Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

รายงานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Published by Guset User, 2021-12-14 16:21:14

Description: รายงานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

1

2 คำนำ รายงานองค์ความรู้จากวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับนี้ ของนักศึกษา สาขาวิชาศิลปศึกษาชั้นปี่ท่ี1 เพื่อเป็นการนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าในอินเตอร์เน็ตและจาก การเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายต่างๆ โดยนำเสนอจากหัวข้อ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หมายถึงอะไร ประเภท เครือข่าย ประเภทของคอมพิวเตอร์ ทำไมจึงต้องสรา้ งระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เข้า มามีบทบาทในชีวิตประจำวันด้านใดบ้าง เครื่อง Server , WorkStation , Client, Terminal, Modem ข้อดีข้อเสียการเชื่อมต่อแบบ Bus Topology ข้อดีข้อเสียการเชื่อมต่อแบบ Star Topology ข้อดีข้อเสียการเชื่อมต่อแบบ Ring Topology ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูลและ เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ เครอื ขา่ ยท้องถิ่น เครอื ขา่ ยระดับเมอื ง เครือข่ายระดับประเทศ ประโยชน์ของ เครอื ขา่ ยไร้สาย คณะผู้จัดทำมุ่งหวังว่ารายงานฉบับนี้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ไปด้วยดี เพื่อสร้างความเข้าใจ และอํานวยความสะดวกสําหรับผู้ศึกษา และสามารถนำไปปรับใช้ในการศึกษาแก่ผู้อ่านได้อย่างเปน็ อย่างมาก คณะผู้จดั ทำขอขอบพระคณุ ผู้ท่เี กย่ี วข้องทุกท่านทใ่ี ห้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อการจัดทำ รายงานวชิ า คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ นี้ให้ประสบความสำเร็จลุร่วงไปด้วยดี หากผิดพลาดประการใดคณะผู้จดั ทำขออภัยมา ณ ที่นดี้ ้วย คณะผ้จู ัดทำ นกั ศกึ ษาสาขาศลิ ปศึกษาชัน้ ปีท่ี1

3 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network) หมายถึง กลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ตา่ งๆ ที่ถูกนำมาเชือ่ มต่อกันโดยใช้ส่ือกลางเพือ่ ให้ผูใ้ ช้ในเครือขา่ ย สามารถติดตอ่ ส่ือสารแลกเปลยี่ นข้อมูลกันได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ นอกจากนีย้ ังสามารถใชท้ รพั ยากรที่ มีอยู่ในเครือขา่ ยร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น การใช้ทรัพยากรเหล่านี้ ผา่ นเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ประหยัดคา่ ใช้จ่ายได้มาก เมอื่ มกี ารเชื่อมต่อกบั เครอื ข่ายอน่ื ๆ ทอี่ ยู่ ห่างไกล เช่น ระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั่วโลก ก็ทำให้สามารถ แลกเปลีย่ นข้อมลู ขา่ วสาร ไดก้ บั คนทัว่ โลก โดยใช้แอพพลเิ คชัน่ เช่น เว็บ อีเมลล์ เปน็ ตน้

4 ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบง่ ออกได้เป็น 4 ประเภทดงั น้ี 1. PAN (Personal Area Network) คือ “ระบบการติดต่อสื่อสารไร้สายส่วนบุคคล” หรือเรียกว่า BluetoothPersonal Area Network (PAN)คอื เทคโนโลยีการเข้าถึงไร้สายในพื้นที่เฉพาะส่วนบุคคล โดยมรี ะยะทางไมเ่ กนิ 1เมตร และมีอัตราการรบั สง่ ขอ้ มลู ความเรว็ สูงมาก (สงู ถงึ 480 Mbps) ตวั อยา่ งเช่น -Ultra Wide Band (UWB) ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.3a -Bluetooth ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.1 -Zigbee ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.4 2. LAN (Local Area Network) : ระบบเครือขา่ ยระดับทอ้ งถิ่น เป็นระบบเครือข่ายท่ีใช้งานอยใู่ นบรเิ วณทีไ่ มก่ ว้างนกั อาจใชอ้ ย่ภู ายในอาคารเดยี วกนั หรืออาคารท่อี ยู่ ใกล้กนั เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสำนกั งาน คลังสินค้า หรอื โรงงาน เป็นตน้

5 3. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือ จังหวัดเท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับ องค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวน เชือ่ มโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการส่ือสารไม่สงู เนอื่ งจากมสี ญั ญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยี ที่ใช้กับเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทยี ม เสน้ ใยนำแสง คลน่ื ไมโครเวฟ คลน่ื วิทยุ สายเคเบิล 4. WAN (Wide Area Network) : ระบบเครอื ข่ายระดับประเทศ หรือเครอื ข่ายบริเวณกวา้ ง เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานทั่วโลก เป็น เครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะต้องเป็นการ ติดต่อส่ือสารกนั ในระดับประเทศ ขา้ มทวปี หรอื ทัว่ โลกกไ็ ด้ ในการเชอื่ มการติดต่อนน้ั จะต้องมีการต่อ เข้ากับระบบสื่อสารขององค์การโทรศพั ท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทยเสยี ก่อน เพราะจะเป็นการ

6 ส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการติดต่อสื่อสารกันโดยปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่ำและมีโอกาสเกดิ ข้อผิดพลาด การสง่ ขอ้ มลู อาจใช้อุปกรณ์ในการสอ่ื สาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาชว่ ย ระบบคอมพวิ เตอร์ ( Computer System) ในการใช้คอมพิวเตอร์ทำงานแล้วให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามความต้องการของผู้ใช้งานน้ัน ย่อมต้องมีองค์ประกอบที่เรียกว่า ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายประเภททำงานร่วมกนั โดยมีคำสั่งหรือที่เรียกว่าโปรแกรม เปน็ ตัวสั่งการใหอ้ ปุ กรณ์เหล่านน้ั ทำงานได้ตามทีม่ นุษยต์ ้องการ ดังนัน้ เมอื่ กล่าวถึงระบบคอมพิวเตอร์ สง่ิ สำคญั ของระบบจึงไดแ้ ก่ ฮารด์ แวร์(hardware) ซอฟตแ์ วร(์ software) และบุคลากร(Peopleware) นั่นคอื เครื่องคอมพวิ เตอรจ์ ะทำงานได้ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ส่วนประกอบ โครงสร้าง รวมถึงอปุ กรณ์ต่อพ่วงที่สนับสนุน การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณต์ ่าง ๆ เหล่านม้ี นษุ ยส์ ามารถมองเห็นและสมั ผสั ได้ หน้าท่ี ของฮาร์ดแวร์กค็ ือ ทำงานตามคำสงั่ ควบคมุ การทำงานตา่ ง ๆ ทม่ี นษุ ยเ์ ป็นผ้สู รา้ งข้ึนเพ่อื ให้ไดผ้ ลลัพธ์ ตามท่ตี อ้ งการ แบง่ ออกเปน็ ส่วนประกอบดังน้ี 1. หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard ) และเมาส์ 2. ( Mouse) นอกจากน้ียงั มอี ุปกรณ์รบั เข้าอน่ื ๆ อกี ไดแ้ ก่ สแกนเนอร์ ( Scanner), วดี โี อคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone), ทัชสกรนี (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดจิ ติ เซอร์ เทเบล้ิ แอนด์ ครอสแชร์ ( Digiter tablet and crosshair)

7 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปวา่ CPU ซึง่ ถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มีสว่ นประกอบทสี่ ำคญั 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หนว่ ย คำนวณ - หนว่ ยควบคมุ (Control Unit หรอื CU) ทำหนา้ ท่ีควบคมุ ลำดับขั้นตอนการทำงานของ หน่วยรบั ข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยคำนวณและหน่วยตรรกะ หนว่ ยความจำและแปลคำส่ัง - หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit หรอื ALU) ทำหนา้ ทใ่ี นการ คำนวณหาตวั เลข เชน่ การบวก ลบ การเปรียบเทียบ - หน่วยความจำ เป็นอปุ กรณ์ใชเ้ ก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล 3. หน่วยความจำภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เป็นหน่วยความจำท่ี อยู่ภายในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทส่ี ามารถติดต่อกับหนว่ ยงานอ่นื ๆ ไดโ้ ดยตรง มี 2 ประเภท 3.1 หน่วยความจำภายใน - หน่วยความจำแบบแ รม ( Random Access Memory หรือ Ram) เป็น หน่วยความจำชั่วคราว ที่ใช้สำหรับเก็บโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ขณะนั้น มีความจุของหน่วยเก็บ ข้อมลู ไมเ่ กนิ 640 KB คอื ผ้ใู ช้สามารถเขียนหรอื ลบไปได้ตลอดเวลา ถ้าหากปดิ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์หรือ ไฟฟ้าดบั จะมีผลทำให้ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทเี่ ก็บไวส้ ูญหายไปหมด และไมส่ ามารถเรียกกลับคืนมาได้ - หน่วยความจำแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจำ ถาวร ที่สามารถอ่านได้อยา่ งเดียว ไม่สามารถบันทึกขอ้ มลู ได้ ถงึ แมว้ ่าจะปิดเครือ่ งหรอื ไฟฟ้าดับ ข้อมูล ทเ่ี ก็บไว้จะยงั คงอยู่ 3.2 หนว่ ยความจำสำรอง ไดแ้ ก่ เทปแมเ่ หล็ก จานแม่เหล็ก แผน่ ดิสก์ (Diskett) CD-ROM แผ่นดิสก์หรือสเกต เป็นจานแม่เหล็กขนาดเล็ก ชนิดอ่อน จัดเก็บข้อมูลโดยใช้อำนาจแม่เหล็ก การใช้ งานจะต้องมี Disk Drive เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ในการขับเคลื่อนแผ่นดิสก์ โดยแบ่งตำแหน่งพื้นผิว ออกเปน็ แทร็คและเซค็ เตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ขนาด คอื - แผน่ ดสิ กข์ นาด 8 นวิ้ ปัจจบุ ันไม่นยิ มใช้ - แผน่ ดสิ ก์ขนาด 5.25 นว้ิ แบง่ ออกเป็น DD สามรถบนั ทึกขอ้ มลู ไดป้ ระมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมลู ได้ 1.2 MB

8 - แผ่นดิสกข์ นาด 3.5 นิว้ แบ่งออกเป็น DD สามารถบนั ทกึ ขอ้ มลู ได้ประมาณ 720 KB และ HD สามารถบนั ทึกขอ้ มูลได้ 1.44 MB นิยมใชก้ นั มากในปจั จุบนั 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหนา้ ท่แี สดงผลลพั ธ์ท่ีได้จากการประมวลผลของเครอื่ ง คอมพวิ เตอร์ หรือใช้เกบ็ ผลลัพธ์เพือ่ นำไปใช้ภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เปน็ อุปกรณ์ส่งออก มากทสี่ ุด เครื่องพิมพ์ (Printer) ซอฟแวร์ (Software) คือ คำสั่ง หรอื ชดุ คำส่ัง ทำหนา้ ทค่ี วบคมุ การทำงานของระบบ คอมพิวเตอร์ และเป็นสว่ นท่ีทำใหผ้ ใู้ ช้คอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพวิ เตอร์ (ฮาร์ดแวร์) สามารถ ส่อื สารกนั ได้ ทั้งนอ้ี าจแบ่งซอฟตแ์ วรต์ ามหนา้ ทีข่ องการทำงานได้ดงั นี้ 1. โปรแกรมจัดระบบ (System Software) คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ควบคุมการทำงาน ของคอมพวิ เตอร์ เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยกุ ต์กับเครอื่ งคอมพิวเตอร์ เพอ่ื ชว่ ยในการจดั การ ทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปรแกรมควบคุมเครื่อง ระบบปฏิบัติการ เช่น DOS, Windows, Os/2, Unix 2. โปรแกรม์ประยุกต์ (Application Software) คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา เพอ่ื ให้เคร่อื งคอมพิวเตอร์ทำงานตามท่ผี ใู้ ชต้ ้องการ ไดแ้ ก่ โปรแกรมสำเร็จรปู ต่าง ๆ - โปรแกรมจัดระบบฐานข้อมลู เชน่ Microsoft Access Oracle - โปรแกรมพิมพ์เอกสาร เช่น Microsoft Word - โปรแกรมสรา้ ง Presentation เช่น Microsoft Power Point - โปรแกรมชว่ ยสอน (CAI - Computer Aids Intrruction ) - โปรแกรมคำนวณ เช่น Microsoft Excel 3. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Software) เป็นโปรแกรมทีใ่ ชเ้ คร่อื งมใื นการชว่ ยให้การ ใชง้ านคอมพิวเตอร์มีความคล่องตวั ขนึ้ และสามารถแก้ปญั หาอนั เกดิ จากการใช้งานได้ เช่น - โปรแกรมกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ เช่น Mcafee, Scan, Norton Anitivirus - โปรแกรมท่ีใชบ้ ีบอัดขอ้ มูลใหม้ ขี นาดเลก็ ลง เพื่อให้สามารถคดั ลอกไปใช้ไดส้ ะดวก เช่น Winzip เป็นตน้

9 4. โปรแกรมแปลงภาษา (Language Translater) ใช้ในการสร้างโปรแกรมประยุกต์เพ่ือ นำไปใช้งานด้านต่าง ๆ โดยการเขียนชุดคำสั่งเพื่อควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทำงาน และใช้โปรแกรม แปลงภาษาดังกล่าวทำหน้าที่แปลงชุดคำสั่งที่สร้างขึ้น (High Level Language) ให้ไปเป็นคำสั่งท่ี เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์เข้าใจและปฏบิ ัติตามได้ (Low Level Language) โปรแกรมแปลงภาษาโดยทั่วไปมี 2 ประเภท คอื 4.1 คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมประเภทนีจ้ ะทำหนา้ ทแี่ ปลงชดุ คำสัง่ ท่สี ร้างขึน้ ทง้ั หมด (ตั้งแต่คำสงั่ แรกจนถงึ คำสั่งสดุ ท้าย) ในคราวเดียวกัน เชน่ ภาษา Pascal, C, C++ 4.2 อนิ เตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) โปรแกรมประเภทนีจ้ ะทำหน้าที่แปลงชุดคำส่ัง แล้วแสดง ผลลัพธ์ออกมา ทำใหง้ ่ายตอ่ การแกไ้ ขคำสั่งท่ผี ดิ พลาดได้ทนั ที เชน่ ภาษา Basic พีเพลิ แวร์ (People Ware) หรอื ผใู้ ชร้ ะบบ ในระบบคอมพิวเตอรผ์ ใู้ ช้สว่ นใหญเ่ ป็นสว่ นหน่งึ ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กิดผลลัพธจ์ ากการให้เคร่อื งคอมพิวเตอร์ทำงาน ด้วยเหตุทวี่ ่ามนษุ ย์เปน็ ผู้สร้างชดุ คำสง่ั หรือ โปรแกรมขนึ้ มาเพื่อควบคมุ การทำงานของเครอ่ื งนน่ั เอง ในที่นี้ จะขอกล่าวถึงผู้ใช้คอมพิวเตอรใ์ น ระดับตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. ผ้บู ริหาร (Manager) ทำหนา้ ท่ีกำกบั ดูแลวางแนวนโยบายในสว่ นที่เก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ เพ่ือให้องคก์ รสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2. นักวเิ คราะหแ์ ละนกั ออกแบบระบบ (System Analysis & Deign) ทำหนา้ ท่ีวางแผนและ ออกแบบระบบงาน เพื่อนำเอาระบบคอมพิวเตอรเ์ ข้ามาใช้งาน 3. นกั เขยี นโปรแกรม (Programmer) ทำหนา้ ทเ่ี ขยี น/สรา้ งชดุ คำสงั่ เพื่อควบคุมให้ คอมพิวเตอร์ทำงาน 4. ผปู้ ฏิบตั ิการ (Operator) ทำหน้าที่ควบคมุ เคร่อื ง เตรยี มข้อมลู และปอ้ นขอ้ มลู เขา้ สู่ระบบ คอมพิวเตอร์

10 เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรก์ ับชีวติ ประจำวัน ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามาเปน็ สว่ นหนึง่ ในชีวิตปะจำวันมากย่ิงขึ้น ซึ่งสามารถทีจ่ ะใช้ ในการสื่อสารและติดต่อซึ่งกันและกันตลอดเวลา โดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ฉะนั้น เครือข่าย คอมพวิ เตอรจ์ งึ เขา้ มามีบทบาทอย่างมากกบั ชีวิตประจำวันในหลายด้านดว้ ยกัน ดงั นี้ 1. ดา้ นธรุ กจิ เชน่ บริษัท รา้ น ห้างสรรพสนิ ค้า ตลอดจนโรงงานตา่ ง ๆ ใชค้ อมพิวเตอรม์ าใช้ในสว่ นการทำ บัญชี งานประมวลผลคำ และติดต่อกับหนว่ ยงานภายนอกผา่ นระบบโทรคมนาคม นอกจากนงี้ าน อสุ าหกรรมส่วนใหญ่ได้นำคอมพวิ เตอรม์ าชว่ ยในการควบคุมการผลติ และการประกอบช้ินสว่ นของ อปุ กรณต์ ่าง ๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซ่งึ ทำให้การผลิตมคี ณุ ภาพดีขึ้น หรืองานธนาคารทใ่ี ช้ บรกิ ารถอนเงนิ ผ่านตฝู้ ากถอนเงนิ อตั โนมัติ (ATM) และใช้คอมพวิ เตอร์คิดออกเบี้ยใหก้ บั ผฝู้ ากเงิน และ การโอนเงนิ ระหว่างบัญชี เช่อื มโยงกนั เป็นระบบเครือขา่ ย 2.ด้านการตลาดและการขาย ในธุรกิจประเภทขายสินค้าที่มีหลายสาขา ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์อย่าง มากในการช่วยจัดวิเคราะห์การตลาด โดยนำข้อมูลที่เกิดจากการขายประจำสาขาต่าง ๆ มา ประมวลผลที่สาขาใหญ่ไดส้ ะดวก รวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการตรวจสอบข้อมลู ของแต่ละสาขาดว้ ยนอก จานี้ สาขาตา่ ง ๆ ยังสามารถสัง่ ซือ้ สินคา้ ผ่านทางระบบเครอื ข่ายได้ 3.ดา้ นการศกึ ษา ไดแ้ ก่ การใช้คอมพวิ เตอร์ ทางด้านการเรยี นการสอน ซึ่งมีการนำคอมพิวเตอรม์ าช่วยการสอน ในลกั ษณะบทเรียน (CAI) หรอื ดา้ นงานทะเบียน ซึง่ ทำใหส้ ะดวกต่อการคน้ หาขอ้ มูลนกั เรยี น การเกบ็ ข้อมูลการยืมและการสง่ คืนหนังสือห้องสมดุ Server Server เป็นอุปกรณ์ที่มีส่วนสำคัญมากในระบบอินเตอร์เน็ตและในระบบเครือข่าย ซึ่ง ความสามารถของ Server นั้นเราสามารถประยกุ ต์ใช้ไดต้ ามหน้าท่แี ละลักษณะงานให้เข้ากับ Server ประเภทตา่ ง ๆเพื่อประสทิ ธิภาพในการทำงานทีด่ ีทสี่ ดุ

11 โดยการทำงานของ Server จะทำงานพร้อมกนั หลาย ๆอยา่ งไดใ้ นเวลาเดียวกนั เนื่องจาก ความสามารถของเครื่อง Server สว่ นใหญ่จะมีความสามารถทสี่ ูง โดยการทำงานแตล่ ะอยา่ งของ Server จะทำงานใน Port ท่ีตา่ งกันไป เคร่ือง Server จะแบ่งเป็น 2 แบบ 1. แบบ Rack จะมลี ักษณะเป็นแทง่ สีเหลีย่ มยาว ๆ เพราะถา้ ใชแ้ บบ Rack คา่ บริการที่จะนำ Server ไปวางไวท้ ่ี Data Center ก็จะถูกกวา่ แบบ Tower 2. แบบ Tower หน้าตาจะเหมือนกบั PC ทัว่ ๆ ไปท่ใี ช้กนั ในบ้าน และคา่ บริการการวางที่ Data Center กจ็ ะเแพงกวา่ แบบ Rack เกือบเทา่ ตัว ระบบปฏิบตั ิการทใ่ี ชใ้ นเครื่อง Server จะเป็น 3 ระบบ 1. Linux สำหรบั Linux Distribution ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มได้แก่ Debian, Ubuntu, Redhat และ Fedora เป็นต้น Linux เป็นระบบปฏบิ ตั ิการทีใ่ ชง้ านโดยไม่เสียค่าใชจ้ า่ ย พรอ้ มทั้งมนี กั พัฒนา อยทู่ วั่ โลกรว่ มกนั พัฒนาด้วย 2. Windows สำหรับ Windows ท่ีนิยมใชเ้ ป็น server ได้แก่ Windows Server 2003 และ Windows Server 2008 ซึง่ เปน็ ระบบปฏิบตั กิ ารจากไมโครซอฟท์ที่มคี วามเสถยี รและเปน็ ทยี่ อมรบั โดยท่ัวไป 3. Unix สำหรับ Unix สำหรับระบบปฏบิ ัตกิ ารนเี้ ป็นระบบปฏบิ ตั ิการณท์ ีเ่ กา่ แก่ระบบหนงึ่ ท่ียงั ใช้งานอยูจ่ นถึงทุกวนั น้ี ไดแ้ ก่ BSD หนา้ ที่ของ Server เปน็ เหมอื นผู้ให้บริการต่าง ๆ ในโครงข่ายอนิ เตอร์เนต็ หรอื โครงขา่ ยที่มีลูก ข่าย เม่ือมีผู้ใชง้ านมาขอใชบ้ ริการ Server เคร่ือง Server จะจดั สรรทรพั ยากรท่ีมีอยู่ในเครอ่ื งเพือ่ ให้บริการในทนั ที ซ่ึงบรกิ ารของ Server นน้ั มหี ลากหลายอยา่ งด้วยกนั โดยสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 4 หนา้ ท่ีหลัก ๆดังตอ่ ไปนี้ 1. Web server คือโปรแกรมทม่ี ีหน้าทใี่ หบ้ รกิ ารด้านการจัดการเว็บไซต์ โดยส่วนมากโปรแกรม ท่ีนิยมใช้เป็น Web server จะเป็น Apache web server 2. Mail server คือโปรแกรมท่มี หี นา้ ทใี่ ห้บรกิ ารดา้ น E-mail โปรแกรมทใี่ ช้ในด้าน Mail server มีอยูห่ ลายโปรแกรมด้วยกนั แตท่ ี่นยิ มกนั จะมอี ยู่ 3 โปรแกรมคอื Postfix, qmail, courier

12 3. DNS server คอื โปรแกรมท่มี หี นา้ ทีใ่ ห้บริการดา้ นโดเมนเนมที่จะคอ่ ยเปล่ียนชอื่ เว็บไซตท์ ี่ เราต้องการใหเ้ ปน็ IP Address โปรแกรมทนี่ ิยมใช้คอื bind9 4. Database server คือโปรแกรมทท่ี ำหน้าที่ให้บรกิ ารดา้ นการจัดการดแู ลข้อมลู ตา่ ง ๆ ภายในเว็บไซต์ โปรแกรมทม่ี ีการใช้งานส่วนใหญ่จะเปน็ mysql, postgresql, DB2 โดยการทำงานของ Server จะทำงานพรอ้ มกันหลาย ๆอย่างได้ในเวลาเดยี วกนั เนอ่ื งจาก ความสามารถของเคร่อื ง Server สว่ นใหญจ่ ะมีความสามารถท่สี ูง โดยการทำงานแตล่ ะอยา่ งของ Server จะทำงานใน Port ท่ตี ่างกนั ไป ประโยชน์ของ Server Server เป็นเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ่มี ีความสามารถในการใหบ้ ริการที่สูงมาก โดยประโยชน์หลัก ๆ ของ Server น้นั เปน็ เคร่อื งคอมพวิ เตอรท์ ค่ี อยใหบ้ รกิ ารกบั ผ้ใู ช้งานอนิ เตอร์เน็ตท่เี ขา้ มาขอใช้บริการ นอกจากที่เครื่อง Server ยังสามารถนำมาใช้ในสำนักงานได้อีกด้วย โดยประโยชน์ในการใช้เครื่อง Server ในสำนักงาน คือ ช่วยให้ประหยัดทรัพยากรต่าง ๆได้ เพราะว่าคอมพวิ เตอร์ทกุ ตวั สามารถใช้ งานทรัพยากรน้ัน ๆ ได้เช่น เครอื่ งพิมพ์ ฮารด์ ดสิ ก์ เปน็ ตน้ Server สามารถแบง่ ออกได้เป็น 4 ประเภทดว้ ยกัน โดยแบ่งตามลกั ษณะการทำงานเป็นหลกั 1. File Server มหี น้าท่ใี นการจดั เกบ็ ไฟลเ์ หมือนกับฮารด์ ดสิ ก์ ซง่ึ ผ้ใู ชง้ านสามารถท่จี ะนำไฟล์ มาฝากไว้ใน File Server ได้ 2. Print Server มหี นา้ ท่ใี นการเช่อื มตอ่ เคร่ืองปร้ินทใ์ หส้ ามารถใช้งานกบั คอมพิวเตอร์ลกู ข่าย เพ่ือเป็นการประหยดั ทรัพยากรนัน่ เอง ซ่ึงส่วนมากจะมใี ชใ้ นองคก์ รขนาดใหญ่ 3. Database Server มหี น้าทีใ่ นการรันระบบทีเ่ ป็นฐานขอ้ มลู DBMS (Database Management System) ซ่งึ เป็นโปรแกรมฐานขอ้ มลู และตวั จัดการฐานข้อมูล เช่น SQL, Informix 4. Application Server มีหนา้ ที่ในการรันโปรแกรมประยกุ ต์ โดยมกี ารทำงานทีส่ อดคลอ้ งกบั ผใู้ ช้งาน Workstation ในการทำงานบนเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถควบคุมการรับข้อมูล และดู การแสดงผลบนจอภาพได้เท่าน้ัน ไม่สามารถควบคมุ อุปกรณ์รอบข้างอ่ืนๆ ได้ แต่การใชร้ ะบบ

13 คอมพิวเตอร์ ท่ีมผี ูใ้ ชเ้ พียงคนเดียวน้นั จะทำให้ผู้ใช้สามารถควบคุมอปุ กรณร์ อบขา้ งต่างๆ ไดห้ มดไมว่ ่า จะเปน็ หน่วยรับ ข้อมูล หนว่ ยประมวลผล หนว่ ยแสดงผล ตลอดจนหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง นอกจากน้ี ผใู้ ช้สามารเลือกใช้ โปรแกรมได้เอง โดยไมต่ ้องกงั วลว่าจะตอ้ งไปแยง่ เวลาการเรียกใช้ข้อมูลกบั คนอนื่ ๆ เวิรค์ สเตชัน (Workstation) ถูกออกแบบมาใหเ้ ป็นคอมพิวเตอรแ์ บบต้ังโต๊ะ ทม่ี คี วามสามารถใน การคำนวณด้านวศิ วกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นด้านการแสดงทางดา้ นกราฟิก เช่น การนำมา ช่วยออกแบบกราฟิกต่างๆ ในโรงงานอตุ สาหกรรมเพ่ือออกแบบชิน้ ส่วนใหม่ๆ เปน็ ต้น ซ่งึ ตอ้ งการงานกราฟิก ที่มีความละเอียดสูง ทำ ให้เวิร์คสเตชันใช้หน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมลู สำรองจำนวนมากอีกดว้ ย มผี ูใ้ ช้บางกลมุ่ เรยี กเคร่ืองระดบั เวิร์คสเตชนั นี้ว่า ซปุ เปอร์ไมโคร (Supermicro) Workstation (เวิร์กสเตชัน) เป็นคอมพิวเตอร์สำหรับการใช้ส่วนบุคคล แต่เร็วและมี ความสามารถมากกวา่ คอมพวิ เตอร์สว่ นบุคคล มีแนวโน้มการใชส้ ำหรบั ธุรกิจและวิชาชพี เวิร์กสเตชัน และการประยุกต์ออกแบบ สำหรับการใช้โดยบริษัทขนาดเล็กด้านวิศวกรรม, สถาปัตยกรรม, การ ออกแบบกราฟฟกิ หรอื ส่วนบุคคลที่ตอ้ งการไมโครโพรเซสเซอร์ท่ีเรว็ กว่า มขี นาด RAM มาก และส่วน พิเศษอื่น ๆ เช่น graphics adapter ความเร็วสูง, ที่มาของการพัฒนาเทคโนโลยีเกิดขึ้น พร้อมกับ ระบบปฏิบัติการ UNIX และผู้ผลิตเครื่องเวิร์กสเตชันชั้นนำ ได้แก่ Sun Microsystems, Hewlett- Packard, DEC และ IBM 2. ใน IBM และบรษิ ทั อืน่ ๆ คำวา่ \"Workstation\" บางครั้งใช้ในความหมาย \"คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ท่เี ช่ือมเข้ากบั เครอ่ื งเมนเฟรม\" ในปจั จบุ นั สภาพแวดลอ้ มของบรษิ ทั พนักงาน มีเครื่องในลักษณะ \"เวิร์กสเตชัน\" หมายถึง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ต่อกันเครือข่าย LAN และใช้ ทรัพยากรร่วมของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล สามารถใช้เป็น อิสระจากเมนเฟรม เหมือนกับว่าพวกเขามีโปรแกรมประยุกต์ของตัวเอง ติดตั้งอยู่ในฮาร์ดดิสก์ของ ตวั เอง การใชล้ ักษณะน้ีของคำว่า \"workstation\" (ใน IBM เรยี กวา่ \"programmable workstation\") ทำให้แตกต่างจากความหมายเดมิ ของ \"terminal\". ในช่วงยุค 1990s เริ่มมีความต้องการมากข้นึ ใน การใช้งานคอมพิวเตอร์ ทั้งในด้านจำนวน และด้านประสิทธิภาพในการประมวลผล ทางบริษัท IBM ผู้พฒั นาคอมพิวเตอรใ์ นยุคนัน้ จงึ มีการพัฒนาคอมพิวเตอร์ทั่วไปแตกออกเป็นอีกกลุ่มอุปกรณ์อีกชนิด หนึ่ง ใหม้ กี ารทำงานที่ฉลาด และรวดเรว็ ขึ้น จนถงึ ยคุ 2000s อุปกรณ์ชนิดนม้ี กี ารแยกตวั ออกมาอย่าง ชดั เจนโดยแบรนด์ชน้ั นำ เราเรียกสนิ ค้าเหลา่ นั้นวา่ Workstation นั่นเอง

14 เวริ ์คสเตช่นั นัน้ ถือเปน็ คอมพวิ เตอรช์ นิดหนึ่งกว็ ่าได้ แต่มีความพิเศษกว่าคือเปน็ Computer ท่ี ถกู ออกแบบมาเพอื่ ใช้งานเทคนิคหรือรองรับโปรแกรมท่ีใช้การประมวลผลขน้ั สูง เบือ้ งต้น จุดประสงค์การ ใช้งาน Workstation คือ การใช้งานทีละ 1 ผ้ใู ช้ ในระยะเวลานน้ั ๆ เท่านนั้ แต่ปจั จบุ ัน การใช้งาน เวริ ค์ สเตชัน่ มักจะมกี ารเชื่อมตอ่ กับระบบเครอื ขา่ ย เพอื่ ใชง้ านแบบเขา้ ถึงพรอ้ มกันหลายคน สรุปลักษณะเดน่ ๆ ทัว่ ไปของ Workstation 1. มีการรองรบั แรมแบบ ECC Memory 2. มีชอ่ งใส่ Ram หลายชอ่ ง 3. มีช่องใส่ Processor มากกว่า 1 ช่องพรอ้ ม CPU คณุ ภาพสูง 4. มักจะใช้งานคูก่ ับ Monitor หลายๆตวั 5. มกี าระประมวลผลผ่าน OS ด้วยคณุ ภาพระดับสงู 6. มี Graphic Cards หรือการด์ จอระดบั สงู 7. มีการระบายความร้อนทดี่ ี ทำให้ใช้งานไดอ้ ย่างต่อเน่ือง

15 Workstation นัน้ มปี ระสทิ ธิภาพการทำงานที่สูงกวา่ คอมพวิ เตอรท์ วั่ ไปในทกุ ชน้ิ สว่ น โดยเฉพาะตัว หนว่ ยประมวลผล (CPU), การ์ดจอ (Graphic) และ หนว่ ยความจำ (Ram) ส่งผลให้สามารถรองรับ การใช้งานระดับสงู พรอ้ ม ๆ กัน ณ เวลาเดยี วกนั ได้ ยกตัวอยา่ งเชน่ • งานด้านการออกแบบ 3 มติ ิ • งานประมวลผลทางวิศวกรรม • งานประมวลผลทางด้านคณติ ศาสตร์ • งานดา้ นเรนเดอรแ์ ละเอนิเมช่นั โดย ท ั่วไป ลัก ษณ ะภาย น อ ก ขอ ง Workstation จะมีรูป ท รงแ ละก ารอ อ ก แบบ เหมือน คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ทั่วไป โดยมักใช้งานคู่กับหน้าจอความละเอียดสูง เมาส์ และ คีย์บอร์ด โดย อาจมีการใชง้ านรว่ มกบั อุปกรณเ์ สรมิ เพอ่ื เพิ่มประสทิ ธิภาพขึ้นไปอีก อาทิเช่น จอเสริม, แทปเลท, อุปกรณ์ Network แบบพเิ ศษ, เมาส์ปากกา และอนื่ ๆ ความเปน็ มาของ Workstation คอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่อาจจะนิยามได้ว่าเป็น Workstation คือ IBM 1620 ซึ่งเป็น คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบสำหรับการใช้งานคนเดียว เพื่องานประมวลผลด้านวิทยาศาสตร์ มีลักษณะ ตัวเครื่องค่อนข้างใหญ่ เทียบได้กับโต๊ะหนึ่งตัว ตามรูปภาพ โดยทางผู้ผลิตได้มีการเปิดตัวสินค้าในปี 1960 IBM ทำการปลอ่ ยเช่าสนิ ค้ารุ่นนี้ในราคา 1,000 $ ตอ่ เดือน ซึง่ ถา้ เทียบคา่ เงินกลับมาในยุคน้ีแล้ว

16 มีมูลค่าการสงู ถึงกว่า 9,000 $ หรือประมาณ 270,000 บาทต่อเดอื นเลยทีเดยี วครบั ต่อมาในยุค 1970s ทาง MIT ไดพ้ ัฒนาคอมพวิ เตอรโ์ มเดลหนงึ่ เรยี กวา่ รนุ่ Lisp Machine ซึ่งถอื ว่านยิ ามเป็น Workstation ได้เช่นกัน เพราะมีจุดประสงคเ์ พื่อใช้งานในการประมวลผลระดับสงู รองรับระบบเครือข่าย และใช้งาน ไดห้ ลากหลายจุดประสงค์ โดยเร่ิมมีการจำหนา่ ยคอมพิวเตอร์ชนดิ นใ้ี นระดับองคก์ รเมอื่ ปี 1980 อปุ กรณ์ ชนิดนี้ ได้กลายเป็นต้นแบบของเวิร์คสเตชั่นรุ่นหลังจากนั้น ซึ่งมีการออกแบบ ผลิต และใช้งานอย่าง แพร่หลายมากข้ึนเร่ือยๆ ในยุคถดั มาเร่มิ มีการพฒั นาอยา่ งรวดเรว็ ในยคุ 1980s ในช่วงยุค 1980s มีการคิดค้นหน่วยประมวลผลแบบ 32-bit ขึ้น ทำให้มีบริษัทชั้นนำ มากมายเริ่มพัฒนาสินค้าของแบรนด์ตนเองในกลุ่ม Workstation เรียกได้ว่าเป็นยุคที่มีการเติบโต อย่างสูงในกลุ่มสินค้าชนิดนี้เลยก็ว่าได้ นอกจากนี้ ด้วยการพัฒนา Microprocessors RISC ในช่วง กลางยุค 80s ทำให้หลายๆแบรนด์เริ่มผลิตเวิร์คสเตชั่นเป็นของตนเองโดยใช้งานคู่กับ ไมโครโปรเซสเซอร์รุ่นดังกล่าว เวิร์กสเตชันมักจะมีราคาที่ค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จะแพงกว่า คอมพิวเตอร์มาตรฐานทั่วไปหลายเท่าตัว บางครั้งราคา 1 เครื่องอาจจะสามารถซื้อรถยนต์ได้ 1 คัน เลยทีเดียว อย่างไรก็ตาม มูลค่าที่สูงนั้น มาพร้อมกับการประมวลผลที่รวดเร็ว, ระบบเครือข่ายท่ี รวดเรว็ และ กราฟฟคิ ทท่ี รงพลัง นอกจากนี้อกี หนง่ึ จุดเด่นของ Workstation คอื ถกู ออกแบบขึ้นมา ให้ทำงานและเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสมดุล เมื่อรันโปรแกรม ข้อมูลจะถูกประมวลอย่างไหลลื่น ไม่ติด เปน็ คอขวด Client (ลกู ค้าหรือผรู้ ับบรกิ าร) เครือ่ งคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายทสี่ ามารถเรียกขอ้ มูลขา่ วสารหรือโปรแกรมจากเครอ่ื งบริการ แฟม้ file server มาใช้ได้ หรืออาจหมายถึงเคร่ืองท่ีทำงานอยา่ งอิสระ โดยใช้โปรแกรมท่มี ีอยู่ในเคร่อื ง นนั้ เองกไ็ ด้ ดู file server ประกอบ เครื่องคอมพวิ เตอรท์ ส่ี ามารถใช้ข้อมลู ร่วมกับเครอ่ื งอนื่ ได้ โดยใช้ระบบ DDE หรือ dynamic data exchange ดู dynamic data exchange ประกอบ

17 Terminal (เทอรม์ ินลั ) Terminal (เทอรม์ ินัล) เปน็ อุปกรณใ์ นระบบคอมพวิ เตอร์ทมี่ ีหนา้ ทใี่ นการรับและส่งข้อมูลเขา้ ระบบโดยคอมพวิ เตอรจ์ ะรับจาก Terminal (เทอร์มินัล) แล้วจะเอาไปประมวลผลอกี ทีนึงหรอื ไม่ก็ แล้วแต่ท่ีจะนำไปใช้ในระบบต่อไปได้โดยตัว Terminal (เทอร์มินัล) จะมีอปุ กรณต์ า่ งๆ อาทเิ ชน่ คีย์บอร์ด เมาส์ จอภาพ Printer(ปร้ินเตอร์) เปน็ ตน้ โดยจะเชอื่ มต่อผ่านสายขอ้ มูลต่างๆ เข้ากบั แม่ ข่ายคอมพวิ เตอรโ์ ดยตวั เครอื่ งแมข่ า่ ยจะเป็น เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มนิ คิ อมพิวเตอร์ โดยแมข่ ่าย เดยี วกันจะมตี ัว Terminal (เทอรม์ นิ ลั ) หลายเคร่อื งมาเชือ่ มต่อเข้าด้วยกนั และยงั สามารถสอื่ สาร ข้อมลู ถงึ กันได้อย่างรวดเร็ว ประเภทของ Terminal (เทอรม์ นิ ัล) แบ่งได้ 5 ประเภท ดังน้ี 1) Dumb Terminals (ดัมเทอรม์ นิ ลั ) เป็นตวั Terminal (เทอร์มินลั ) ท่ีไมส่ ามารถ ประมวลผลได้ด้วยตนเองหรือมีการประมวลผลได้น้อยมาก โดยมกั จะมกี ารเชอ่ื มตอ่ เข้ากับ ตัวเมนเฟรมคอมพวิ เตอรใ์ หป้ ระมวลผลแทนตวั มนั เอง 2) Smart X Terminals (สมาร์ทเอ็กซ์เทอร์มินัล) หรอื X Terminals (เอก็ ซเ์ ทอร์มินลั ) เป็นตวั Terminal (เทอร์มนิ ัล) ทมี่ คี วามสามารถประมวลได้เทยี บเท่ากบั ตวั ไมโครคอมพิวเตอร์ โดยสามารถเชือ่ มต่ออุปกรณ์ได้หลายอุปกรณ์ไม่ว่าจะเปน็ เมาส์ คีย์บอรด์ จอภาพ ปรน้ิ เตอร์ เป็นต้น 3) Telephone Terminals (เทเลโฟน เทอร์มินัล) เป็นตวั Terminal (เทอรม์ นิ ัล) ท่ีใช้ใน การรับและส่งข้อมลู แบบเสียงเช่น โทรศัพท์ทใี่ ชใ้ นการสอ่ื สารและมกี ารเช่อื มต่อเข้ากับ ระบบคอมพิวเตอรด์ ว้ ยจึงทำใหม้ ันทำงานรับส่งข้อมูลไดม้ ากกว่าเสยี งโดยสามารถรับและ ส่ง ตัวอกั ษร ภาพ เปน็ ต้น 4) ATM Terminal (เอทเี อ็ม เทอรม์ นิ ัล) เป็นเครือ่ งเอทเี อ็มทีม่ กี ารเช่ือมตอ่ เข้ากับแมข่ า่ ย ของธนาคารโดยจะสามารถฝากถอนเงนิ โอนเงินไดโ้ ดยจะต้องมกี ารใชบ้ ัตรแตใ่ นปจั จบุ นั สามารถกดตังโดยไมต่ ้องใช้บตั รได้แล้ว 5) POS Terminal (พโี อเอส เทอร์มินลั ) เปน็ ตัว Terminal (เทอรม์ ินัล) ทีใ่ ช้กนั ใน ห้างสรรพสินค้าโดยจะมีตัวสแกนบารโ์ ค้ดเพื่ออา่ นบาร์โคด้ สนิ ค้าได้และมเี คร่อื งพมิ พ์ ใบเสรจ็ ต่อกับตัว Terminal (เทอรม์ ินลั ) อกี ด้วย มีหน้าจอในการแสดงสนิ ค้าตา่ งๆได้ Modem หรอื เรยี กมีชอ่ื อกี อย่างว่า Modulation เปน็ อปุ กรณ์ทที่ หี นา้ ทใี่ นการแปลงสัญญาณ อนาล็อกให้เปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอล เพื่อให้สามารถ รองรับการส่งสัญญาณข้อมูลที่เป็นทั้งภาพ

18 และเสียงผ่านสายโทรศัพท์พื้นฐานทั่วไป ซึ่งโดยปกติแล้วสายโทรศัพท์จะถูกออกแบบให้ สามารถส่ง สัญญาณแบบ อนาล็อก หรือสัญญาณของเสียงเท่านั้น ดังนั้นโมเด็มก็เลยจะประกอบไปด้วยหน้าท่ี สำคัญ 3 ส่วนได้แก่ หนึ่งส่วนที่เปลี่ยนสัญญาณดิจิตอล ให้เป็นสัญญาณ อนาล็อกเพื่อให้สามารถ ส่งผ่านข้อมูลต่างๆ ไปยังสายโทรศัพท์ได้ สองส่วนที่เปลี่ยนสัญญาณอนาล็อก ที่ถูกส่งกลับมาจาก สายโทรศัพทใ์ ห้เปล่ียนเป็นสัญญาณ ดิจติ อล เพื่อนำไปใชง้ านตอ่ ไป และสามสว่ นท่ีดแู ล และความคุม การทำงาน Digital Interface แยกออกตามการใชง้ านได้ 2 ประเภทใหญ่ ดงั น้ี 1. ความเร็วในการสง่ ผ่านข้อมูล 2. รปู แบบการติดตัง้ ใชง้ าน การแบง่ ตามความเร็วในการสง่ สามารถแยกประเภทย่อยได้อกี 4 ประเภท 1.1 โมเด็มความเร็วต่ำ มคี วามเรว็ ตง้ั แต่ 300bps จนถึง 4,800bps 1.2 โมเด็มความเรว็ ปานกลาง มคี วามเร็ว ต้งั แต่ 9,600bps ถงึ 14,400bps 1.3 โมเดม็ ความเร็วสูง มีความเร็ว ต้ังแต่ 19,200bps ถึง 28,800bp 1.4 โมเด็มความเรว็ สูงพเิ ศษ มีความเร็วที่ 56,000bps หรอื 56Kbps การแบ่งออกตามรปู แบบการตดิ ตั้งใช้งาน สามารถแบ่งประเภทยอ่ ยได้อีก 3 ประเภท 2.1 Internal การตดิ ต้ังแบบภายใน 2.2 External การติดตง้ั ทปี่ ระกอบไปดว้ ยอแด็ปเตอร์ที่ใช้เชอ่ื มตอ่ กับไฟฟ้าภายในบา้ นเอง โดยไม่ ต้องใช้ไฟร่วมกบั เครอื่ งคอมพิวเตอร์เหมือนโมเดม็ แบบตดิ ตั้งภายใน ทำให้การทำงานของ เครือ่ ง คอมพวิ เตอรเ์ สถียรมากกว่า

19 2.3 PCMCIA การตดิ ตั้งท่ีมลี กั ษณะเป็นการ์ดขนาดเล็ก ทีเ่ มื่อเวลาจะ ใช้งาน จะต้องเสยี บเข้ากบั สล็อต PCMCIA ทปี่ กตจิ ะมบี นเครอ่ื งคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุก และโมเดม็ ประเภทนีจ้ ะมรี าคาทีส่ ูง ข้อดี ขอ้ เสีย ของการเชอ่ื มต่อเครือขา่ ยแบบบสั (bus topology) ขอ้ ดขี องการเชื่อมตอ่ เครอื ข่ายแบบบสั - ประหยัดค่าใชจ้ ่าย - ตน้ ทุนนอ้ ย - มสี ื่อนำขอ้ มูลนอ้ ย - หากเคร่ืองคอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งไหนเสียก็ไม่กระทบอะไรกับเคร่อื งอื่นๆ

20 ข้อเสยี ของการเชือ่ มต่อเครอื ข่ายแบบบัส - หากมีคอมพวิ เตอร์เพิม่ ขึ้นมากจ็ ะทำให้การส่งขอ้ มลู ท่ยี ากเพราะอาจเกดิ การชนกันได้ - ในกรณที ีม่ ีปญั หานนั้ จะทำให้การดำเนินการตรวจสอบยากกว่าจะเจอจุดทเี่ กดิ ปัญหา - ในกรณีทมี่ อี ุปกรณ์ตวั ใดตัวหนึ่งเสียหรือพงั กจ็ ะสง่ ผลใหก้ ารทำงานหยุดลงได้ ขอ้ ดี-ข้อเสยี Star Topology(โทโปโลยีแบบดาว) ข้อดี Star Topology(โทโปโลยีแบบดาว) - มีความคงทนมากกว่าแบบบสั โดยหากสายเคเบิลทางโหนดเสยี หายจะไม่กระทบต่อโหมด อน่ื ๆ - การวเิ คราะห์จุดเสียหายบนเครือข่ายทำได้ง่ายกว่า เนือ่ งจากมีฮบั เปน็ ศนู ย์กลาง - สามารถเพม่ิ เติมอุปกรณ์ หรือถอดอุปกรณอ์ อกได้งา่ ยและไมร่ บกวนสว่ นอ่นื ข้อเสยี Star Topology(โทโปโลยแี บบดาว) - ส้ินเปลอื งสายเคเบิล เนอ่ื งจากทกุ ๆ โหนดตอ้ งมสี ายเคเบิลเชื่อมโยงกับฮบั - ถ้า Hub/Switch ทีเ่ ชอื่ มอยู่ตรงกลางมีปัญหา จะทำให้ระบบเครอื ขา่ ยทั้งหมดมีปัญหาไปดว้ ย - คา่ ใช้จ่ายสูงกวา่ การตอ่ แบบ Bus เนอ่ื งจากจำ เปน็ ตอ้ งมี Hub หรอื Switch เชื่อมตรงกลาง

21 ขอ้ ดี- ขอ้ เสีย ของโครงสรา้ งเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบวงแหวน (ring topology) ขอ้ ดี - ใช้เคเบลิ และเน้ือที่ในการติดตั้งนอ้ ย - คอมพวิ เตอร์ทุกเครือ่ งในเนต็ เวริ ก์ มโี อกาสทจ่ี ะสง่ ข้อมูลไดอ้ ยา่ งทดั เทียมกนั -ของการเชื่อมต่อแบบน้ีคอื ใชส้ ายสง่ สญั ญาณนอ้ ยกวา่ แบบดาว เหมาะกบั การเชื่อมต่อ ดว้ ย สายสญั ญาณใยแก้วนำแสง เพราะสง่ ขอ้ มูลทางเดยี วด้วยความเรว็ สูง ข้อเสีย - หากโหลดใดโหลดหนึ่งเกดิ ปญั หาขน้ึ จะคน้ หาไดย้ ากว่าต้นเหตุอยทู่ ่ีไหน และวงแหวนจะขาดออก -คอื ถ้าสถานใี ดเสยี ระบบกจ็ ะไมส่ ามารถทำงานตอ่ ไปได้ จนกว่าจะแกไ้ ขจุดเสียนน้ั และยากในการ ตรวจสอบว่ามีปัญหาท่จี ดุ ใด และถ้าต้องการเพม่ิ สถานีเข้าไป จะกระทำไดย้ าก

22 ประโยชนข์ องการสอ่ื สารข้อมลู ผา่ นเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ความสำคญั ของการสือ่ สารขอ้ มูลผ่านเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ เป็นสงิ่ ทตี่ ระหนักกันอย่างมากใน ปัจจบุ นั ด้วยเหตวุ า่ การสอื่ สารข้อมูลผ่านเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรม์ ีประโยชน์หลายประการด้วยกัน 1. จัดเกบ็ ข้อมูลไดง้ า่ ยและสอ่ื สารไดร้ วดเร็ว การจัดเกบ็ ขอ้ มลู ซ่ึงอยใู่ นรปู ของสญั ญาณอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สามารถจดั เก็บไวใ้ นแผน่ บันทกึ (Diskette)ท่มี คี วามหนาแนน่ สูงได้ แผน่ บันทึกแผ่นหนึง่ สามารถบันทกึ ขอ้ มูลได้มากกว่า 1 ล้าน ตัวอักษรสำหรับการสือ่ สารขอ้ มูลนน้ั ถ้าข้อมลู ผ่านสายโทรศพั ท์ได้ดว้ ยอตั รา 120 ตวั อักษรตอ่ วินาที แล้ว จะสามารถส่งขอ้ มลู 200 หนา้ ไดใ้ นเวลา 40 นาที โดยที่ไม่ตอ้ งเสยี เวลามานั่งป้อนขอ้ มลู เหลา่ น้ันซ้ำใหมอ่ กี 2 .ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู โดยปกตมิ ีการส่งขอ้ มลู ดว้ ยสัญญาณทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ จากจุดหนง่ึ ไปยงั จดุ อ่ืนด้วยระบบ ดิจทิ ลั วธิ ีการรบั สง่ นน้ั จะมีการตรวจสอบสภาพของขอ้ มลู หากขอ้ มลู ผดิ พลาดก็จะมกี ารรับรู้และ พยายามหาวิธีการแก้ไขใหข้ อ้ มูลที่ไดร้ ับ มีความถูกต้องโดยอาจให้ทำการส่งใหมห่ รอื กรณีผิดพลาดไม่ มากฝา่ ยผรู้ บั อาจใช้โปรแกรมของตนเองแกไ้ ขข้อมลู ให้ถูกต้องได้ 3. ความเรว็ ของการทำงาน สญั ญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเทา่ แสงทำให้การใช้คอมพิวเตอรส์ ่งขอ้ มลู จากซกี โลกหนึ่งไปยังอีกซกี โลกหน่งึ หรอื ค้น หาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทำไดอ้ ย่างรวดเร็ว ความรวดเรว็ ของระบบจะทำให้ผ้ใู ชส้ ะดวกสบายอยา่ งยิ่ง เชน่ บรษิ ัทสายการบนิ ทกุ แห่งสามารถทราบ ขอ้ มูลของทุกเท่ยี วบนิ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วทำใหก้ ารจอง ท่นี ง่ั ของสายการบนิ สามารถทำไดท้ ันที 4. การแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ทำได้งา่ ย โดยผ้ใู ชใ้ นเครอื ขา่ ยสามารถทจี่ ะดงึ ข้อมลู จากสว่ นกลางหรอื ขอ้ มลู จากผใู้ ช้คนอื่นมาใชไ้ ดอ้ ย่าง รวดเร็วและง่ายดายเหมอื นกบั การดงึ ข้อมลู มาใชจ้ ากเครื่องของตนเอง และนอกจากดงึ ไฟล์ข้อมลู มาใช้ แลว้ ยงั สามารถคดั ลอกไฟล์ไปให้ผอู้ น่ื ไดอ้ กี ดว้ ย

23 5. ใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ทีเ่ ชื่อมตอ่ กับเครือข่ายน้ัน ถอื ว่าเปน็ ทรพั ยากรสว่ นกลางท่ผี ใู้ ช้ใน เครือขา่ ยทกุ คน สามารถใช้ได้โดยการสัง่ งานจากเครือ่ งคอมพิวเตอร์ของ ตวั เองผา่ นเครือข่ายไปยัง อุปกรณน์ น้ั เช่น มีเครือ่ งพิมพส์ ว่ นกลางในเครอื ข่าย เปน็ ต้น ซง่ึ ทำให้ประหยดั คา่ ใช้จา่ ยได้ดว้ ย 6. ใช้โปรแกรมร่วมกัน ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถทจ่ี ะรันโปรแกรมจาก เคร่ืองคอมพิวเตอรส์ ่วนกลาง เช่น โปรแกรม Word Excel PowerPoint ได้ โดยไม่จำเป็นจะต้องจดั ซือ้ โปรแกรม สำหรบั คอมพิวเตอร์ทุกเครอ่ื ง เป็นการประหยัดงบประมาณในการจัดซอื้ และยังประหยัดเนอ้ื ท่ีในหนว่ ยความจำดว้ ย 7. ความเชอื่ ถอื ไดข้ องระบบงาน นับเปน็ ส่ิงท่สี ำคัญสำหรับการดำเนนิ ธุรกิจ ถ้าทำงานได้เรว็ แตข่ าดความนา่ เชือ่ ถือก็ถือวา่ ใช้ ไมไ่ ด้ ไม่มปี ระสทิ ธภิ าพดังนั้นเม่อื นำระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ มาใช้งาน ทำระบบงานมี ประสทิ ธิภาพ มีความนา่ เช่ือถอื ของข้อมลู เพราะจะมกี ารทำสำรองขอ้ มูลไว้ เม่ือเคร่อื งทใ่ี ช้งานเกิดมี ปญั หา กส็ ามารถนำข้อมลู ท่ีมีการสำรองมาใช้ได้ อยา่ งทนั ที 8. การแชร์อนิ เทอรเ์ น็ต ภายในระบบเครือข่ายคณุ สามารถแชร์อนิ เตอร์เนต็ เพือ่ ใชร้ ่วมกนั ได้ โดยทค่ี ณุ ไม่จำเป็นต้อง ซื้อ Internet Account สำหรับทกุ ๆเครอ่ื งและไมจ่ ำเป็นตอ้ งติดต้ังโมเด็มทกุ เครือ่ ง ซ่ึงก็จะช่วยใหค้ ุณ ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยได้มาก 9. สามารถใช้โปรแกรมร่วมกันหลายๆ เคร่ืองได้ เชน่ ในห้อง LAB คอมพิวเตอร์ที่มจี ำนวน คอมพวิ เตอร์ทีม่ ีจำนวนเครอื่ งในระบบจำนวน 30 เครื่อง คณุ สามารถซ้อื โปรแกรมเพยี งแค่ 1 ชุดและสามารถใชง้ านร่วมกันได้ ซึ่งจะทำให้สะดวกในการ ดแู ลรักษาด้ว

24 เครอื ข่ายท้องถิน่ ระบบเครอ่ื งข่ายท้องถิ่น LAN (Local Area Network) เปน็ เครือข่ายระยะใกล้ ในระยะทาง ไม่เกิน 10 กโิ ลเมตร ไมต่ ้องใช้โครงข่ายการส่อื สารขององคก์ ารโทรศัพท์ คอื จะเปน็ ระบบเครือข่ายที่ อย่ภู ายในอาคารเดียวกนั หรือต่างอาคาร ในระยะใกลๆ้ รูปแบบการทำงานของระบบเครือขา่ ยแบบหนึ่ง ที่ช่วยให้เครื่องคอมพวิ เตอร์ (Computer) เคร่ืองพมิ พ์ (Printer) และอปุ กรณ์ใช้งานทาง คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ สามารถเชื่อมโยงเอกสาร ส่งข้อมูล ติดต่อใช้งานร่วมกันได้ การติดต่อสื่อสารของอุปกรณ์ จะอยู่ในบริเวณแคบ เช่น ภายในอาคาร สำนักงานภายในคลงั สนิ ค้าโรงงาน หรือระหวา่ งตึกใกล้ ๆ เช่อื มโยงด้วย สายสอ่ื สารจงึ ทำให้มคี วามเร็ว ในการส่อื สาร ข้อมูลด้วยความเรว็ สูง และมีความผิดพลาดของขอ้ มลู ตำ่

25 เครือขา่ ยระดับเมือง(MAN) เครือข่ายระดับเมือง ( Metropolitan Area Network : MAN ) เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเปน็ วง ที่ใหญข่ ึน้ ภายในพ้ืนที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งออกแบบมาเพื่อใชง้ านให้ครอบคลมุ เมอื งทงั้ เมือง ซึง่ อาจเป็นเครอื ขา่ ยเดียวกัน เชน่ เครือข่ายเคเบิลทีวี หรอื อาจเปน็ การรวมเครือข่ายกัน ของเครอื ข่าย LAN หลาย ๆ เครอื ขา่ ยเข้าด้วยกัน MAN ยอ่ มาจาก Metropolitan Area Network คอื เครือขา่ ยระดับเมือง ซ่ึงเป็นเครือข่ายที่ มักเชื่อมโยงกันเฉพาะในเขตเมืองเดียวกัน หรือหลายเขตเมืองที่อยู่ใกล้กัน ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร ระบบเครือข่าย MAN เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ข้ึน ภายในพื้นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งออกแบบมาเพื่อใช้งานให้ครอบคลุมเมืองทั้งเมือง ซึ่งอาจเป็นเครือข่าย เดียวกัน เช่น เครือข่ายเคเบิลทีวี หรืออาจเป็นการรวมเครือข่ายกันของเครือข่าย LAN หลาย ๆ เครือขา่ ยเขา้ ด้วยกัน ตัวอย่าง เช่น ภายในมหาวิทยาลยั หรือในสถานศกึ ษาหนึ่งๆ จะมรี ะบบ MAN เพือ่ เช่อื มต่อระบบ LAN ของแตล่ ะคณะวชิ าเข้าดว้ ยกนั เป็นเครอื ข่ายเดียวกันในวงกว้าง เทคโนโลยที ่ใี ช้ในเครือขา่ ย MAN ได้แก่ ATM, FDDI และ SMDS ระบบเครือข่าย MAN ที่จะเกิดในอนาคตอันใกล้ คือระบบที่จะ เชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์ภายในเมืองเข้าด้วยกันโดยผ่านเทคโนโลยี Wi-Max

26 เครอื ข่ายระดบั ประเทศ ( Wide Area Network : WAN) เปน็ เครอื ข่ายคอมพิวเตอรท์ ี่เชอ่ื มโยงระบบคอมพิวเตอรใ์ นระยะห่างไกล เป็นเครือข่ายขนาด ใหญ่ มีการติดต่อต่อสื่อสารกันในบริเวณกว้าง เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ การ สร้างเครือข่ายระยะไกลจึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ เช่น การสื่อสารแห่ง ประเทศ ไทย ใชว้ งจรสอื่ สารผา่ นดาวเทียม ใชว้ งจรสือ่ สารเฉพาะกิจท่ีมีให้ บริการแบบสาธารณะ เครือข่ายแวน จึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกล และต้องการเชื่อมสาขา เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร มีสาขาท่วั ประเทศ มีบริการรบั ฝากและถอนเงินผา่ นตู้เอทีเอ็ม เครอื ขา่ ยแวนยังสมารถเป็นได้ ทั้ง แบบ Switched-WAN และ Point-to-Point WAN โดยที่ Switched-WAN คือ เป็นระบบ WAN ที่เชื่อมต่อ กับระบบปลายทาง ซึ่งโดยปกติ มัก หมายถงึ อปุ กรณ์ router ทีน่ ำไปใช้ สำหรับเช่อื มต่อ เครอื ข่ายอนิ เตอร์เนต็ ใหส้ ามารถเชื่อมโยง ไปยัง เครือข่ายอื่น อย่างเครือข่ายLAN หรือ เครือข่าย WAN เป็นต้น ตัวอย่าง service-WAN ในยุคแรก เช่น X.25 ซึ่งต่อมา ก็ถูกทดแทนเทคโนโลยี frame layer นอกจากนี้ ยังมีระบบ atm รวมถึง wireless-WAN ที่จดั เป็นเทคโนโลยี ทไ่ี ด้รบั การกลา่ วขานมาก

27 Point-to-Point WAN คอื เป็นระบบ WAN ทีใ่ ช้สายส่ือสาร จากระบบโทรศพั ท์ หรอื เคเบิล้ ทีวี ที่เช่ือมต่อกับคอมพวิ เตอร์ ตามบ้าน หรือเครอื ขา่ ยLANขนาดเล็ก เพ่อื ไปยงั บรษิ ทั ผู้ใหบ้ ริการ อินเตอรเ์ นต็ (internet service Provider :ISP) ซง่ึ WAN ชนดิ นี้ บ่อยครัง้ ทีน่ ำมาใช้ เพ่ือการเขา้ ถงึ อนิ เตอรเ์ นต็ ประโยชนข์ องระบบเครือขา่ ยไร้สาย 1. mobility improves productivity & service มคี วามคลอ่ งตัวสูง ดังนน้ั ไม่ว่าเราจะ เคลอ่ื นท่ไี ปท่ีไหน หรือเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอรไ์ ปตำแหน่งใดกย็ งั มีการเช่ือมตอ่ กับเครอื ข่าย ตลอดเวลา ตราบใดทีย่ งั อยู่ในระยะการสง่ ข้อมลู 2. installation speed and simplicity สามารถติดต้ังได้ง่ายและรวดเร็ว เพราะไม่ต้อง เสยี เวลาติดตงั้ สายเคเบลิ และไม่รกรุงรงั 3. installation flexibility สามารถขยายระบบเครือขา่ ยไดง้ ่าย เพราะเพียงแคม่ ี พีซีการด์ มา ตอ่ เข้ากับโน๊ตบุ๊ค หรอื พซี ี ก็เข้าสเู่ ครือข่ายไดท้ นั ที 4. reduced cost- of-ownership ลดค่าใช้จา่ ยโดยรวม ท่ีผูล้ งทนุ ตอ้ งลงทนุ ซ่งึ มรี าคาสูง เพราะในระยะยาวแล้ว ระบบเครอื ข่ายไร้สายไม่จำเป็นต้องเสยี คา่ บำรุงรักษาและการขยายเครือขา่ ยก็ ลงทนุ น้อยกว่าเดมิ หลายเท่า เนื่องด้วยความง่ายในการตดิ ต้ัง 5. scalability เครอื ข่ายไร้สายทำใหอ้ งคก์ รสามารถปรบั ขนาดและความเหมาะสมได้ง่ายไม่ ยุ่งยาก เพราะสามารถโยกย้ายตำแหน่งการใช้งานโดยเฉพาะระบบทม่ี กี ารเชอ่ื มระหว่างจุดตอ่ จดุ เช่น ระหวา่ งตึก

28 รายงานเร่อื ง ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จดั ทำโดย นางสาวกรกนก ทลู ฉลอง รหัสนักศกึ ษา 4641072141101 นายจริ าเมศร์ ประเสริฐศกั ด์ิ รหัสนักศกึ ษา 4641072141102 นางสาวจุฑาทพิ ย์ จำนงค์ผล รหัสนกั ศกึ ษา 4641072141103 นางสาวธัญสุดา ณ เชียงใหม่ รหัสนกั ศึกษา 4641072141104 นางสาวณัฏฐ์ชุภา ดวนมีสขุ รหัสนักศึกษา 4641072141105 นายณัฐกฤช เจรญิ พืช รหัสนกั ศกึ ษา 4641072141106 นายทรงยศ คำอยู่ นายธนชิต สุขศรี รหัสนักศกึ ษา 4641072141107 นายธีรภัทร์ ชชู ิต รหัสนักศกึ ษา 4641072141108 นายนวพล รหัสนักศกึ ษา 4641072141109 นางสาวนัทธ์ชนัน หมดั สุเดน็ รหสั นักศกึ ษา 4641072141110 นายนติ ิพงษ์ จติ จำ รหสั นักศกึ ษา 4641072141111 นางสาวพรหมพร คำนะ รหัสนกั ศึกษา 4641072141112 นางสาวภัทรวดี เอมสรรค์ รหัสนักศกึ ษา 4641072141113 นายวรินทร มิ่งมาลี รหสั นักศกึ ษา 4641072141114 นายวัฒนา รหสั นกั ศึกษา 4641072141115 นายสะกดิ เครือพัฒน์ รหัสนักศึกษา 4641072141116 นางสาวสุวลักษณ์ วรสารศิริ รหัสนกั ศกึ ษา 4641072141117 นายหิรญั กฤษฏ์ ใบสี รหัสนักศึกษา 4641072141118 วงชมภู รหัสนกั ศกึ ษา 4641072141119 ผสมทรพั ย์

29 นายอโนชา ดฐิ มาตย์ รหัสนกั ศึกษา 4641072141120 นางสาวอนสิ า นนทสอน รหสั นกั ศกึ ษา 4641072141121 นางสาวโชติกา เล้าประเสรฐิ รหัสนักศึกษา 4641072141122 นางสาวชนากานต์ ตชั ชนานุสรณ์ รหสั นักศกึ ษา 4641072141123 นายณรงค์พร ใจเที่ยง รหัสนกั ศกึ ษา 4641072141124 นางสาวบตุ รนำ้ เพชร แซต่ ้งั รหัสนกั ศึกษา 4641072141125 นางสาวทิพย์ธิดา ส้ินโศรก รหสั นกั ศึกษา 4641072141126 นางสาวศินัฐตา จนั ดาหาญ รหัสนกั ศึกษา 4641072141127

30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook