หมูทํ ่ี ๓ ๑. นางเยาวภา ดลอารมณ์/ นายไชยสินธ์ุ ภนู า้ เยน็ ส.อบต. หมูํท่ี ๕ ๒. นายมงคล ภสู เี ขียว/ นายสมาน นามแสงผา ส.อบต. หมูํท่ี ๖ ๓. นายบุญมา ภูพพิ ฒั น์ / นางยุวภา ไวยมาตร ส.อบต. หมทํู ่ี ๗ ๔. นายเรอื งชยั ภพู ันธห์ งส์ / นายมนตท์ ล ภูพานนา ส.อบต. หมทํู ี่ ๘ ๕. นายสุภาพ ภสู าเภา / นายสานิตร ภกู าสอน ส.อบต. หมทํู ี่ ๙ ๖. น.ส.จีรนนั ท์ ขานวงค์ / นายสมศกั ด์ิ กุลชะโมรนิ ทร์ ส.อบต. หมทํู ี่ ๑๐ ๗. นางจิรดา อนนั ตวุฒิ / นางปวนนท์ พิสัย ส.อบต. หมํูท่ี ๑๑ ๘. นายมี เถาวลั ยร์ าช / นางวไิ ลวรรณ ดอกสรอ๎ ย ส.อบต. หมํูที่ ๑๒ ๙. นายวุฒพิ นั ธ์ุ หสั ดี / น.ส.จนั ทรด์ ี ภชู ัน ส.อบต. หมูทํ ่ี ๑๓ ๑๐. นางบญุ สม ภูนา้ เยน็ / นางกฤษณา มีชยั

๙ ๑๑. นางยุพา สบื บญุ มา / นายสังคม ภสู งิ ห์ ส.อบต. หมํูที่ ๑๔ ๑๒. นายอภิรกั ษ์ ภไู ว / นายวิรัช ภธู าตเุ พช็ ร ส.อบต. หมทํู ี่ ๑๕ ๑๓. นายประวทิ ย์ ภูแลนํ กี่ / นางอรทัย พิมพลิ า ส.อบต. หมํทู ี่ ๑๖ ๑๔. นายไพบลู ย์ ภสู มมา / นางวรศิ รา แกว๎ สีหาวงค์ ส.อบต. หมทํู ่ี ๑๗ ๑๕. นายสมเพศ ศรีกตุ า / นายศกั ดา ภูพนั ลา ส.อบต. หมทูํ ่ี ๑๘ ๑๖. นางลอยเพชร ภเู ดํนใจ / น.ส.ไพรมณี แสนพวง ส.อบต. หมทํู ี่ ๑๙ ๑๗. นายสพุ รรณ ศลิ าขาว / น.ส.สทุ ธวิ รรณ นิตยารส ส.อบต. หมูํท่ี ๒๐ ๗.๕ กานัน/ผ้ใู หญบ่ า้ นตาบลยางตลาด ผู๎ใหญํบา๎ นหมูํที่ ๑ ๑. นางยุวดี ชมดวงทิพย์ ผ๎ใู หญํบ๎านหมูํที่ ๒ ๒. นายกิตติชยั ภูตีกา ผู๎ใหญบํ ๎านหมทํู ่ี ๓ ๓. นางสังเวยี น ภขู ะมา กานนั ตาบลยางตลาด หมํูท่ี ๔ ๔. นายสุวิทย์ ภโู ปรํง ผู๎ใหญํบา๎ นหมํูที่ ๕ ๕. นายทองพูล เมืองชาญ ผใ๎ู หญํบา๎ นหมูํท่ี ๖ ๖. นายบุญเหลอื ภูพิพัฒน์ ผู๎ใหญบํ า๎ นหมทํู ่ี ๗ ๗. นายอภิวฒั น์ ภูสาเภา ผใ๎ู หญํบ๎านหมูํท่ี ๘ ๘. นายพูลศิลป์ อุตรโส ผ๎ูใหญํบ๎านหมูํท่ี ๙ ๙. นายอบุ ล พันธก์ ลุ ผู๎ใหญํบ๎านหมูํท่ี ๑๐ ๑๐.นางประสอทธิ์ ภูแลํนกลับ ผใ๎ู หญํบา๎ นหมูํที่ ๑๑ ๑๑.นายศักดิ์ดา โคตรทําแก ผู๎ใหญํบา๎ นหมทํู ี่ ๑๒ ๑๒.นายอดลุ พลจรัส ผู๎ใหญบํ ๎านหมทํู ่ี ๑๓ ๑๓.นายสมประสงค์ ภูเจดยี ์ ผใ๎ู หญบํ า๎ นหมทูํ ี่ ๑๔ ๑๔.นายยงยศ พลต้ือ ผู๎ใหญบํ ๎านหมทํู ่ี ๑๕ ๑๕.นางดรุณี ใจแกว๎ ผู๎ใหญบํ ๎านหมูํที่ ๑๖ ๑๖.นายรงั สติ บญุ สวัสดิ์ ผู๎ใหญบํ า๎ นหมทํู ่ี ๑๗ ๑๗.นายสรุ ศกั ดิ์ พรมโคตร ผูใ๎ หญํบา๎ นหมทํู ี่ ๑๘ ๑๘.นายปรีชา เครือสุวรรณ ผู๎ใหญบํ ๎านหมูํที่ ๑๙ ๑๙.นายเสถยี ร ภูปงั ผู๎ใหญบํ ๎านหมูํท่ี ๒๐ ๒๐.นางกรรณิการ์ ละม๎าย ๘. ความสัมพนั ธข์ องคนในชุมชนและกลุม่ ชุมชน ความสมั พันธข์ องคนในชุมชนตาบลยางตลาด เป็นระบบทีอ่ ยูํดว๎ ยกันแบบเครือญาติ มีอะไรก็ เอือ้ เฟ้ือเผอื่ แผํกัน อยูํรํวมกันอยาํ งเอื้ออาทร เหมือนสังคมชนบททั่วไปที่มีความรักความเข๎าใจกนั ถึงบางครงั้ จะมี ปญั หาข๎อขดั แยง๎ ในชมุ ชนอยูํบา๎ งกเ็ ปน็ เรื่องธรรมดาของสงั คมท่ียํอมมีการกระทบกระทง่ั กนั บา๎ งเปน็ ธรรมดา สํวนมากถา๎ ปญั หาความขัดแย๎งไมรํ นุ แรงมากนักกส็ ามารถไกลเํ กลย่ี กนั ได๎โดยมีกลไกของผใ๎ู หญบํ า๎ นแตลํ ะหมบํู ๎าน เป็นผู๎ประสานความสมั พนั ธ์

๑๐ เทศบาลตาบลยางตลาด ไดจ๎ ัดตั้งศนู ย์ดารงธรรมข้นึ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๙ องค์การบรหิ ารสํวน ตาบลยางตลาด มีศูนย์ดารงธรรมตั้งแตํ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และมีการดาเนินงานกันมาตลอดจนถึงปัจจบุ นั โดย วตั ถปุ ระสงค์ในการจดั ตั้ง กเ็ พื่อไกลํเกล่ยี ปญั หาและข๎อพิพาทตาํ งๆ ของประชาชนในตาบลอยูแํ ล๎ว ดงั ท่ี กลาํ วมาขา๎ งต๎นแล๎ววําถา๎ ปญั หาไมใํ หญํมากนักกส็ ามารถไกลเํ กลย่ี กนั ได๎ทีศ่ นู ยด์ ารงธรรมและทเี่ ทศบาลตาบลยาง ตลาด/องค์การบรหิ ารสวํ นตาบลยางตลาด ๙. ทรัพยากรธรรมชาติ การจดั การ และระบบกรรมสิทธ์ิ ๙.๑ พน้ื ดนิ ลกั ษณะของพน้ื ดินและความเปลยี่ นแปลงพ้นื ท่สี ํวนใหญใํ นตาบลยางตลาด เปน็ ลกั ษณะดินทรายปนรวํ นแตํ ก็นบั วําบางพ้ืนท่มี คี วามอดุ มสมบูรณ์เหมาะสาหรบั การทาการเกษตรพอสมควร ถ๎าถามวาํ ทาไมถงึ กลําวอยาํ งนั้น ก็ เพราะบางพน้ื ที่ท่ีนาหรือทท่ี าการเกษตรกเ็ ป็นดินเหนียว พอตกฤดูร๎อน(แล๎ง) กแ็ หง๎ ซะจนขุดไมํได๎ ถา๎ มองย๎อนกลบั หลงั ไปเม่ือประมาณ ๒๐ ปี ท่ีแล๎ว ชาวนาจะได๎ทานาประมาณเดือน กรกฎาคม แตใํ นปัจจบุ นั (๒-๓ ปีทีผ่ าํ นมา) ชาวนากวาํ จะไดท๎ านากป็ ระมาณเดือนสิงหาคม - เดอื นกนั ยายน นั่นคอื การเปลย่ี นแปลงของฤดกู าล และแนนํ อน ยํอมสงํ ผลกระทบตํอเกษตรกรอยาํ งมาก เพราะเกษตรกรไมมํ ีความม่นั ใจหรอื มอี ะไรมาเปน็ เคร่อื งการนั ตีได๎เลยวํา ปีนี้ฝนจะแลง๎ หรือไมํ เรยี กได๎วําทานาตามยะถากรรม การใชป้ ระโยชน์และความเหมาะสม ดงั ท่ีกลาํ วมาแลว๎ น้ัน วาํ ประชาชนในเขตพ้ืนทต่ี าบลยางตลาดมีอาชีพทานา และเป็นการทานาปลี ะหน่ึงถงึ สองคร้งั หลงั จากที่ชาวบา๎ น ส้นิ สุดฤดูของการเกบ็ เก่ยี วแล๎ว อาชีพที่ถือวําเป็นการสรา๎ งงานสรา๎ งรายไดใ๎ ห๎กับประชาชนนอกเหนือจากการทานา แล๎ว ถือวาํ เปน็ อาชีพรอง มหี ลายอยาํ งดว๎ ยกนั เชํน การปลกู พชื ผกั อาชพี การเล้ยี งโค รบั จา๎ งท่ัวไป ค๎าขาย เป็นต๎น ซงึ่ ถือวาํ เปน็ อาชีพท่ีสามารถทามาหากินได๎ตลอดทงั้ ปี ไมํเกีย่ วกบั วาํ นาจะแลง๎ หรอื ฝนจะตกต๎องตาม ฤดูกาลหรอื ไมํ ดงั น้นั การทานาจึงถือเป็นการทาตามวถิ ีชีวติ ท่ีสบื ทอดกนั มา แตเํ มื่อหลงั จากเสรจ็ สิ้นฤดูกาลทานา พื้นดิน บางพืน้ ทเ่ี ทาํ นนั้ จงึ จะได๎ใช๎ประโยชน์ เชํนพื้นทีข่ องเกษตรกรทีอ่ ยํูใกลก๎ ับหนองน้าสาธารณะ พ้ืนทีท่ ่มี เี กษตรกรที่ ชอบปลกู พชื ผัก เป็นต๎น ความเสอื่ มโทรม สาเหตุ และผลกระทบโดยปกติแล๎วสภาพของพ้ืนดนิ ในเขตพ้นื ท่ี ก็ไมํใชํวําจะอดุ มสมบูรณเ์ ทาํ ไร นัก ย่ิงการทาเกษตรในปจั จบุ ันทห่ี ันมาพ่ึงพาปยุ๋ เคมี หรอื สารเคมกี ันมากขน้ึ เร่อื ยๆ เพียงเพ่ือหวังวําจะไดม๎ ีกาไร มากๆ จากการนาไปขายแตลํ ะครัง้ โดยทไ่ี มํได๎คานึงถึงตน๎ ทนุ ท่ีลงทุนไปในการซ้อื ปุ๋ยเคมี หรือสารเคมตี ํางๆ เพื่อ กาจดั ศัตรูของขา๎ วผลของการใช๎ปยุ๋ เคมใี นปรมิ าณที่มาก จึงสํงผลกระทบอยาํ งหลีกเลีย่ งไมไํ ด๎ทจี่ ะทาให๎พืน้ ดนิ นั้น แห๎ง แขง็ ขาดความอดุ มสมบรู ณ์ มีสตั วจ์ าพวกตกั๊ แตน จ้งิ หรดี ปลา ปู มีจานวนนอ๎ ยลงเรือ่ ยๆ เมื่อ เปรยี บเทียบกับสบิ กวําปยี อ๎ นหลัง วถิ ชี วี ติ ของชาวอีสานนั้นเปล่ียนไป เพราะ “ในน้ามีสัตว์นา้ น๎อย ในนามีแตํ สารพษิ ” ตรงข๎ามกับภาษติ โบราณทว่ี ํา “ในน้ามีปลา ในนามีข๎าว” จะวาํ ไปแล๎ว เมอื่ พืน้ ดินแหง๎ แล๎ง ขาดความอุดม สมบูรณแ์ ล๎วมนั สงํ ผลกระทบไปทุกระบบของการดาเนินชวี ติ และสูญเสียการพ่ึงพาตนเองอยาํ งยั่งยนื การถือครองทด่ี ิน / กรรมสทิ ธ์ิ ประชากรสํวนใหญใํ นเขตพน้ื ที่ การถอื ครองท่ีดินโดยการไดร๎ บั มรดกตกทอดจากปุู ยํา ตา ยาย หรอื บรรพ บรุ ษุ แตํจากแบบสัมภาษณท์ ี่ทมี วจิ ยั ไดส๎ อบถามขอ๎ มูล( ๔๐ ครัวเรือน) ปรากฏวํา มคี รอบครัวสวํ นนอ๎ ยเทาํ นนั้ ที่มี ทที่ ากินต้ังแตํ ๒๐ ไรํ ขึ้นไป แตมํ ีจานวนมากท่ีมที ่ีนาเพียงแคํ ๕ - ๖ ไรํ โดยท่ียังไมไํ ด๎แบงํ ใหก๎ ับลกู และหลานดว๎ ย ดังนนั้ จึงกลายเป็นวาํ เกษตรกรสํวนใหญํจะเหลอื ท่นี าท่ีตนเองครอบครองน้นั นับวันจะน๎อยลงเรื่อยๆ

๑๑ ๙.๒ พนื้ น้า แหล่งนา้ ในพนื้ ที่ตาบลยางตลาด มคี ลองชลประธานไหลผาํ นเปน็ บางสวํ น และมแี หลํงนา้ ธรรมชาตอิ กี หลายแหํง คอื (๑) หนองหมาจอก ต้ังอยํใู นเขตพ้นื ที่ หมํูท่ี ๑,๑๐,๖ เป็นลกั ษณะหนองน้าใหญํ ประชาชนใชป๎ ระโยชน์ ท้งั ด๎านการเกษตร การประมง และการทํองเท่ยี ว (๒) บงึ อราํ ม ตั้งอยํูในเขตพื้นที่ หมํูท่ี ๖,๒๐ เป็นลักษณะหนองน้าใหญํ ประชาชนใช๎ประโยชนท์ ้ังดา๎ น การเกษตร การประมง และการทํองเที่ยว การอุปโภค / บรโิ ภค ประโยชน์ที่ได๎รับจากการมหี นองน้าสาธารณะ สวํ นมากหนองน้าในเขตตาบลกจ็ ะอยํูในความ ดูแลของชาวบา๎ น มีการปลอํ ยปลา เพือ่ เป็นการสร๎างแหลงํ อาหารให๎ชมุ ชน พอฤดูแลง๎ ชาวบา๎ นกจ็ ะประชุมกันและ นัดหมายในการชมุ นุมจับปลา สํวนการใช๎ประโยชน์อื่นกจ็ ะเป็นในด๎านการทาเกษตร แตํกส็ ามารถทาไดเ๎ ฉพาะผู๎ที่ มีทดี่ ินตดิ กับหนองน้าเทาํ น้ัน ๙.๓ ป่าไม้และปา่ ชมุ ชน ในเขตพนื้ ท่ตี าบลยางตลาด ไมมํ ีปุาไมต๎ ามธรรมชาติ มีเพยี งปุาชุมชน ทีเ่ หลอื จากการบกุ รกุ ของ คนในพืน้ ท่ี มีปุาชุมชนเฉลิมพระเกียรติ หมทูํ ี่ ๒๐ ปุาดอนปูุตา หมํูท่ี ๑๖ ซ่ึงพน้ื ทปี่ ุาชุมชนท้งั หมด อยูใํ น ความดแู ลของคณะกรรมการหมบูํ า๎ น (กม.) และการสอดสํองดูแลของประชาชนทุกคนในพืน้ ท่ี ๑๐. สภาพทางเศรษฐกิจ ๑๐.๑ การประกอบอาชพี ภาคการเกษตร ดังทไี่ ดก๎ ลาํ วมาแล๎ววาํ อาชพี หลกั ของชาวตาบลยางตลาดก็ คือการทานา หลังจากฤดกู าลทานากจ็ ะมบี างครอบครัวเทํานน้ั ท่ีทาการเกษตรเป็นรายได๎เสริมเทําน้นั เชนํ การ ปลูกพชื ผัก ถ่วั ลิสง เพื่อสร๎างรายไดเ๎ พ่ิม เปน็ ตน๎ ๑๐.๒ การประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร เนอื่ งมาจากสํวนหนึง่ ของประชาชนตาบลยางตลาด เป็นประชากรแฝง สํวนใหญํจงึ ประกอบอาชพี ค๎าขาย รบั จา๎ งทว่ั ไปเป็นอาชีพหลัก และสวํ นหนึง่ กป็ ระกอบอาชีพ ในภาครฐั /รับราชการ เป็นต๎น 11. ปัญหาและความต้องการทางการศกึ ษาของประชาชนทจ่ี าแนกตามลกั ษณะของกลมุ่ เปา้ หมาย 11.1 จานวนบคุ ลากร/จานวนผู้เรียน/นกั ศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาท่ใี หบ้ รกิ าร กศน.ตาบลยางตลาดมีจานวนบคุ ลากรที่ปฏิบตั ิงานในพนื้ ที่ ดงั น้ี 1. นางอรอมุ า แสงเมฆิน ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางมยุรา ภบู ญุ ทอง ครู กศน.ตาบล 3. น.ส.นพินดา เหลาํ เดช ครู กศน.ตาบล กศน.ตาบลยางตลาด ต้ังอยํูหมูํ 16 บ๎านดอนยูง ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธ์ุ มี ขนาดพ้ืนท่ีโดยรอบ เป็นสถานที่จัดการเรียนการสอนที่เป็นเอกเทศ จัดการศึกษาตํอเนื่อง การ ศึกษาตาม อัธยาศัย และการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ผ๎ูไมํรู๎หนังสือ ระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน๎ และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายรวมทั้งสิ้นจานวน 160 คนดังนี้

๑๒ ผไู๎ มรํ หู๎ นังสอื จานวน 40 คน ระดบั ประถมศึกษา จานวน - คน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน๎ จานวน 55 คน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 65 คน 11.2 ปญั หาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชน กศน.ตาบลยางตลาด จดั และสํงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในทุกด๎านโดยเน๎น การมีสํวนรํวมและความต๎องการทางการศึกษาของชุมชน โดยการมีสํวนรํวมจากภาคีเครือขํายในชุมชน มุํง ผลสัมฤทธิ์เพ่ือให๎บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนและนโยบายของสานักงาน กศน.โดยใช กศน.ตาบลเป็นฐาน ขับเคลื่อนงานเพ่ือลดความเหล่ือมล้า ให๎โอกาสทางการศึกษา แก๎ปัญหาผู๎ไมํรู๎หนังสือ ตลอดจนการสร๎างโอกาส ความเทําเทียมและลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา เพื่อให๎ประชาชนเข๎าถึงการศึกษาอยํางมีคุณภาพมีความร๎ู ความสามารถ และไดเ๎ รียนร๎ูเกีย่ วกับอาชพี ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี 11.3 คณะกรรมการ กศน.ตาบลยางตลาด ประธานกรรมการ นายสุวิทย์ ภูโปรงํ กรรมการทีเ่ ป็นตวั แทนจากหมูํบ๎านหรอื ชุมชน ( หมบูํ า๎ นหรือชุมชนละ ๒ คน ) ไดแ๎ กํ ๑. นางยุวดี ชมดวงทิพย์ ตัวแทนหมูํที่ ๑ ๒. นายวุฒิพนั ธุ์ หัสดี ตวั แทนหมทูํ ี่ 1 ๓. นายประสิทธิ์ ภูแลํนกลบั ตวั แทนหมูํท่ี ๒ ๔. นายสุภาพ ภูสาเภา ตัวแทนหมูํท่ี ๒ ๕. นายทวศี ักดิ์ ภวู าดเขยี น ตัวแทนหมูํท่ี ๓ ๖. นางเยาวภา ดลอารมณ์ ตัวแทนหมํูท่ี 3 ๗. นางลอยเพชร ภูเดํนใจ ตวั แทนหมูํที่ ๔ ๘. นางกฤษณา มชี ยั ตัวแทนหมูํท่ี 4 ๙. นายทองพูล เมอื งชาญ ตัวแทนหมํูท่ี ๕ ๑๐.นายสมาน นามแสงผา ตัวแทนหมูํท่ี 5 ๑๑.นายบญุ เหลอื ภูพพิ ฒั น์ ตวั แทนหมทูํ ี่ ๖ ๑๒.นางยุวภา ไวยมาตร ตัวแทนหมทํู ่ี 6 ๑๓.นายอภวิ ฒั น์ ภูสาเภา ตัวแทนหมทํู ่ี ๗ ๑๔.นายมนตท์ ล ภพู านนา ตัวแทนหมํูท่ี 7 ๑๕.นายพูลศิลป์ อุตรโส ตัวแทนหมูํท่ี ๘ ๑๖.นายสานิตร ภกู าสอน ตัวแทนหมูํที่ 8 ๑๗.นายอบุ ล พนั ธ์กุล ตัวแทนหมูํที่ ๙ ๑๘.น.ส.จรี นันท์ ขานวงค์ ตวั แทนหมทํู ี่ 9 ๑๙.นายนพพร ดีจนั ดา ตวั แทนหมทํู ่ี ๑๐ ๒๐.นางจริ ดา อนนั ตวุฒิ ตัวแทนหมูํท่ี 10 ๒๑.นายศักดิด์ า โคตรทําแก ตัวแทนหมทํู ี่ ๑๑ ๒๒.นางวิไลวรรณ ดอกสร๎อย ตัวแทนหมทํู ่ี 11

๑๓ ๒๓.นายอดลุ พลจรสั ตัวแทนหมทํู ่ี ๑๒ ๒๔.น.ส.จันทร์ดี ภชู นั ตัวแทนหมูํท่ี 12 ๒๕.นายสมประสงค์ ภเู จดีย์ ตวั แทนหมทํู ี่ ๑๓ ๒๖.นางบญุ สม ภูนา้ เย็น ตัวแทนหมทํู ี่ 13 ๒๗.นายเทวญั ภูคะฮาด ตัวแทนหมูํที่ ๑๔ ๒๘.นางยุพา สืบบญุ มา ตวั แทนหมูํที่ 14 ๒๙.นางดรุณี ใจแก๎ว ตัวแทนหมทํู ่ี ๑๕ ๓๐.นายวริ ชั ภธู าตุเพ็ชร ตัวแทนหมูํท่ี 15 ๓๑.นายจนั ทร์ไดย รัตนศรี ตัวแทนหมทํู ี่ ๑๖ ๓๒.นายประวิทย์ ภแู ลนํ ก่ี ตวั แทนหมทํู ่ี 16 ๓๓.นายสุรศักด์ิ พรมโคตร ตัวแทนหมูํท่ี ๑๗ ๓๔.นางวรศิ รา แก๎วสหี าวงค์ ตัวแทนหมูํท่ี 17 ๓๕.นายปรีชา เครือสวุ รรณ ตัวแทนหมทํู ่ี ๑๘ ๓๖.นายศกั ดา ภูพันลา ตัวแทนหมทูํ ่ี ๑8 ๓๗.นายเสถียร ภปู ัง ตวั แทนหมูํท่ี ๑9 ๓๘.น.ส.ไพรมณี แสนพวง ตวั แทนหมทํู ี่ ๑9 ๓๙.นางกรรณิการ์ ละมา๎ ย ตัวแทนหมทํู ่ี 20 ๔๐.น.ส.สุทธวิ รรณ นติ ยารส ตวั แทนหมูํท่ี 20 กรรมการท่ีเป็นผู๎แทนองค์กรนกั ศกึ ษา ( จานวน ๒ คน ) ได๎แกํ ๓.๑ นางนารี คาสลิ า ๓.๒ นายภมู ิชติ ภูดนิ ทราย กรรมการท่เี ป็นอาสาสมคั ร กศน. ( จานวน ๑ คน ) ได๎แกํ ๔.๑ นางสาววรี ยา ภผู านี กรรมการและเลขานุการ ( หัวหน๎า กศน.ตาบล ) ไดแ๎ กํ ๕.๑ นางมยุรา ภบู ุญทอง

๑๔ บคุ ลากร กศน.ตาบลยางตลาด นางอรอุมา แสงเมฆนิ ครู อาสาสมคั รฯ ตาบลยางตลาด นางมยรุ า ภูบญุ ทอง นางสาวนพนิ ดา เหลา่ เดช ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล

๑๕ บทที่ 2 วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอยางตลาด วสิ ยั ทัศน์ จากการทบทวนวิสัยทัศน์ ได๎วิสัยทัศน์ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอยางตลาด คือ “จัดการศกึ ษา และสงํ เสรมิ การเรยี นร๎ตู ลอดชวี ติ ทุกชวํ งวยั อยํางมีคุณภาพ สอดคล๎องกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยใช๎เทคโนโลยีดิจิทัลในการสร๎างนวัตกรรม และทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21ที่มีการ บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล” พันธกจิ จากการทบทวนพนั ธกจิ ไดพ๎ ันธกจิ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอยางตลาด คือ ๑. จดั และสํงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพเพ่ือยกระดับการศกึ ษา พฒั นาทกั ษะการเรียนรขู๎ องประชาชน ให๎เหมาะสมทุกชํวงวัยและพร๎อมรบั การเปล่ยี นแปลงบริบททางสงั คมและ สร๎างสังคมแหํงการเรยี นร๎ตู ลอดชวี ิต ๒. สํงเสริม สนับสนุนและประสานภาคีเครือขํายในการมสี ํวนรํวมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยและการเรยี นร๎ตู ลอดชวี ติ ในรูปแบบตาํ งๆ ๓. สงํ เสรมิ และพฒั นาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใชใ๎ หเ๎ กดิ ประสิทธิภาพใน การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหก๎ ับกลํมุ เปาู หมาย ๔. จัดกิจกรรมการเรยี นรู๎ ใหส๎ อดคล๎องกับสภาพปจั จุบัน ๕. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบริหารจัดการให๎มปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือมุํงจดั การศึกษาและการเรยี นรทู๎ ม่ี ี คณุ ภาพโดยยึดหลักธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงค์ จากการทบทวนเปา้ ประสงค์ ไดเ้ ปา้ ประสงคข์ องศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอยาง ตลาด คอื ๑. ประชาชนผดู้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษารวมทั้งประชาชนทว่ั ไปได้รับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่มี ีคุณภาพอยา่ งเทา่ เทียมและท่วั ถึง ไปตามสภาพปัญหาและความต้องการของแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย

๑๖ ๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สรา้ งเสรมิ และปลูกฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรมและความ เป็นพลเมืองอนั นาไปสู่การยกระดบั คุณภาพชวี ติ และเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ใหช้ มุ ชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ความมั่นคง และยัง่ ยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์และส่งิ แวดล้อม ๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรแู้ ละมเี จตคตทิ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ี่ เหมาะสม สามารถคิดวิเคราะหแ์ ละประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน รวมพลแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้ อยา่ งสร้างสรรค์ประชาชนไดร้ ับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสยั รกั การอา่ นเพ่ือการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง ๔. ชมุ ชนและภาคีเครือขา่ ยทุกภาคส่วนร่วมจัดสง่ เสริมและสนับสนุนการดาเนนิ งานทาง การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทั้งการขับเคล่อื นกจิ กรรมการเรียนรูข้ องชุมชน ๕. สถานศึกษาพัฒนาเทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยดี ิจิทัล มาใช้ในการยกระดับคณุ ภาพ ในการจัดการเรยี นรู้และเครือข่ายการเรยี นรู้ให้กบั ประชาชน ๖. สถานศกึ ษาพฒั นาส่ือและการจดั กระบวนการเรียนรูเ้ พื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทีต่ อบสนองกับการเปล่ยี นแปลงบรบิ ทดา้ นเศรษฐกจิ สังคมการเมืองวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั ความต้องการของประชาชน และชมุ ชนในรูปแบบท่หี ลากหลาย ๗. บคุ ลากรของสถานศกึ ษาไดร้ ับการพฒั นาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ ๘. หน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล ประเด็นยทุ ธศาสตร์ จากการระดมความคิดเหน็ มีการกาหนดประเดน็ ยุทธศาสตร์ ดังน้ี ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1: การจัดการเรียนรู๎ตามพระบรมราโชบายดา๎ นการศกึ ษาของรัชกาลท่ี 10 และโครงการ ตามพระราชดาริของราชวงศ์ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนากาลังคน การวิจัย และสรา๎ งนวตั กรรม เพื่อพฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชน ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 : การพัฒนาและเสรมิ สร๎างศักยภาพคนให๎มีคณุ ภาพ ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 : การสรา๎ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การสํงเสรมิ และจัดการศกึ ษาเพื่อเสรมิ สร๎างคุณภาพชีวิตท่เี ป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ๎ ม ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 : การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 7: การจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู๎

๑๗ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 8: การจัดกระบวนการเรียนร๎ู หลกั สตู ร สื่อรูปแบบการจดั การเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผลงานบรกิ ารทางวชิ าการ และการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา กลยทุ ธ์และแนวทางการดาเนินงานของแต่ละประเดน็ ยุทธศาสตร์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 1: การจดั การเรียนรตู้ ามพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของรชั กาลที่ 10 และ โครงการตามพระราชดาริของราชวงศ์ กลยุทธท์ ่ี 1 สงํ เสรมิ การจดั การเรยี นร๎ตู ามพระบรมราโชบายด๎านการศกึ ษาของ รัชกาลท่ี 10 แนวทางการดาเนนิ งาน เสริมสร๎างความร๎ูความเข๎าใจที่ถูกต๎องในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมี ความเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผ๎ูอื่น ยอมรับความแตกตํางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทัง้ สังคมพหุวฒั นธรรม กลยุทธ์ท่ี 2 สงํ เสริมและสนับสนนุ การดาเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเกี่ยวเน่ืองจาก ราชวงศ์ กลยุทธท์ ี่ 3 จัดทาฐานข๎อมลู โครงการและกจิ กรรมของ กศน.ทส่ี นองงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริหรือ โครงการอนั เก่ียวเนือ่ งจากราชวงศท์ ีส่ ามารถนาไปใช๎ในการวางแผน การตดิ ตามประเมนิ ผลและการพฒั นางานได๎อยาํ งมี ประสิทธิภาพ กลยุทธท์ ี่ 4 สงํ เสริมการสร๎างเครือขํายการดาเนนิ งานเพ่ือสนับสนนุ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ เพื่อใหเ๎ กิด ความเขม๎ แขง็ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2: การพัฒนากาลังคน การวิจัย และสร้างนวตั กรรม เพ่อื พัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน กลยุทธ์ท่ี 1 ขับเคลอื่ น กศน.อาเภอ และกศน.ตาบล สํู “Smart ONIE” ในการจดั การศึกษาและการเรยี นร๎ูที่ เสริมสร๎างศักยภาพของประชาชนให๎สอดคลอ๎ งกับการพัฒนาประเทศ แนวทางการดาเนนิ งาน 1.1 พฒั นาความรู๎ความสามารถ ทักษะการใช๎ภาษาอังกฤษของครแู ละบุคลากร และขยายผลไปยังการพฒั นาทกั ษะ ภาษาอังกฤษของประชาชนในรูปแบบตาํ งๆ อยาํ งเป็นรปู ธรรม 1.2 พฒั นาทกั ษะการใช๎ Social Media เพื่อการจดั การเรียนการสอน ของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 1.3 พัฒนาระบบเชื่อมโยงฐานข๎อมูลด๎านการศึกษาของ กศน.ตาบล อาเภอ จังหวัด กับระบบฐานข๎อมูลกลางของ สานักงาน กศน. เพอื่ การบรหิ ารจดั การและบรู ณาการขอ๎ มูลของประชาชนอยํางเปน็ ระบบ กลยุทธ์ที่ 2พัฒนากาลังคนให๎เป็น “Smart DigitalPersons (SDPs)” ทมี่ ีทักษะด๎านดจิ ทิ ัล แนวทางการดาเนนิ งาน 2.1 พัฒนาความรู๎และทักษะด๎าน Digital ให๎กับครูและบุคลากร กศน.อาเภอยางตลาด และกศน.ตาบลในการใช๎ เทคโนโลยเี พ่ือการจดั การเรียนการสอน

๑๘ 2.2 สํงเสรมิ การจัดการเรยี นรูด๎ ๎าน Digital เพ่อื ให๎ประชาชนมีความรู๎พ้ืนฐานด๎านDigital และความร๎เู ร่ืองกฎหมาย วาํ ดว๎ ยการกระทาความผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ สาหรับการใชป๎ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวัน รวมทัง้ การพัฒนาและ การเข๎าสํูอาชีพ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 3: การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพคนให้มีคุณภาพ กลยทุ ธ์ท่ี 1 เตรียมความพรอ๎ มการเขา๎ สูสํ ังคมผู๎สงู อายุอยาํ งมคี ุณภาพ (SmartAging Society) แนวทางการดาเนนิ งาน 1.1 สํงเสริมการจัดกิจกรรมให๎กับประชาชนเพื่อสร๎างตระหนักถึงการเตรียมพร๎อมเข๎าสํูสังคมผ๎ูสูงอายุ ( Ageing Society) มีความเข๎าใจในพัฒนาการของชํวงวัย รวมท้ังเรียนร๎ูและมีสํวนรํวมในการดูแลรับผิดชอบผ๎ูสูงอายุใน ครอบครวั และชุมชน 1.2 พฒั นาการจดั บรกิ ารการศึกษาและการเรียนร๎ูสาหรบั ประชาชนในการเตรยี มความพร๎อมเข๎าสูํวัยสูงอายุท่ีเหมาะสม และมีคุณภาพภายใต๎แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให๎ สามารถดแู ลตนเองท้งั สขุ ภาพกายและสุขภาพจิต และร๎ูจักใชป๎ ระโยชน์จากเทคโนโลยี กลยุทธ์ที่ 2 สงํ เสริมการจัดการเรียนรูด๎ ๎านเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรอ่ื ง) แนวทางการดาเนินงาน 2.1สงํ เสรมิ การใชเ๎ ทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมในการจัดกระบวนการเรยี นรู๎ดา๎ นเกษตรกรรม 2.2สร๎างชํองทางการจาหนํายสนิ คา๎ เพ่ือเพิ่มมูลคําสินค๎าทางการเกษตรโดยตระหนกั ถึงคุณภาพของผลผลิตความ ปลอดภยั ตอํ ระบบนิเวศน์ ชมุ ชน และผ๎ูบริโภค กลยุทธท์ ่ี 3 สงํ เสริมใหม๎ ีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศกึ ษา” (STEM Education) สาหรับนักศึกษาและ ประชาชน โดยบูรณาการการจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการศึกษาอาชีพผาํ นโครงงานและกิจกรรมตํางๆ กลยทุ ธ์ท่ี 4 เพิ่มอตั ราการอํานของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมสํงเสริมการอํานในรูปแบบตํางๆ กลยุทธ์ท่ี 5 ศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน สํู “วิสาหกิจชุมชน : ชมุ ชนพึ่งตนเอง ทาได๎ ขายเปน็ ” แนวทางการดาเนนิ งาน 5.1 จดั การศกึ ษาอาชพี และสงํ เสรมิ อาชพี ทีส่ อดคล๎องกบั ศักยภาพของชุมชน และความตอ๎ งการของตลาด รวมทั้ง สรา๎ งเครอื ขาํ ยการรวมกลุํมในลักษณะวิสาหกจิ ชมุ ชน สรา๎ งรายไดใ๎ หก๎ บั ชมุ ชน ใหช๎ มุ ชนพง่ึ พาตนเองได๎ 5.2 สํงเสริมการใช๎เทคโนโลยีในการสร๎างมูลคําเพิ่มให๎กับสินค๎า การทาชํองทางเผยแพรํและจาหนํายผลิตภัณฑ์ ของวิสาหกจิ ชุมชนให๎เป็นระบบครบวงจร กลยุทธท์ ่ี 6. จดั กระบวนการเรียนร๎ูตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสํูการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอยํางยง่ั ยนื 6.1 สํงเสริมให๎มีการบูรณาการระหวํางแหลํงเรียนรู๎ และ กศน.อาเภอ ในการจัดกระบวนการเรียนรู๎ตามแนวทาง เกษตรธรรมชาติสกูํ ารพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมให๎กับประชาชน ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา กลยุทธ์ท่ี 1. จัดการศึกษาระบบคูปองการศึกษามาใช๎เพื่อสร๎างโอกาสในการเข๎าถึงบริการการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั ท่สี อดคลอ๎ งกบั ความต๎องการของประชาชนผรู๎ ับบริการ

๑๙ กลยุทธ์ท่ี 2. จัดการเรียนร๎ูในรูปแบบ E-learning MOOC ท่ีใช๎ระบบเทคโนโลยีเข๎ามาบริหารจัดการเรียนร๎ู เพ่ือ เป็นการสร๎างและขยายโอกาสในการเรียนร๎ูให๎กับกลํุมเปูาหมายได๎สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความต๎องการของ ประชาชนผร๎ู ับบริการ กลยทุ ธท์ ่ี 3. เพ่ิมอัตราการรู๎หนังสอื และยกระดับการรห๎ู นังสอื ของประชาชน แนวทางการดาเนินงาน 3.1 จดั การศึกษาเพอ่ื เพิ่มอตั ราการรู๎หนังสอื และคงสภาพการรู๎หนงั สอื ใหป๎ ระชาชน 3.2 ยกระดับการรหู๎ นังสือของประชาชน โดยจดั กจิ กรรมพัฒนาทักษะการรหู๎ นังสอื ในรปู แบบตํางๆ รวมทั้งทกั ษะ ด๎านเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอ่ื เป็นเคร่ืองมอื ในการเรียนรตู๎ ลอดชีวิตของประชาชน กลยุทธท์ ี่ 4. พลิกโฉม กศน. ตาบล สํู “กศน.ตาบล 4 G” แนวทางการดาเนนิ งาน 4.1 พฒั นาครู กศน.และบุคลากรที่เก่ียวข๎องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู๎: Good Teacherให๎เป็น ตวั กลางในการเชอ่ื มโยงความร๎ูกับผ๎ูรับบริการ มีความเป็น“ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู๎และทันตํอการ เปล่ียนแปลงของสังคม เป็นผ๎ูจัดกิจกรรมการเรียนร๎ูและบริหารจัดการความร๎ูที่ดี รวมท้ังเป็นผู๎ปฏิบัติงานอยํางมี ความสุข 4.2 พัฒนา กศน.ตาบล ให๎มีบรรยากาศและสภาพแวดล๎อมเอื้อตํอการเรียนรู๎อยํางตํอเนื่อง : Good Place Best Check-Inมีความพร๎อมในการให๎บริการการศึกษาและการเรียนรู๎ มีส่ิงอานวยความสะดวก เป็นแหลํงข๎อมูล สาธารณะท่ีงํายตํอการเข๎าถึง และสะดวกตํอการเรียนรู๎ตลอดชีวิตอยํางสร๎างสรรค์ ดึงดูดความสนใจ และมีความ ปลอดภัยสาหรับผู๎รบั บรกิ าร 4.3 จัดกจิ กรรมการเรยี นรู๎ภายใน กศน.ตาบล: Good Activitiesใหม๎ คี วามหลากหลาย นาํ สนใจ ตอบสนองความต๎องการ ของชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู๎ของประชาชนรวมทั้งเปิดโอกาสให๎ชุมชนเข๎ามาจัดกิจกรรมเพื่อเชื่อมโยง ความสัมพนั ธข์ องคนในชุมชน 4.4 เสริมสร๎างความรํวมมือกับภาคีเครือขํายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น และการมีสํวน รํวมของชุมชน: Good Partnershipเพ่ือสร๎างความรู๎ความเข๎าใจและความรํวมมือในการสํงเสริม สนับสนุน และ จัดการศกึ ษาและการเรียนร๎ูใหก๎ ับประชาชนอยาํ งมีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5. การส่งเสรมิ และจดั การศึกษาเพื่อเสริมสร้างคณุ ภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม กลยุทธ์ที่ 1. สร๎างความตระหนกั ถงึ ความสาคัญของการสร๎างสังคมสเี ขยี ว การกาจดั ขยะและมลพิษในเขตชมุ ชน กลยุทธ์ที่ 2. สงํ เสริมให๎หนวํ ยงานและสถานศึกษาใช๎พลงั งานทเ่ี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล๎อมรวมทั้งลดการใช๎ทรัพยากรท่ี สํงผลกระทบตํอส่ิงแวดล๎อม ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 6. การพัฒนาประสิทธภิ าพระบบบริหารจดั การ กลยทุ ธท์ ่ี 1 พัฒนาระบบฐานข๎อมูลสารสนเทศดา๎ นการศกึ ษาเพ่ือการบรหิ ารจดั การอยาํ งเป็นระบบ กลยุทธ์ที่ 2 ใช๎ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เชํน ระบบการสํงหนังสือราชการ ระหวาํ ง กศน.อาเภอยางตลาด และสานกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสินธ์ุ

๒๐ กลยทุ ธท์ ่ี 3 สงํ เสริมและสนับสนนุ ใหบ๎ ุคลากรไดร๎ ับการพัฒนาบุคลากรให๎มีความรู๎ ทักษะและสมรรถนะที่สงู ข้ึน อยํางตํอเน่ือง ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 7. การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 1การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน แนวทางการดาเนินงาน 1) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให๎กับกลุํมเปูาหมายผู๎ด๎อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการให๎บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผํานการเรียนแบบเรียนร๎ูด๎วย ตนเอง การพบกลมุํ การเรียนแบบช้ันเรยี น และการจดั การศึกษาทางไกล 2) จดั ให๎มกี ารประเมนิ เพือ่ เทยี บระดบั การศกึ ษา และการเทยี บโอนความร๎ูและประสบการณ์ท่มี ีความโปรงํ ใส ยตุ ธิ รรม ตรวจสอบได๎ มมี าตรฐานตามทกี่ าหนด และสามารถตอบสนองความต๎องการของกลํมุ เปูาหมายได๎อยํางมีประสิทธภิ าพ 3) จัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ๎ูเรียน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต เพื่อใหผ๎ ู๎เรียนต๎องเรียนรูด๎ าเนินกิจกรรมเสริมสร๎าง ความสามัคคี ปูองกนั และแก๎ไขปญั หายาเสพติด บาเพ็ญสาธารณประโยชน์อยํางตํอเนื่อง และสํงเสริมการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เชํน กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิต อาสา การจัดตงั้ ชมรม/ชุมนุม และเปิดโอกาสให๎ผ๎ูเรยี นนากจิ กรรมการบาเพ็ญประโยชน์อื่นๆนอกหลกั สูตร มาใช๎เพ่ิม ช่ัวโมงกิจกรรมให๎ผ๎ูเรียนจบตามหลักสตู รได๎ 5) จัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มอัตราการร๎ูหนังสือให๎คนไทยให๎สามารถอํานออกเขียนได๎ โดยใช๎หลักสูตรการรู๎หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ของสานักงาน กศน. และสื่อที่เหมาะสมกับสภาพและพ้ืนที่ของกลมํุ เปูาหมาย กลยุทธ์ท่ี 2 การศึกษาต่อเนอื่ ง แนวทางการดาเนินงาน 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอยํางยั่งยืน โดยให๎ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา และ อาชพี ที่สอดคล๎องกบั ศักยภาพของผ๎เู รียนและศักยภาพของแตํละพืน้ ท่ี 2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ ใหก๎ ับทุกกลุํมเปูาหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษาในรูปแบบตาํ งๆ อาทิ คําย พัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การสํงเสรมิ ความสามารถพิเศษตาํ งๆ ที่มํุงเน๎นให๎ทุกกลํุมเปูาหมายมีความร๎ู ความสามารถในการบริหารจดั การชวี ิตของตนเองให๎อยํูในสังคมได๎อยํางมีความสุข มคี ุณธรรมจริยธรรม รวมทงั้ สามารถ ใชเ๎ วลาวาํ งให๎เป็นประโยชน์ตํอตนเอง ครอบครัว และชุมชน 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช๎หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู๎แบบบูรณาการในรูปแบบ ของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนร๎ู การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร๎างชุมชนนัก ปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุํมเปูาหมาย และบริบทของชุมชนแตํละพ้ืนท่ี โดยเน๎นการดาเนินตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสร๎างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การบาเพ็ญประโยชน์ การอนรุ กั ษ์พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล๎อม 4) จดั การเรียนร๎เู พ่ือสร๎างจิตสานึกและวินัยในชุมชน เชนํ การสํงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในชุมชน การเพิ่ม ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน การจัดกิจกรรมจติ อาสาศูนยเ์ รียนร๎ูหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมํประจาตาบล

๒๑ กลยุทธท์ ี่ 3 การศึกษาตามอธั ยาศัย แนวทางการดาเนนิ งาน 1) จดั กจิ กรรมสงํ เสริมให๎มีการพัฒนาแหลํงการเรียนรู๎ในระดับตาบล เพื่อการถํายทอดองค์ความร๎ู และจัดกิจกรรมเพื่อ เผยแพรํองค์ความร๎ูในชุมชนได๎อยํางทั่วถึง 2) จดั กิจกรรมสงํ เสริมการเรียนร๎ูเพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอําน และพัฒนาความสามารถในการอํานและศักยภาพการ เรยี นรขู๎ องประชาชนทุกกลุํมเปูาหมาย 3) สรา๎ งบรรยากาศ และสงิ่ แวดล๎อมท่เี อื้อตํอการอํานใหเ๎ กิดข้ึนในสังคมไทย โดยสนับสนุนการพฒั นาแหลํงการเรียนร๎ูให๎ เกิดข้ึนอยาํ งกว๎างขวางและทว่ั ถึง เชํน พฒั นาห๎องสมุดประชาชนทุกแหงํ ให๎เป็นแหลํงเรยี นรู๎ตลอดชีวติ ของชุมชน สงํ เสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสํงเสริมการอําน การสร๎างเครือขํายสงํ เสริมการอําน จดั หนํวยบริการเคลื่อนท่ีพร๎อม อุปกรณ์เพื่อสํงเสรมิ การอํานและการเรยี นร๎ทู ่ีหลากหลายออกใหบ๎ ริการประชาชนในพน้ื ทตี่ ํางๆ อยาํ งท่ัวถึง สม่าเสมอ รวมทง้ั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชใ๎ นการสร๎างกระบวนการเรยี นรู๎ด๎วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) เสริมสร๎างความพร๎อมในด๎านส่ืออุปกรณ์เพ่ือสนบั สนุนการอาํ น และการจัดกิจกรรมเพ่ือสํงเสรมิ การอํานอยําง หลากหลาย ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่8 การจัดกระบวนการเรยี นรู้ หลกั สูตร สื่อรูปแบบการจัดการเรียน การสอน การวัดและประเมินผลงานบริการทางวิชาการ และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู๎และกิจกรรมเพื่อสํงเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตรท๎องถ่ินท่ีสอดคล๎องกับสภาพบริบทของพื้นที่ และความ ต๎องการของกลํมุ เปูาหมายและชุมชน กลยุทธท์ ี่ 2 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทยี บระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความร๎ูและประสบการณ์ให๎มี คุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต๎องการของกลุมํ เปูาหมายได๎อยํางมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนา ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ที่เอ้ือตํอการเรียนรข๎ู องผ๎ูเรยี นกลุํมเปาู หมายท่ัวไปเผยแพรํการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผาํ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบออนไลน์ เพื่อ สํงเสริมให๎ครู กศน. นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมาใช๎ในการสร๎างกระบวนการเรียนรดู๎ ๎วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) กลยุทธ์ที่ 4 สํงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนร๎ู การวัดและ ประเมินผล และเผยแพรํรูปแบบการจัด สํงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพอื่ ใหม๎ กี ารนาไปสํูการปฏบิ ัติอยํางกวา๎ งขวางและมีการพฒั นาให๎เหมาะสมกับบริบทอยาํ งตํอเนื่อง กลยทุ ธ์ที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให๎ได๎มาตรฐาน เพ่ือพร๎อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให๎มีความร๎ู ความเข๎าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได๎อยาํ งตํอเน่ืองโดยใช๎การประเมินภายในดว๎ ยตนเอง

๒๒ งบดาเนินงาน แผนงาน : พ้นื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ผลผลิตท่ี 4 : ผรู้ ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ 1.1 การจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง 1.1.1 กจิ กรรมส่งเสริมการรู้หนงั สือ เปา้ หมาย 14 คน ผล 40 คน 1) ผลการขับเคลื่อนนโยบาย กศน.ตาบลยางตลาด ในไตรมาส 1 -2 (1 ตุลาคม 2563 – 31 มนี าคม2564) ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ดาเนนิ การจดั กิจกรรมสํงเสรมิ การร๎หู นังสือให๎กบั ประชาชนกลํุมเปูาหมายผไ๎ู มรํ ู๎หนังสือ/ผล๎ู ืมหนงั สือ ในพื้นทต่ี าบลยางตลาดมอบหมายใหค๎ รูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี นเป็นผ๎รู ับผิดชอบการดาเนินงานจดั ทา แผนการเรียนรตู๎ ามโครงสรา๎ งหลกั สูตรที่กาหนด 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ ปญั หาผ๎ูรบั ผดิ ชอบการดาเนนิ งานจดั ทาแผนการเรียนร๎ู ยังขาดความรู๎ความสามารถในการออกแบบ เครอ่ื งมอื ในการวดั ผลและประเมินผล และการจดั ทาสื่อการเรียนรูด๎ ิจิทลั อุปสรรคผเ๎ู รียนมคี วามรเ๎ู ดิมไมเํ ทํากนั บางคนไมํเคยเรียน หรอื ท้งิ หนงั สือมานานทาให๎ครูผส๎ู อนต๎อง จัดการเรยี นรู๎หลากหลายรูปแบบ เพื่อใหผ๎ เ๎ู รยี นมีความรตู๎ ามหลกั สตู ร ขอ้ เสนอแนะ ผส๎ู งู อายสุ วํ นใหญไํ มํเหน็ ดว๎ ยกับการใชค๎ าวําผ๎ูไมรํ ๎ูหนังสอื ขอให๎เปลยี่ นใชเ๎ ป็นผ๎ูลมื หนังสือ และควรมีการพฒั นาครผู ู๎สอนในการออกแบบเครอื่ งมอื วัดผลและประเมนิ ผลการรห๎ู นังสอื และส่ือดจิ ิทลั 3) ปจั จัยความสาเร็จ การจดั กจิ กรรมสํงเสริมการร๎ูหนังสอื สาหรับผ๎ูไมํรหู๎ นงั สอื ลมื หนังสือ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอยางตลาดได๎ให๎การสนบั สนนุ ในการจดั กิจกรรมสํงเสรมิ การรูห๎ นงั สือสาหรบั ผู๎ไมรํ หู๎ นงั สือและไดร๎ บั ความรํวมมอื จากหนวํ ยงานภาคีเครือขาํ ยในการจัดกจิ กรรมเปน็ อยํางดีในทุกครั้งที่มกี ารพบ กลุมํ จดั กจิ กรรม และครผู ู๎สอนเป็นผู๎ท่มี คี วามร๎ูความสามารถในการจดั กระบวนการเรียนร๎ทู าให๎เกิดประโยชนส์ งู สุด ตํอกลุํมเปูาหมาย 4) ภาพประกอบกิจกรรม

๒๓ 1.1.2 กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ เป้าหมาย 24 คน ผลการดาเนินงาน 24 คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย กศน.ตาบลยางตลาดเป็นสถานศกึ ษาทจี่ ดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เพ่ือสงํ เสริม การเรยี นร๎ูตลอดชีวิต ดาเนินการจดั กจิ กรรมโครงการท่ี สงํ เสริมการพฒั นาสุขภาวะของประชาชนทกุ วัย โดยการ สร๎างความรูค๎ วามเข๎าใจ การสนับสนนุ กิจกรรมสุขภาวะ เตรียมความพร๎อมการเข๎าสูสํ งั คมผูส๎ ูงอายทุ มี่ ีความ เหมาะสมและมีคุณภาพ จานวน 2 โครงการ คือ 1.โครงการจดั การและสงํ เสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ิตเพือ่ คง พัฒนาการทางกายและจิตและสมองของผส๎ู ูงอายุ และโครงการสงํ เสรมิ สุขภาวะทดี่ ีและมีสุนทรยี ภาพสาหรบั ผส๎ู ูงอายโุ ดยใช๎สอ่ื ดิจทิ ัล 2) ปัญหา / อปุ สรรค / ข้อเสนอแนะ ปญั หา บางกิจกรรมของโครงการ ผเ๎ู ข๎ารํวมโครงการซง่ึ เป็นผูส๎ ูงอายุไมสํ ามารถรํวมกิจกรรมได๎เตม็ ท่ี เพราะมีปญั หาด๎านสุขภาพ อุปสรรค ผ๎ูสงู อายุมีความสนใจท่หี ลากหลาย ไมสํ ามารถตอบสนองตํอความต๎องการของกลุํมเปาู หมายได๎ ทุกเรือ่ งเน่อื งจากมีงบประมาณจาจดั ขอ๎ เสนอแนะ ปรบั ปรงุ เน้อื หากจิ กรรมให๎เหมาะสมกับกลุมํ ผ๎ูสงู อายุท่มี ีปัญหาเรอ่ื งสุขภาพ 3) ปจั จัยความสาเรจ็ ผสู๎ งู อายุท่ีเข๎ารวํ มโครงการได๎รับการพฒั นาจนจบหลักสูตร มคี วามรค๎ู วามเขา๎ ใจ เจตคติท่ีดี และทักษะท่ี จาเป็นสาหรับการดารงชีวติ ในสงั คมปจั จบุ นั ไปใช๎ในการดาเนินชีวติ ได๎อยํางมีประสทิ ธภิ าพ และเตรยี มพร๎อม สาหรับการปรบั ตวั ใหท๎ ันตํอการเปลย่ี นแปลงข๎อมูลขาํ วสารเทคโนโลยดี ิจทิ ัล 4) ภาพประกอบกจิ กรรม โครงการส่งเสรมิ สุขภาวะท่ีดีและมสี ุนทรยี ภาพ โครงการการจัดการและส่งเสรมิ การจดั สาหรบั ผสู้ ูงอายโุ ดยใช้สอ่ื ดจิ ทิ ัล การศกึ ษาตลอดชีวิต เพือ่ คงพัฒนาการทางกาย และจติ และสมองของผสู้ งู อายุ

๒๔ 1.1.3 กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน เป้าหมาย 19 คน ผลการดาเนนิ งาน 19 คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย กศน.ตาบลยางตลาด ได๎จัดประชุมช้ีแจงแนวทางการดาเนินงานให๎กับภารกิจตํอเนื่อง การศึกษาตํอเน่ือง จัดการศกึ ษาตํอเนื่องเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช๎หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนร๎ูแบบบูรณาการใน รูปแบบการฝึกอบรมท่ีเหมาะสมกับกลุํมเปูาหมายและบริบทของชุมชนแตํละพ้ืนท่ี โดยจัดกระบวนการให๎บุคคล รวมกลุมํ เพื่อแลกเปลยี่ นเรยี นร๎ูรวํ มกัน สรา๎ งกระบวนการจติ สาธารณะ การสงํ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม การบาเพ็ญ ประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการขยะมูลฝอย การรักษาสิ่งแวดล๎อมในชุมชนPM2.5 ดาเนินการจัดโครงการ สํงเสริมการเรียนรู๎ด๎านเทคโนโลยีดิจิทัล (โคก หนอง นา โมเดล) กลํุมเปูาหมายประชาชนในเขตพื้นที่ตาบลยาง ตลาด จานวน 17 คน ระหวาํ งวันท่ี 9 – 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 2) ปัญหา / อปุ สรรค / ขอ้ เสนอแนะ ผูเ๎ ข๎ารับการอบรมโครงการ มีชวํ งอายุที่แตกตาํ งกัน ทาใหม๎ ีพ้นื ฐานและความสามารถในการเรยี นรู๎และการทา กิจกรรมในด๎านตําง ๆ ไมเํ ทาํ กัน ทาให๎กระบวนการเรยี นรู๎ ต๎องใชเ๎ วลาและกระบวนการจดั กจิ กรรม ควรมีการจัด กจิ กรรมให๎เหมาะสม 3) ปจั จัยความสาเรจ็ การดาเนินการจัดกิจกรรมได๎รบั การสนบั สนนุ จากภาคีเครือขําย ในการใช๎สถานท่ี วสั ดุ และอปุ กรณ์ แหลงํ เรียนร๎ู วทิ ยากรเป็นผมู๎ คี วามร๎ู ความสามารถในการถํายทอดความร๎ู กลุมํ เปูาหมายให๎ความรํวมมอื ในการจัดกจิ กรรม 4) ภาพประกอบกิจกรรม โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรดู้ ้านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (โคก หนอง นา โมเดล) ระหวา่ งวนั ที่ 9 – 10 กมุ ภาพันธ์ 2564

๒๕ 1.1.4 กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมาย 7 คน ผล 7 คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย กศน.ตาบลยางตลาด จดั การศึกษาตํอเน่ืองการจดั กระบวนการเรียนร๎ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สํงเสรมิ สนบั สนนุ ให๎ประชาชนในพน้ื ท่ีมคี วามร๎ู ความเขา๎ ใจเร่ืองหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความ พอประมาณ ความมีเหตผุ ล การมภี ูมิคมุ๎ กันในตัวทีด่ ี และเสริมสร๎างการปลูกพชื ผกั โดยกระบวนการหลุมพึ่งพิง ให๎กับประชาชนได๎เรียนรด๎ู าเนินการจดั กจิ กรรมโครงการขับเคลอื่ นการขยายผลการจัดกระบวนการเรียนรต๎ู ามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด๎วยกระบวนการ “หลมุ พงึ่ พิง” กลมํุ เปาู หมายประชาชนท่ัวไปในพ้ืนท่ีตาบลยาง ตลาด จานวน 7 คน วันที่ 19 มกราคม 2564 2) ปญั หา / อปุ สรรค / ข้อเสนอแนะ จากสถานการณ์การแพรํระบาดของโรคไวรสั โคโรนา (COVID – 19) ทาให๎กลุํมเปาู หมายมาเข๎ารํวม โครงการน๎อย หรือมารํวมกจิ กรรมได๎ไมํเต็มเวลา กลมํุ เปาู หมายบางสํวนยังไมํสามารถนาองค์ความร๎ูไปปรับใช๎ได๎ อยาํ งตํอเน่ือง ควรมกี ารกากับตดิ ตามการนาองค์ความรู๎ทไ่ี ด๎รบั ไปปรบั ใชใ๎ ห๎เกดิ ประโยชน์ 3) ปจั จัยความสาเร็จ แหลํงเรยี นรู๎ ภาคีเครอื ขาํ ย บุคลากร กศน. เป็นผท๎ู ่ีมีความรู๎ ความสามารถ ความเขา๎ ใจในการถาํ ยทอด องค์ความร๎ใู หก๎ ลํุมเปาู หมายไดเ๎ ป็นอยํางดี 4) ภาพประกอบกจิ กรรม โครงการขับเคล่ือนการขยายผลการจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดว้ ยกระบวนการ “หลมุ พ่งึ พิง) ระหว่างวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564

๒๖ . งบดาเนินงาน แผนงาน : พน้ื ฐานดา๎ นการพัฒนาและเสรมิ สร๎างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ผลผลติ ท่ี 5 : ผรู๎ ับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1.2กจิ กรรมการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย 1.2.1กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน/หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอเปา้ หมาย .........-.......... คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย .......................................................... -...................................................................................... ......... ............................................................................................................................. ............................ 2) ปญั หา / อุปสรรค / ข๎อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ............................ ................................................................................................... ...................................................... 3) ปัจจยั ความสาเรจ็ (ความโดดเดนํ จุดแข็ง นวตั กรรม และเกิดประโยชนห์ รอื ผลกระทบ ทางบวกแกํผูเ๎ รียน อยํางไรบา๎ ง มตี น๎ แบบ หรือแบบอยํางท่ีดีทเี่ กดิ ขน้ึ จากการดาเนินการตามนโยบาย หรอื ไมํอยํางไร) ............................................................-............................................................................................. ..................................................................................................... .................................................... 4) ภาพประกอบกจิ กรรม .............................................................-............................................................................................ ............................................................................................................................. ............................ 1.2.2กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน/ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดเปา้ หมาย .........-.......... คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย ........................................................-................................................................................................. ......................................................................................................................................................... 2) ปัญหา / อปุ สรรค / ข๎อเสนอแนะ ........................................................ -..................................................................................... ............ ............................................................................................................................. ............................ 3) ปัจจัยความสาเรจ็ (ความโดดเดนํ จุดแขง็ นวตั กรรม และเกิดประโยชน์หรือผลกระทบ ทางบวกแกผํ ๎เู รยี น อยาํ งไรบ๎าง มีต๎นแบบ หรือแบบอยาํ งที่ดีที่เกดิ ขึ้นจากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรอื ไมํอยํางไร) ............................................................ -.................................................................................. ........... ............................................................................................................................. ............................ 4) ภาพประกอบกจิ กรรม .........................................................-................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................

๒๗ 1.2.2กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน/ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ เป้าหมาย .........-.......... คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย ..........................................................-............................................................................................... ............................................................................................................................. ............................ 2) ปญั หา / อปุ สรรค / ข๎อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ............................ ................................................................................................... ...................................................... 3) ปจั จยั ความสาเรจ็ (ความโดดเดนํ จุดแข็ง นวตั กรรม และเกิดประโยชน์หรอื ผลกระทบ ทางบวกแกผํ เ๎ู รยี น อยาํ งไรบ๎าง มีตน๎ แบบ หรอื แบบอยํางที่ดีท่เี กิดขึ้นจากการดาเนินการตามนโยบาย หรอื ไมํอยาํ งไร) ............................................................-............................................................................................. ..................................................................................................... .................................................... 4) ภาพประกอบกิจกรรม .............................................................-............................................................................................ ............................................................................................................................. ............................ 1.2.2กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวัดเปา้ หมาย .........-.......... คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย ........................................................-................................................................................................. ......................................................................................................................................................... 2) ปัญหา / อุปสรรค / ขอ๎ เสนอแนะ ........................................................ -..................................................................................... ............ ............................................................................................................................. ............................ 3) ปจั จัยความสาเร็จ (ความโดดเดนํ จดุ แข็ง นวัตกรรม และเกดิ ประโยชน์หรือผลกระทบ ทางบวกแกผํ ๎ูเรียน อยํางไรบา๎ ง มีตน๎ แบบ หรือแบบอยํางที่ดีท่เี กดิ ขึน้ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรอื ไมํอยํางไร) ............................................................ -.................................................................................. ........... ............................................................................................................................. ............................ 4) ภาพประกอบกิจกรรม .........................................................-................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................

๒๘ 1.2.3 กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน/ห้องสมดุ เฉลิมราชกุมารี เปา้ หมาย 75 คน ผล 326 คน 1) ผลการขบั เคลอื่ นนโยบาย การที่จะทาใหน๎ โยบายสํงเสริมการอํานของไทยประสบผลสาเรจ็ จะตอ๎ งอาศัยความตํอเนอื่ งและจริงจงั จากภาครฐั เปน็ ตวั ขบั เคล่ือนในทกุ มิตทิ กุ ระดบั และจาเปน็ ตอ๎ งดาเนนิ การไปพร๎อมๆ กันทั้งระบบ ไมํวาํ จะเป็น ครอบครัว ชมุ ชน โรงเรียน วัด และพอํ แมํ ตอ๎ งเข๎ามบี ทบาทและสํวนรวํ มในการผลักดันให๎การอํานเปน็ นสิ ัยใหมํ ทถ่ี าวรของคนไทย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอยางตลาด ห๎องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี”อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ไดต๎ ระหนักและเล็งเห็นความสาคัญของการดาเนินงาน กจิ กรรมดังกลําวจงึ ไดด๎ าเนนิ การจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน/ห้องสมุดเฉลิมราชกุมารี 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข๎อเสนอแนะ - ควรมสี อ่ื สํงเสริมการอํานท่ีทนั สมยั - มเี ทคโนโลยที ท่ี นั สมัย เชํน แทป็ เลต็ 3) ปจั จยั ความสาเรจ็ (ความโดดเดํน จุดแขง็ นวตั กรรม และเกิดประโยชน์หรือผลกระทบ ทางบวกแกผํ เ๎ู รียน อยาํ งไรบ๎าง มตี น๎ แบบ หรือแบบอยํางท่ีดีทีเ่ กิดขน้ึ จากการดาเนินการตามนโยบายหรือไมอํ ยาํ งไร) ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอยางตลาด สานักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ มี นโยบายใหห๎ ๎องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสินธ์ุและ กศน.ตาบลทุกตาบล สารวจขอ๎ มลู และความต๎องการส่ือและกิจกรรม จดั ทาฐานข๎อมูลบ๎านหนงั สือชมุ ชน ประสานงาน จัดทาแผนการ ดาเนนิ งาน และประชาสมั พันธ์ ให๎คาแนะนา และรํวมจัดกิจกรรมสํงเสรมิ การอาํ นและการเรียนร๎ู สนับสนุนวสั ดุ อปุ กรณ์ สื่อหนังสือ ท่ีให๎ประโยชน์แกผํ ู๎รับบริการ 4) ภาพประกอบกิจกรรม กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ห้องสมดุ เฉลิมราชกุมารี

๒๙ 1.2.4 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น/บ้านหนังสอื ชุมชน เป้าหมาย 1,620 คน ผล 3,411 คน 1) ผลการขับเคล่ือน บ้านหนังสือชุมชน หมายถึงแหล่งการอ่านการจดั กิจกรรมสร้างเสรมิ การอ่านและการเรยี นรู้ที่ เกิดขน้ึ ในชมุ ชน เปน็ สถานท่ีพบปะพูดคุย แลกเปล่ียนความคดิ เห็น สามารถเขา้ ใช้บรกิ ารได้สะดวก มี ความเหมาะสมกบั บรบิ ทของพนื้ ทแี่ ละชุมชน โดยมีเจ้าของบ้าน หรืออาสาสมัคร ทาหนา้ ทีด่ แู ลให้บรกิ าร และจัดกจิ กรรมสร้างเสริมการอ่านและการเรยี นรู้ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตของคนในชุมชน แนวคดิ การดาเนินงานของบ้านหนงั สอื ชุมชน ปัจจบุ ันบา้ นหนงั สอื ชุมชนเป็นการดาเนนิ งานทีเ่ กดิ จากแรงศรทั ธา กาลงั ทรพั ย์ กาลังใจ กาลังกายของ ผ้มู ีจติ อาสา ทาให้บ้านหนังสือชมุ ชนเจรญิ เติบโตไดอ้ ย่างต่อเนือ่ ง และยัง่ ยืน หากแต่เพยี งลาพังของผู้มจี ติ อาสาอาจจะไมส่ ามารถดาเนินการเองได้ทกุ เร่ือง จะมีบรรณารักษ์/เจ้าหน้าทหี่ ้องสมดุ ครอู าสาสมัคร การศึกษานอกโรงเรยี น ครู กศน.ใหข้ ้อเสนอแนะหรือประสานขอความรว่ มมือจากชุมชนจัดกิจกรรม สง่ เสริมการอ่านการเรียนรู้เพือ่ กระตนุ้ การอา่ น และยงั ไดร้ บั การบรจิ าคหนงั สือและนาหนงั สือที่ บรจิ าคหมุนเวียนไปยังบา้ นหนังสือทกี่ ระจายอย่ตู ามตาบลนนั้ ๆ 2) ปญั หา / อปุ สรรค / ขอ้ เสนอแนะ - .บา๎ นหนงั สือชุมชนยังขาดเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั เชนํ อนิ เทอร์เน็ตที่มี Wifiที่เสถียร - การหมนุ เวียนส่อื ทีไ่ มเํ ปน็ ปัจจบุ นั ตามแผนทีว่ างไว๎ - โต๏ะ เกา๎ อยี้ งั ไมํเพียงพอ ขอ๎ เสนอแนะ - อินเทอร์เนต็ 3) ปัจจัยความสาเรจ็ (ความโดดเด่น จุดแข็ง นวัตกรรม และเกิดประโยชน์หรือผลกระทบ ทางบวกแกํผูเ๎ รยี น อยํางไรบ๎าง มีตน๎ แบบ หรอื แบบอยํางท่ีดีทเ่ี กดิ ข้ึนจากการดาเนินการตามนโยบาย หรอื ไมํอยาํ งไร) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอยางตลาด สานกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ มีนโยบายให๎ห๎องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุและ กศน.ตาบลทกุ ตาบล สารวจข๎อมูลและความต๎องการของชุมชน จดั ทาฐานข๎อมูลบา๎ นหนังสือชุมชน ประสานงาน จัดทาแผนการ ดาเนนิ งาน และประชาสมั พนั ธ์ ให๎คาแนะนา และรวํ มจัดกิจกรรมสํงเสรมิ การอํานและการเรียนร๎ู สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ สื่อหนงั สอื หมนุ เวียนสอ่ื ให๎ กศน ตาบล นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล ทาใหเ๎ กดิ ประโยชน์หรอื ผลกระทบทางบวกแกผํ ู๎รับบรกิ าร เชนํ ผู๎รบั บรกิ ารบ๎านหนังสือชุมชนทุกชวํ งวัยนาความรู๎ จากการอาํ นไปปรับใชใ๎ นชวี ติ ประจาวนั นักเรียน นกั ศึกษา ศกึ ษาสืบค๎นข๎อมลู จากสือหนังสือเพ่ือทารายงานสงํ ครู และใช๎เวลาวาํ งให๎เกดิ ประโยชน์ ผู๎สงู วัยและประชาชนท่ัวไปได๎รบั ความรแู๎ ละทักษะในการเรยี นรกู๎ จิ กรรม DIY ทา ไดใ๎ ห๎เลย เชํนการทาเหรียญโปรยทานจากรบิ บิน้ การทาธุงอิสานสามมิติ ผ๎รู บั บริการสามารถนาไปตํอยอดทาใชเ๎ อง ทาจาหนํายสรา๎ งรายได๎เสรมิ เป็นต๎น

๓๐ 4) ภาพประกอบกจิ กรรม กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านบา้ นหนงั สอื ชมุ ชนตาบลยางตลาด

๓๑ 1.2.5 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น/หนว่ ยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) เป้าหมาย 50 คน ผล 65 คน ๑. ผลการขับเคล่ือน สงั คมไทยในปัจจบุ ันอยากเหน็ เด็กและเยาวชนไทย ตลอดจนคนในชาติ รักการอาํ นในทกุ รูปแบบและใชก๎ ารอําน พัฒนาขดี ความสามารถของตนอนั จะสงํ ผลตํอการยกระดบั ความสามารถในการแขํงขนั ของชาติ ซงึ่ เปน็ ความ จาเป็นในการพฒั นาชาติไทยสํูเวทีโลก รัฐบาลจงึ กาหนดนโยบายสงํ เสรมิ การอํานเป็น “วาระแหงํ ชาติขน้ึ มอบให๎ กระทรวงศึกษาธิการเป็นแกนกลางประสานงานเพื่อดาเนินการขับเคล่ือน การอาํ นเปน็ วาระแหงํ ชาติ ซึ่ง สอดคล๎องกับนโยบายเรํงดํวน ด๎านการศกึ ษาตามอัธยาศัยของ กศน จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ และ กศน.อาเภอ เพ่ือ ขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์สํงเสรมิ การอําน เพือ่ สร๎างสงั คมแหํงการเรียนรต๎ู ลอดชีวติ ให๎บงั เกิดผลอยํางเป็นรปู ธรรม ดงั นั้น การท่ีจะทาให๎นโยบายสํงเสรมิ การอาํ นของไทยประสบผลสาเรจ็ จะต๎องอาศยั ความตอํ เน่ืองและจริงจัง จากภาครฐั เป็นตัวขับเคลื่อนในทุกมิติทกุ ระดับ และจาเปน็ ตอ๎ งดาเนนิ การไปพร๎อมๆ กนั ท้งั ระบบ ไมวํ าํ จะเป็น ครอบครวั ชมุ ชน โรงเรยี น วัด และพอํ แมํ ตอ๎ งเขา๎ มบี ทบาทและสวํ นรํวมในการผลกั ดนั ใหก๎ ารอํานเป็นนิสัยใหมํ ที่ถาวรของคนไทย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอยางตลาด หอ๎ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ได๎ตระหนกั และเลง็ เห็นความสาคญั ของการดาเนนิ งาน กิจกรรมดงั กลาํ ว จึงจดั รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ “สํงเสริมการอํานเคลื่อนท่ี (รถโมบายเคลือ่ นท)ี่ กศน. อาเภอยางตลาด ณ โรงเรียนชมุ ชนดอนยงู วทิ ยา ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ ในวนั ท่ี ๔ มีนาคม ๒๕๖๔ ๒) ปัญหา / อปุ สรรค / ข้อเสนอแนะ - รถโมบายบรรจคุ นได๎จานวนนอ๎ ย - ควรมสี ่ือสงํ เสรมิ การอํานทที่ ันสมัยเชํนมหี นังสอื สองภาษา มีหนังสือ AR - มเี ทคโนโลยีทที่ นั สมัย เชนํ แท็ปเลต็ ๓) ปจั จยั ความสาเร็จ - เดก็ และเยาวชนไทย ตลอดจนคนในชาติ รกั การอํานในทุกรปู แบบและใชก๎ ารอํานพัฒนาขดี ความสามารถของตนอันจะสงํ ผลตอํ การยกระดบั ความสามารถในการแขงํ ขนั ของชาติ ซ่ึงเป็นความจาเปน็ ในการ พัฒนาชาติไทยสํูเวทโี ลก

๓๒ ๔) ภาพประกอบกจิ กรรม กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านเคลื่อนท่ี (รถโมบายเคลื่อนท่ี) กศน.อาเภอยาง ตลาด ณ โรงเรยี นชุมชนดอนยงู วทิ ยา ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสินธ์ุ ในวันท่ี ๔ มนี าคม ๒๕๖๔

๓๓ 1.2.6 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/อาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ นเปา้ หมาย 1,800 คน ผล 1,800 คน 1) ผลการขับเคลอื่ นนโยบาย ปัจจบุ นั อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่านเปน็ การดาเนนิ งานทเี่ กิดจากแรงศรทั ธา กาลังทรพั ย์ กาลังใจ กาลงั กายของผู้มจี ิตอาสา ทาให้บ้านหนงั สือชุมชนเจรญิ เตบิ โตไดอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง และย่ังยนื หากแต่เพียงลาพังของผู้ มีจติ อาสาอาจจะไมส่ ามารถดาเนนิ การเองไดท้ ุกเร่ือง จะมีบรรณารกั ษ/์ เจา้ หน้าท่ีหอ้ งสมุด ครูอาสาสมคั ร การศึกษานอกโรงเรียน ครู กศน.ให้ขอ้ เสนอแนะหรือประสานขอความร่วมมือจากชุมชนจัดกจิ กรรมสง่ เสริม การอา่ นการเรยี นรูเ้ พอ่ื กระตุ้นการอา่ น และยังไดร้ บั การบริจาคหนงั สือและนาหนงั สือที่ บรจิ าคหมนุ เวยี นไปยังบา้ นหนังสือท่กี ระจายอยู่ตามตาบลน้ันๆ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข๎อเสนอแนะ - สอ่ื สงํ เสรมิ การอํานยงั ไมํทันสมยั - ไมมํ ีสือ่ เทคโนโลยีทที่ นั สมัย 3) ปจั จยั ความสาเร็จ (ความโดดเดํน จุดแขง็ นวตั กรรม และเกดิ ประโยชนห์ รอื ผลกระทบ ทางบวกแกํผเู๎ รยี น อยํางไรบ๎าง มตี น๎ แบบ หรือแบบอยาํ งที่ดที ่เี กดิ ขน้ึ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรือไมํอยาํ งไร) เกดิ จากความร่วมมือจากชมุ ชนจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นการเรียนรเู้ พอ่ื กระตนุ้ การอา่ น และยงั ได้รบั การ บริจาคหนงั สอื และนาหนังสือท่บี ริจาคหมุนเวยี นไปยังบ้านหนังสอื ที่กระจายอยตู่ ามตาบลน้นั ๆ 4) ภาพประกอบกิจกรรม กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน/อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่านตาบลยางตลาด

๓๔ 1.2.7กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน/หอ้ งสมุดเคล่ือนทส่ี าหรับชาวตลาดฯเป้าหมาย .......-....... คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย .................................................................-........................................................................................ ............................................................................................................................. ............................ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข๎อเสนอแนะ .................................................................-........................................................................................ ............................................................................................................................. ............................ 3) ปัจจยั ความสาเร็จ (ความโดดเดนํ จดุ แข็ง นวตั กรรม และเกดิ ประโยชนห์ รือผลกระทบ ทางบวกแกํผูเ๎ รียน อยํางไรบา๎ ง มตี น๎ แบบ หรือแบบอยํางที่ดีท่เี กิดขึน้ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรือไมํอยํางไร) .................................................................-........................................................................................ ............................................................................................................................... .......................... 4) ภาพประกอบกจิ กรรม 1.3 กิจกรรมจัดสร้างแหล่งเรยี นรใู้ นระดับตาบล 1.3.1 โครงการ/กิจกรรม ............................-................................. เปา้ หมาย ......-....... คน 1) ผลการขับเคลื่อนนโยบาย ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข๎อเสนอแนะ ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 3) ปจั จยั ความสาเร็จ (ความโดดเดํน จุดแขง็ นวัตกรรม และเกดิ ประโยชนห์ รือผลกระทบ ทางบวกแกผํ เู๎ รยี น อยํางไรบา๎ ง มีต๎นแบบ หรือแบบอยํางที่ดีทีเ่ กิดข้นึ จากการดาเนินการตามนโยบาย หรือไมํอยํางไร) ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 4) ภาพประกอบกิจกรรม ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................

๓๕ งบดาเนินงาน 2.1 การ2จ.ัด1ก.1ารคศา่ึกหษนาังตสั้งอืแเตรร่ ยี ะนดบั เอปน้าบุหามโลาคจยนร.งจ...บก..ก.า..าร..รส.ศ..แน.ึก..ษผับ..านสคขนงนัน้ าพนุ นนื้กฐจิ:ากยนรทุ รธมศจาดัสกตารรส์ ศรึก้าษงคาวระาดมบัเสกมาอรภศากึ คษทาาขงัน้ กพารนื้ ศฐึกาษนา 2.1 การจัดการศกึ ษาต้ังแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 2.1.1 คา่ หนังสอื เรยี น เปา้ หมาย.........-.......คน โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย .........-.......คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 2) ปัญหา / อปุ สรรค / ข๎อเสนอแนะ ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 3) ปัจจัยความสาเรจ็ (ความโดดเดํน จุดแข็ง นวัตกรรม และเกดิ ประโยชนห์ รอื ผลกระทบ ทางบวกแกํผ๎ูเรียน อยาํ งไรบ๎าง มีต๎นแบบ หรือแบบอยํางท่ีดีทเี่ กดิ ข้ึนจากการดาเนินการตามนโยบาย หรือไมํอยํางไร) ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 4) ภาพประกอบกิจกรรม ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................

๓๖ 2.1.2 ค่าจัดการเรยี นการสอน เป้าหมาย ..........-......... คน โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ...........-............ คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข๎อเสนอแนะ ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 3) ปจั จยั ความสาเรจ็ (ความโดดเดํน จดุ แขง็ นวัตกรรม และเกดิ ประโยชน์หรือผลกระทบ ทางบวกแกผํ ู๎เรียน อยาํ งไรบ๎าง มีต๎นแบบ หรือแบบอยํางท่ีดีท่ีเกิดขนึ้ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรือไมํอยาํ งไร) ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 4) ภาพประกอบกิจกรรม ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................

๓๗ 2.1.3 คา่ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน เปา้ หมาย 342 คน ผล 342 คน 1. โครงการพฒั นาวชิ าการเพ่ือเพิ่มผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั ศึกษา กศน. ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน๎ เปาู หมาย 55 คน ผล 55 คน 2. โครงการพัฒนาวชิ าการเพ่ือเพ่ิมผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนกั ศกึ ษา กศน. ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย เปาู หมาย 65 คน ผล 65 คน 3. โครงการติวเขม๎ เพื่อเพ่ิมผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสาหรบั นกั ศึกษา กศน.ประจาภาคเรียนท่ี 2/2563 เปาู หมาย 50 คน ผล 50 คน 4. โครงการฝกึ ทักษะการเรียนรู๎ห๎องเรยี นออนไลน์ในระบบ LMS (Learning Management System) สาหรบั นกั ศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน๎ เปูาหมาย 33 คน ผล 33 คน 5. โครงการฝกึ ทักษะการเรียนร๎ูหอ๎ งเรียนออนไลน์ในระบบ LMS (Learning Management System) สาหรบั นกั ศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เปาู หมาย 65 คน ผล 65 คน 6. โครงการขับเคล่ือนการขยายผลการจัดกระบวนการเรยี นร๎ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งด๎วยกระบวนการ “หลุมพ่งึ พิง” สาหรับนักศกึ ษา กศน. เปูาหมาย 47 คน ผล 47 คน 7. โครงการสํงเสริมการเรยี นร๎ูอนรุ ักษ์สิง่ แวดลอ๎ มสาหรบั นักศึกษา กศน. เปาู หมาย 42 คน ผล 47 คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอยางตลาด จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผ๎ูเรียน ตามนโยบายการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยดาเนินการจัดทาแผนการจัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู๎เรียน ตามกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู๎เรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู๎เรียน ดังนี้ กิจกรรมพัฒนาวิชาการ กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมท่ีแสดงออกถึงความจงรักภักดีตํอสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ กิจกรรมการเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมลูกเสือ กิจก รรมเพ่ือ พฒั นาความรู๎ความสามารถดา๎ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) กจิ กรรมจิตอาสา “เราทาดีด๎วยหัวใจ” จัดทาแผนการ จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ๎ูเรียนด๎านวิชาการ เพ่ือขอความเห็นชอบจากสานักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ และ ดาเนนิ การตามแผนเม่ือได๎รบั การอนมุ ตั ิ และรายงานผลการดาเนนิ การตอํ ผ๎บู รหิ ารเมื่อส้ินสดุ โครงการ 2) ปญั หา / อปุ สรรค / ข้อเสนอแนะ ปญั หา - สถานการณ์การแพรํระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)ทาใหน๎ ักศกึ ษาไมํ สามารถมารํวมกจิ กรรมได๎ อปุ สรรค 1.นกั ศกึ ษาบางสวํ นมีภารกจิ ดา๎ นอาชีพ ครอบครวั ทาใหไ๎ มสํ ามารถเข๎ารวํ มกจิ กรรมได๎ตลอดโครงการ 2. สถานประกอบการที่นักศึกษาทางานบางแหงํ ไมใํ ห๎การสนบั สนนุ ในการเข๎ารํวมกจิ กรรม ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเ๎ู รียนทีห่ ลากหลาย โดยใชแ๎ หลํงเรยี นร๎ู ภมู ปิ ัญญาทั้งในและนอก จังหวัด เพื่อสรา๎ งโอกาสทางการเรียนรู๎ใหก๎ ับผเ๎ู รียน

๓๘ 2. ควรจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผ๎ูเรียนท่ีสอดคล๎องกับสภาพปญั หา สถานการณป์ จั จบุ ัน เพือ่ ใหผ๎ เ๎ู รียน สามารถนาไปใช๎ในชวี ติ ประจาวนั ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม 3) ปัจจัยความสาเร็จ โครงการกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผ๎ูเรยี นมคี วามหลากหลาย ครอบคลุมตามกรอบกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพ ผเ๎ู รยี น ทาใหส๎ ามารถจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู๎เรยี นไดอ๎ ยํางมีประสิทธิภาพใช๎แหลงํ เรียนร๎ู ภูมิปัญญาในชมุ ชนท่ี มีศกั ยภาพในการถาํ ยทอดความร๎ใู ห๎กบั ผ๎เู รียน สามารถนาผู๎เรยี นไปศึกษาเรียนรู๎ได๎ 4) ภาพประกอบกิจกรรม โครงการฝกึ ทักษะการเรยี นรู้หอ้ งเรยี นออนไลน์ในระบบ LMS (Learning Management System) สาหรบั นักศึกษา กศน.ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ โครงการฝกึ ทักษะการเรยี นรู้หอ้ งเรยี นออนไลน์ในระบบ LMS (Learning Management System) สาหรบั นักศึกษา กศน.ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

๓๙ โครงการตวิ เข้มเพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสาหรบั นักศึกษา กศน. ประจาภาคเรยี นที่ 2/2563 โครงการติวเข้มเพ่ือเพิ่มผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสาหรบั นักศึกษา กศน. ประจาภาคเรยี นที่ 2/2563

๔๐ โครงการสง่ เสริมการเรียนรู้อนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มสาหรับนักศึกษา กศน. โครงการพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยกระบวนการหลมุ พ่งึ พิง สาหรับ นักศกึ ษา กศน.

๔๑ โครงการพัฒนาวิชาการเพ่ือเพม่ิ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา กศน. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย โครงการพัฒนาวิชาการเพ่ือเพิม่ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ของนักศึกษา กศน. ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

๔๒ งบรายจ่ายอ่ืน แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเ์ พือ่ สนับสนุนดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ โครงการขับเคลอ่ื นการพัฒนาการศกึ ษาท่ียง่ั ยืน 3.1 กจิ กรรมส่งเสริมศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน 3.1.1กจิ กรรมการศกึ ษาอาชีพ 1 อาเภอ 1 อาชพี เปา้ หมาย ........-........... คน 1) ผลการขบั เคล่ือนนโยบาย ....................................................-..................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................ 2) ปญั หา / อปุ สรรค / ข๎อเสนอแนะ .................................................-........................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................ 3) ปจั จัยความสาเร็จ (ความโดดเดนํ จดุ แข็ง นวตั กรรม และเกิดประโยชนห์ รอื ผลกระทบ ทางบวกแกํผ๎ูเรยี น อยํางไรบ๎าง มตี ๎นแบบ หรอื แบบอยาํ งท่ีดีทเี่ กิดขนึ้ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรือไมํอยาํ งไร) .................................................-........................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................ 4) ภาพประกอบกิจกรรม .................................................-........................................................................................................ .........................................................................................................................................................

๔๓ 3.1.2 กจิ กรรมการศกึ ษาแบบช้นั เรียนวิชาชีพ 31 ช่ัวโมงข้ึนไป เป้าหมาย 18 คน ผล 44 คน 1) ผลการขับเคลื่อนนโยบาย กศน.ตาบลยางตลาดไดด๎ าเนนิ การจัดกจิ กรรมสงํ เสรมิ ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน ในรูปแบบกิจกรรมชั้นเรยี น วิชาชพี (31 ชัว่ โมง ขน้ึ ไป) โดยดาเนินการจัดกิจกรรมหลักสตู ร ตามความต๎องการของกลมุํ เปาู หมายโดยได๎รบั ความรวํ มมือจากภาคีเครอื ขาํ ยในการสนบั สนนุ ในเร่ืองของ การจัดหาสถานท่ีการจดั กจิ กรรม สนับสนนุ ด๎านวสั ดุ อุปกรณ์ทใี่ ชใ๎ นการจัดกิจกรรม ในการดาเนนิ การจดั กิจกรรมฝึกอาชีพน้ันหลกั สตู รท่ใี ช๎จะประกอบไปดว๎ ย กลุํม อาชพี เกษตรกรรม กลํุมอาชพี อุตสาหกรรม กลมุํ อาชีพความคดิ สร๎างสรรค์ และกลุํมอาชีพการบริหารจดั การและ บริการ สร๎างเปน็ อาชีพเสริมรายไดแ๎ ละสามารถสร๎างเป็นอาชพี ใหมํ เป็นการเพิ่มรายได๎ให๎กับตนเองและครอบครวั โดยมีการดาเนนิ การดงั น้ี 1. วชิ าชพี ระยะสนั้ จานวน 50 ชั่วโมง วชิ าชาํ งปูน กศน.อาเภอยางตลาด ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธ์ุ 2. วิชาชีพระยะสัน้ จานวน 50 ช่ัวโมง วชิ าชํางทาสี กศน.อาเภอยางตลาด ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสินธ์ุ 3. วชิ าชพี ระยะสน้ั จานวน 50 ชว่ั โมง วชิ าชาํ งเช่ือมโลหะ กศน.อาเภอยางตลาด ตาบลยาง ตลาดอาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ 4. วิชาชีพระยะสัน้ วิชาตดิ ต้งั ไฟฟูาภายในอาคาร จานวน 50 ชั่วโมง กศน.อาเภอยางตลาด ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธุ์ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ขอ้ เสนอแนะ ปัญหา 1. วัสดอุ ปุ กรณใ์ นการจดั การเรียนการสอนบางรายวชิ าไมํเพียงพอตํอจานวนผ๎ูเรยี น 2. ผ๎ูเรียนบางสํวนติดภารกจิ จงึ ไมํสามารถมาเรียนได๎ครบชั่วโมงในแตํละวนั อปุ สรรค 1. ผ๎เู รียนมคี วามรพ๎ู ้ืนฐานไมเํ ทํากนั ทาให๎เป็นอุปสรรคในการจัดการเรยี นการสอน 2. ผู๎จบหลกั สตู รบางสํวนยงั ไมํสามารถนาไปประกอบอาชพี ได๎ ข้อเสนอแนะ 1. สงํ เสริมการเรียนรอ๎ู าชีพใหมๆํ ใหเ๎ ปน็ ทางเลอื กเพ่ือกระตนุ๎ เศรษฐกิจในชมุ ชน 2. จดั ให๎มรี ะบบนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลอยํางตํอเน่ือง เพื่อใหว๎ ิทยากรการศึกษาตํอเน่ือง ดาเนินการจัดการเรียนรูไ๎ ด๎อยํางมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธิผลมากน้ัน 3) ปจั จยั ความสาเรจ็ หลักสตู รพฒั นาอาชพี ตรงตามความตอ๎ งการของชุมชน วิทยากรมีความร๎ู ความสามารถตรงตามสาขาวชิ า และสามารถถาํ ยทอดความรใู๎ ห๎กบั ผ๎ูเรียนไดเ๎ ปน็ อยํางดีเครือขาํ ยมสี ํวนรํวมในการจัดกจิ กรรม นาทรพั ยากรและ แหลํงเรียนรูใ๎ นพน้ื ท่ีมาใช๎ใหเ๎ กดิ ประโยชน์

๔๔ 4) ภาพประกอบกิจกรรม วิชาชพี ระยะส้ัน จานวน 50 ชว่ั โมง วิชาชา่ งปนู กศน.ตาบลยางตลาด จัดที่ กศน.อาเภอยางตลาด ตาบลยางตลาดอาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสินธุ์ วชิ าชีพระยะสน้ั จานวน 50 ชั่วโมง วิชาช่างทาสี กศน.ตาบลยางตลาด จัดที่ กศน.อาเภอยางตลาด ตาบลยางตลาดอาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ

๔๕ วชิ าชพี ระยะส้นั จานวน 50 ชั่วโมง วชิ าช่างเชื่อมโลหะ กศน.ตาบลยางตลาด จดั ที่ กศน.อาเภอยางตลาด ตาบลยางตลาดอาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ วิชาชีพระยะสัน้ จานวน 50 ชัว่ โมง วิชาช่างไฟฟา้ ภายในอาคาร กศน.ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธุ์

๔๖ 3.1.3 การศกึ ษาแบบพัฒนาอาชพี ระยะสน้ั กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชว่ั โมง เปา้ หมาย 11 คน ผล 84 คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย กศน.ตาบลยางตลาด ได๎ดาเนินการจดั กิจกรรมสงํ เสริมศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชนในรปู แบบกิจกรรม พฒั นาอาชีพ (ไมเํ กนิ 30 ชั่วโมง) โดยดาเนนิ การจดั กิจกรรมหลักสตู รตามความตอ๎ งการของกลมุํ เปูาหมาย โดย ได๎รบั ความรวํ มมือจากภาคีเครือขาํ ยในการสนับสนุน ในเรื่องของการจดั สถานที่ การจัดกิจกรรม สนับสนุนด๎าน วสั ดุอปุ กรณท์ ี่ใช๎ในการจัดกจิ กรรม ทั้งวทิ ยากรกเ็ ปน็ บุคคลซงึ่ มคี วามรู๎ความสามารถในการถาํ ยทอดความร๎ู ในการ ดาเนินการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพนั้น หลกั สตู รที่จะใช๎ประกอบไปด๎วย กลมํุ อาชีพพาณชิ ยกรรม กลุมํ อาชีพ อตุ สาหกรรม กลํมุ อาชีพความคิดสรา๎ งสรรค์ และกลํุมอาชีพบรหิ ารจัดการและบริการ ซ่งึ ประชาชนผรู๎ ับบรกิ าร สามารถนาความรู๎ท่ีได๎รับไปพัฒนาทกั ษะฝมี ือของตนเองให๎เพิม่ ขน้ึ พัฒนาตํอยอดอาชีพเดิม สร๎างอาชพี ใหมแํ ละ สามารถสรา๎ งรายได๎ให๎กับตนเองและครอบครัว โดยมกี ารดาเนนิ การดงั น้ี 1.ระหวาํ งวนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2563 -6 มกราคม 2564 ดาเนินการจัดโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน วิชาชีพหลกั สตู รระยะสั้น กลุํมสนใจ วิชาการทาเหรียญโปรยทาน จานวน 5 ชั่วโมง วทิ ยากรโดย ครูอาสาสมัครฯ และครู กศน.ตาบล สถานทจี่ ัดกศน.อาเภอยางตลาดตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ 2. .ระหวํางวนั ที่ 23 ธันวาคม 2563 -6 มกราคม 2564 ดาเนินการจดั โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน วชิ าชีพหลกั สูตรระยะสนั้ กลํุมสนใจ วิชาการทาสลดั โรล จานวน 5 ช่วั โมง วิทยากรโดย ครูอาสาสมัครฯและครู กศน.ตาบล สถานที่จดั กศน.อาเภอยางตลาดตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ 3.ระหวาํ งวนั ที่ 21-22 ธันวาคม 2563 ดาเนนิ การจดั โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสตู รวชิ าชพี ระยะสน้ั กลํุมสนใจ วิชาการทาธุง จานวน 10 ชวั่ โมง วิทยากรโดย ครู กศน.ตาบลยางตลาด ณ บา๎ นดอนยูง หมทูํ ี่ 17 และบ๎านหัวงัว หมํทู ี่ 7 ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ 4.ระหวํางวนั ท่ี 23-24 ธันวาคม 2563 ดาเนนิ การจดั โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สตู รวชิ าชพี ระยะส้นั กลํุมสนใจ วิชาการทาธงุ จานวน 10 ชั่วโมง วทิ ยากรโดย ครู กศน.ตาบลยางตลาด ณ บ๎านดอนยงู หมูทํ ่ี 16 ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธ์ุ 5.ระหวํางวันที่ 2-3 กุมภาพันธุ์ 2564 กศน.ตาบลยางดาเนนิ การจัดโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน วชิ าชีพหลักสูตรระยะส้นั กลํุมสนใจ วชิ าการทาว๎ุนแฟนซี จานวน 10 ช่วั โมง วทิ ยากรโดย นางวรี ยา ภผู านี ณ บา๎ นคอ๎ หมูํ 3 ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ 2) ปญั หา / อปุ สรรค / ข้อเสนอแนะ ผเ๎ู รยี นมคี วามรูพ๎ ื้นฐานไมํเทํากันทาใหเ๎ ป็นอปุ สรรคในการจัดการเรียนการสอน และผู๎จบหลักสูตร บางสวํ นยงั ไมสํ ามารถนาความรท๎ู ไ่ี ด๎ไปประกอบอาชีพได๎ ควรสงํ เสริมใหม๎ กี ารนาความร๎ูไปประกอบอาชีพ และหา ชอํ งทางการตลาด 3) ปจั จัยความสาเร็จ วทิ ยากรให๎ความรูเ๎ ปน็ ผู๎ทม่ี ีความรู๎ ความสามารถในการถํายทอด และฝึกประสบการณ์ในการ ประกอบอาชีพให๎กับผเู๎ รยี นเป็นอยาํ งดี

๔๗ 4) ภาพประกอบกิจกรรม ระหวาํ งวันที่ 23 ธนั วาคม 2563 ถงึ วนั ที่ 6 มกราคม 2564 ดาเนินการจัดโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน วชิ าชีพหลักสูตรระยะสนั้ กลํุมสนใจ วิชาการทาเหรยี ญโปรยทาน จานวน 5 ชว่ั โมง วทิ ยากรโดย ครู กศน.ตาบลยางตลาด ณ กศน.อาเภอยางตลาดตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ระหวํางวันท่ี 23 ธันวาคม 2563 ถงึ วนั ท่ี 6 มกราคม 2564 ดาเนนิ การจดั โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน วชิ าชีพหลกั สูตรระยะส้ัน กลํุมสนใจ วิชาการทาสลัดโรล จานวน 5 ชวั่ โมง วิทยากรโดย ครู กศน.ตาบลยางตลาด ณ กศน.อาเภอยางตลาดตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธ์ุ

๔๘ ระหวาํ งวันท่ี 21-22 ธันวาคม 2563 ดาเนนิ การจัดโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน หลักสูตรวิชาชีพระยะสนั้ กลุมํ สนใจ วชิ าการทาธงุ จานวน 10 ชัว่ โมง วทิ ยากรโดย ครู กศน.ตาบลยางตลาด ณ บ๎านดอนยงู หมํูที่ 17 ตาบล ยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ ระหวํางวันที่ 23-24 ธันวาคม 2563 ดาเนนิ การจดั โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลกั สตู รวชิ าชีพระยะส้ัน กลํุมสนใจ วิชาการทาธงุ จานวน 10 ช่วั โมง วิทยากรโดย ครู กศน.ตาบลยางตลาด ณ บ๎านดอนยงู หมูทํ ี่ 16 ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ

๔๙ ระหวํางวนั ที่ 2-3 กุมภาพันธุ์ 2564 กศน.ตาบลยางดาเนินการจัดโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน วิชาชีพหลกั สตู ร ระยะสนั้ กลุํมสนใจ วิชาการทาวนุ๎ แฟนซี จานวน 10 ชว่ั โมง วทิ ยากรโดย นางวรี ยา ภูผานี ณ บ๎านค๎อ หมูํ 3 ตาบลยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสนิ ธุ์

๕๐ 3.2 กจิ กรรมภาษาตํางประเทศเพื่อการส่อื สารด๎านอาชีพ 3.2.1 โครงการภาษาตํางประเทศเพื่อการส่ือสารดา๎ นอาชพี เปูาหมาย 2 คน ผล 2 คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย กศน.ตาบลยางตลาดไดด๎ าเนินการจดั กจิ กรรมภายใตโ๎ ครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สารด๎านอาชพี ให๎กับประชาชน เพ่ือให๎ผเู๎ ข๎ารับการอบรมสามารถนาความรู๎ท่ไี ดร๎ ับไปประยุกตใ์ ช๎ในการประกอบอาชีพและดาเนิน ชีวิตประจาวันได๎ วิทยากรผ๎ูใหค๎ วามร๎เู ป็นผ๎ชู านาญเฉพาะด๎านภาษาองั กฤษ มกี ารเตรยี มสื่อการสอนท่ี นอกเหนือจากตาราเรยี น จดั กระบวนการเรียนรู๎เน๎นการให๎ความร๎ู และการสนทนาภาษาอังกฤษทาให๎ผเู๎ รียนกล๎า คดิ กลา๎ แสดงออกมากกวาํ เดิม มีความรู๎ความเขา๎ ใจ และทักษะ สามารถนาไปประยุกต์ในการดารงชวี ิตประจาวนั หรอื ประกอบอาชพี ได๎ 2) ปญั หา / อุปสรรค / ขอ๎ เสนอแนะ ผ๎เู ขา๎ รับการอบรม มีทักษะพ้ืนฐานภาษาอังกฤษแตกตํางกันมา บางคนไมํทักษะทงั้ อาํ น เขียน พูด บางคน สามารถพูดไดบ๎ า๎ งแตํเขียนไมํได๎ บางคนมีทักษะท้ังอาํ น เขียน พดู ได๎เบื้องต๎นแลว๎ สํงผลให๎การจัดกจิ กรรมยาก ต๎อง มีการสารวจกลํุมเปูาหมาย และแยกกลํุมเปาู หมายตามพนื้ ฐานความรู๎เดิม ปรบั ปรุงพฒั นาหลกั สตู ร 3) ปัจจัยความสาเรจ็ มีหลกั สตู รทสี่ อดคลอ๎ งกับความต๎องการของผู๎เรยี น วิทยากรเป็นผ๎มู ีความรู๎ ความชานาญ และมที ักษะใน การถาํ ยทอดความรแ๎ู ละประสบการณใ์ ห๎กบั ผู๎เรยี น ครู กศน.คอยชํวยเหลือในการจดั กจิ กรรมใหก๎ าลังและแกํ ผเ๎ู รยี นในการกลา๎ คิด กลา๎ แสดงออก 4) ภาพประกอบกิจกรรม โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร ด๎านอาชีพการทํองเทย่ี ว ระหวํางวันท่ี 15 – 19 มีนาคม 2564 ณ กศน.อาเภอยางตลาด อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธุ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook