Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพูดต่อที่ประชุมชน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

การพูดต่อที่ประชุมชน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Published by uniyoona744, 2021-08-25 18:34:29

Description: การพูดต่อที่ประชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ ย่อมก่อให้เกิดผลดีทั้งแก่ผู้พูดและส่วนรวม ผู้ที่ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน ส่วนหนึ่งอาศัยการพูดเป็นสื่อชักนำความสำเร็จของตน การฝึกฝนการพูด ควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ พร้อมทั้งเข้าใจหลักการ และหลักเกณฑ์ของการพูดเป็นอย่างดี จึงจะส่งผลให้การพูดสัมฤทธิผลเป็นที่ประทับใจผู้ฟัง

Keywords: การพูดต่อที่ประชุม

Search

Read the Text Version

คณุ ครูวศิ รตุ คณุ ครพู ัชรมยั



การพูด หมายถึง การถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความรสู้ กึ และความตอ้ งการของผูพ้ ูดออกมา โดยอาศัย ถอ้ ยค้า น้าเสียง และกิริยาท่าทางที่เหมาะสมกับสภาพ วฒั นธรรม ทา้ ให้ผูฟ้ ังสามารถรับรูเ้ ข้าใจจุดมุ่งหมายของ ผู้พูดได้อย่างกระจ่างชัด และสามารถแสดงปฏิกิริยา โต้ตอบให้ผูพ้ ูดทราบจนเป็นที่เขา้ ใจตรงกันได้ การพูดที่ดี จึงหมายถึง การพูดที่มีวัตถุประสงค์ที่แน่ชัด และได้รับการตอบสนองจากผู้ฟัง ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ท่ีตังใจ รวมทังผู้พูดควรมีความจริงใจและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อการพูดของตน

การพูดต่อที่ประชุม คือ การพูดในท่ีสาธารณะ มีผู้ฟัง เป็นจ้านวนมาก ผู้พูดต้องสนใจปฏิกิริยาตอบสนองของผู้ฟัง ทังที่เป็นวัจนภาษาและอวัจนภาษา การพูดต่อหน้าประชุมชน เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้พูดได้แสดงความสามารถเฉพาะตัว เปน็ ทงั ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ซง่ึ ไมจ่ า้ เปน็ ตอ้ งอาศยั พรสวรรคเ์ สมอไป สามารถฝกึ ฝนได้ นอกจากนกี ารฝกึ พดู ตอ่ ทป่ี ระชมุ ชน ยังเป็น วิธีท่ีดีอีกวิธีหน่ึงในการปรับปรุงบุคลิกภาพทังภายในและ ภายนอก เพ่ือพัฒนาให้เป็นนักพูดที่ดี

การพูด การพดู ทด่ี ี ความหมายของการพดู ตอ่ ทป่ี ระชุมชน การพดู ตอ่ ทปี่ ระชุม



ในการพูดแต่ละครัง ไม่ว่าจะเป็นการพูดระหว่างบุคคล การพูดในกลุ่ม และการพูดต่อท่ีประชุมชน ยอ่ มจะตอ้ งมีจดุ มงุ่ หมาย โดยทั่วไปแล้วจุดมุ่งหมายของการพูด มีดังนี 1. เพอื่ บอกเรอื่ งราวทคี่ วรรู้แกผ่ ฟู้ งั 2. เพือ่ สรา้ งความบันเทงิ ใจใหแ้ กผ่ ฟู้ งั 3. เพอ่ื จงู ใจผฟู้ งั 3.1 การทา้ ใหเ้ ชอื่ 3.2 การเรา้ ความรสู้ กึ 3.3 การสร้างความประทบั ใจ

1. เพื่อบอกเร่ืองราวที่ควรรู้แก่ผู้ฟัง ตามปกติมนุษย์มีความสนใจท่ีจะรู้เรื่องราวใน ชีวิตประจ้าวันที่ก้าลังเกิดขึนกับเพ่ือนบ้าน กับชาติ หรือกับโลก หรือต้องการเรียนรู้ เก่ียวกบั อาชพี หรือความสา้ เรจ็ ของบคุ คลทงั ทเ่ี สยี ชวี ติ ไปแลว้ และยงั มชี วี ิตอยู่ เพ่ือน้าสาระ ความรูม้ าพฒั นาตนเอง หรือเพื่อประเทืองปญั ญาและจิตใจ 2. เพ่ือสร้างความบันเทิงใจให้แก่ผู้ฟัง ตามธรรมดาทุกคนย่อมพอใจท่ีจะได้ฟังเร่ืองราว ท่ีท้าให้ตนเกิดความรู้สึกสนุกสนาน ร่าเริง หรือขบขัน ซ่ึงอาจเป็นเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ ส่วนตัว ข้อบกพร่อง หรือนิสัยของตนเองท่ีท้าให้ผู้อ่ืนเห็นขัน ตลอดจนการพูดที่เก่ียวกับ การผจญภัย ความรัก ความส้าเร็จในชีวิต และเร่ืองของภูตผีปีศาจ เร่ืองเหล่านีจะช่วยให้ผู้ฟัง รูส้ ึกตื่นเตน้ เรา้ ใจ สนกุ สนาน และชว่ ยผอ่ นคลายความตงึ เครียดในชีวิตประจ้าวนั ได้เป็นอยา่ งดี

3. เพ่ือจูงใจผู้ฟัง บางครังมนุษย์มีความจ้าเป็นท่ีจะต้องพูดเรียกร้อง ชกั ชวน โนม้ นา้ วจติ ใจผฟู้ งั ใหร้ ูส้ กึ คลอ้ ยตาม แลว้ กระทา้ ตามความประสงคข์ อง ผูพ้ ูดด้วยการท้าให้เช่อื การเรา้ ความรูส้ ึก และการสรา้ งความประทบั ใจ 3.1 การท้าให้เชื่อ เป็นการพูดที่มุ่งให้ผู้ฟังเปลี่ยนแนวคิด หรือย้าให้มี ความเช่ือม่ันในแนวคิดนัน ๆ มากยิ่งขึน ทังนีผู้พูดจะต้องมีเหตุผล มีข้อโต้แย้ง ที่มนี า้ หนกั มีขอ้ พสิ จู นท์ ป่ี ระกอบด้วยขอ้ เทจ็ จริง หรอื มีขอ้ วจิ ารณ์ของผู้เชย่ี วชาญ รวมทงั มลี ีลาการพูดท่นี ่าเชอื่ ถือ

3.2 การเร้าความรู้สึก เป็นการพูดท่ีมุ่งกระตุ้น หรือเร้าความรู้สึกผู้ฟังให้ปฏิบัติตามแนวคิดของ ผู้พูด ไม่วา่ จะเปน็ การปฏิบัติทีเ่ ก่ียวข้องกบั การเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คม หรอื พฤติกรรมสว่ นบคุ คล เช่น การออกเสยี งเลือกตัง การบริจาคเงินเพ่อื การกุศล และการออกก้าลังกายประจ้าวัน ผู้ฟังจะปฏิบัติตาม ผู้พูดตอ่ เมอ่ื ตนเกดิ ความเช่ือมน่ั วา่ การปฏิบัตติ ามนนั เปน็ เร่ืองทสี่ มควรหรอื เปน็ ประโยชน์ ดงั นนั ผู้พูด ต้องพูดอย่างมีเหตผุ ล มีความจริงใจ และมีความปรารถนาดีไปพร้อม ๆ กันดว้ ย 3.3 การสร้างความประทบั ใจ เปน็ การพูดทม่ี งุ่ ยา้ ความรูส้ ึกและอารมณ์ ของผู้ฟังให้รู้สึกซาบซึงและตระหนักถึงคุณค่าของความดี ความประณีตงดงาม ศลี ธรรมจรรยา และค่านิยมของสังคม โดยผู้พูดตอ้ งพยายามใชต้ วั อยา่ งท่ีผู้ฟัง เคยรูเ้ ห็นและเข้าใจอยูแ่ ลว้ เพอื่ เน้นให้เข้าใจย่งิ ขนึ

1. เพอื่ บอกเร่อื งราวทค่ี วรรแู้ กผ่ ฟู้ งั 2. เพ่ือสรา้ งความบนั เทงิ ใจใหแ้ ก่ผ้ฟู งั จดุ มุ่งหมายของการพดู ตอ่ ทปี่ ระชมุ ชน 3. เพ่ือจงู ใจผ้ฟู งั การทาใหเ้ ชอ่ื การเร้าความร้สู กึ การสรา้ งความประทบั ใจ



ลกั ษณะการพดู ตอ่ ทป่ี ระชมุ ชน แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดงั นี 1. การพูดเดยี่ วหรือพูดคนเดยี ว หมายถงึ ผู้พูดตอ้ งพูดตามลา้ พงั ต่อหน้าท่ีประชุมหรือต่อหน้า ชันเรียน เรื่องที่พูดอาจเป็นการพูดเล่าเรื่อง พูดแสดงความคิดเห็น พูดวิจารณ์ พูดชีแจง หรือพูด สรุปความอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนการเตรียมพร้อมด้านเนือหาสาระ คือ ผู้พูดจะต้องเตรียมเนือ เร่อื งให้เหมาะกบั ผู้ฟัง เหมาะกบั เวลา โอกาสท่ีพูด รวมทังเหมาะกับบุคลิกและอุปนิสัยของผู้พูดด้วย ทังนีควรเป็นเรื่องท่ีมีจุดมุ่งหมายเพียงประการเดียว เพื่อช่วยผู้ฟังให้จับประเด็นของเรื่องได้ถูกต้อง เขา้ ใจเนอื เรอ่ื งไดด้ ี ข้อส้าคัญจะต้องเป็นเร่ืองทผี่ ูพ้ ูดสนใจ มคี วามรูแ้ ละประสบการณ์

ลกั ษณะการพดู ตอ่ ทปี่ ระชมุ ชน แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดังนี หลกั การพูดเดย่ี วหรอื พูดคนเดยี ว มหี ลกั ส้าคญั ดงั นี ๑. ต้องรูจ้ กั การใชส้ ายตาทา่ ทางประกอบการพดู การสบสายตาเปน็ การแสดงออกถงึ อารมณ์ตามเนอื เรอ่ื งทพี่ ดู ส่วนการแสดงทา่ ทางเปน็ สงิ่ ทช่ี ว่ ยดงึ ดูดความสนใจของผูฟ้ งั และ ช่วยสรา้ งจนิ ตนาการใหผ้ ฟู้ งั มากยงิ่ ขึน ถงึ แมจ้ ะพูดกับคนจา้ นวนมาก ผู้พูดก็ตอ้ งมองไปยงั ผู้ฟงั ให้รูส้ กึ วา่ ก้าลงั พูดกบั ทุกคน การเคล่ือนไหวหรือการใชท้ า่ ทางท่เี หมาะสมเป็นการแก้ ความซา้ ซาก แต่มขี อ้ ควรระวัง คือ อยา่ เคลือ่ นไหวมากเกินไปหรือยนื อยูก่ บั ที่นาน ๆ

ลกั ษณะการพดู ตอ่ ทป่ี ระชมุ ชน แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดังนี ๒. ต้องรู้จักใช้ถ้อยค้าภาษา คือ ควรรู้ถ้อยค้ามาก รู้จักใช้ถ้อยค้าที่หลากหลายและใช้ ถ้อยค้าให้เหมาะสมกับโอกาส สถานท่ี และบุคคล ตลอดจนรู้จักใช้ค้าพูดที่สัน กะทัดรัด เข้าใจง่าย มีน้าหนัก มีเสียงรุกเร้าให้เกิดอารมณ์ รู้จักใช้ค้าราชาศัพท์ให้ถูกต้อง สามารถ ยกตวั อย่างค้าคมหรอื สุภาษติ ประกอบการพูด เพ่อื ชว่ ยเสริมเนอื หาใหน้ ่าสนใจและจ้าได้ง่าย

ลกั ษณะการพดู ตอ่ ทปี่ ระชมุ ชน แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท ดงั นี ๓. ต้องรู้จักใช้น้าเสียง ควรพูดด้วยน้าเสียงท่ีสอดคล้องกับอารมณ์ของเร่ืองท่ีจะพูด น้าเสียงท่ีน่าฟังท่ีสุด คือ เสียงสนทนา ซ่ึงดังพอท่ีผู้อยู่ไกลสุดจะได้ยิน พูดด้วยอัตราช้าเร็ว ที่พอเหมาะ มีการทอดจังหวะเล็กน้อย เน้นถ้อยค้าหนักเบา สูงต่้า หยุด หรือเร็วกระชันชิด ตามเนือความท่ีพูด ออกเสียงถ้อยค้าชัดเจนถูกต้องตามหลักภาษาและแสดงความเป็นกันเอง อีกทังควรรู้จกั เว้นจังหวะหยดุ เล็กนอ้ ยก่อนและหลังการแสดงความคิดเห็นทสี่ า้ คัญ

ลกั ษณะการพดู ตอ่ ทป่ี ระชมุ ชน แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท ดงั นี 4. ต้องรูจ้ กั ใชอ้ ารมณ์ขนั ชว่ ยสร้างบรรยากาศให้มีความสนุกสนาน เสริมผู้พูด ให้มเี สนห่ น์ า่ สนใจยง่ิ ขนึ ทังยงั ชว่ ยผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดของผฟู้ งั ถึงแมว้ า่ เรอ่ื งที่พูด จะเป็นเร่ืองธุรกิจการงาน หรือเรื่องท่ีก่อให้เกิดอารมณ์เครียดมากเพียงใดก็ตาม อารมณ์ขันสามารถท้าเรอื่ งยากให้เปน็ เรอื่ งงา่ ยได้ และดึงความสนใจของผู้ฟงั ไดน้ าน 5. ต้องรู้จกั ใชต้ วั อยา่ ง สถิติ หรือข้อมลู ตา่ ง ๆ หากผูพ้ ดู รู้จกั นา้ ตวั อย่าง สถิติ หรือข้อมูลต่าง ๆ มาเปรียบเทียบอ้างอิงได้ จะท้าให้ผู้ฟังรู้สึกประทับใจ เห็นภาพชดั เจนขนึ และทา้ ให้เกิดความรูส้ ึกเชอ่ื ถือผู้พูดยง่ิ ขึน

ลกั ษณะการพดู ตอ่ ทปี่ ระชมุ ชน แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท ดังนี 2. การพูดหมูห่ รือพูดหลายคน หมายถึง ผู้พูดต้องมีตังแต่สองคนขึนไป เรื่องท่ีพูดเป็นเร่ืองที่ ควรรู้ทว่ั ๆ ไป ไมเ่ จาะจงเรอื่ งหนงึ่ เรือ่ งใดโดยเฉพาะ อาจเป็นปัญหาของครอบครวั หรือของโรงเรยี น ทจ่ี า้ เป็นตอ้ งอาศยั กลมุ่ บคุ คลมาช่วยกันแสดงความคดิ เหน็ เพอื่ ช่วยกันแกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ที่เกิดขนึ ให้ลุลว่ งไปได้ การแสดงความคิดเหน็ ในลักษณะเชน่ นี คอื การอภปิ ราย

1. ต้องรจู้ กั การใชส้ ายตา หลกั การพดู เดย่ี วหรอื พดู คนเดยี ว 1. การพดู เดย่ี วหรือพดู คนเดยี ว ทา่ ทางประกอบการพดู ลกั ษณะการพดู ตอ่ ทปี่ ระชมุ ชน 2. การพดู หมหู่ รอื พดู หลายคน 2. ตอ้ งรจู้ กั ใชถ้ อ้ ยคาภาษา 3. ต้องรจู้ กั ใชน้ าเสยี ง 4. ตอ้ งรจู้ กั ใชอ้ ารมณข์ นั 5. ต้องรจู้ กั ใชต้ วั อยา่ ง สถติ ิ หรอื ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ



การพูดต่อที่ประชุมชนท่ีดีควรค้านึงถึงหลักการพูดหรือแนวทางการพูด เพื่อให้การพูด บรรลุจดุ มงุ่ หมายและเหมาะสมกบั สภาพของวัฒนธรรมในการพูด โดยมหี ลกั การท่สี า้ คญั ดังนี ๑. ต้องรู้เร่ืองท่ีพูด หมายถึง ทุกคนควรพูดในเรื่องท่ีตนรู้ดีท่ีสุด มีประสบการณ์มากที่สุด หรอื ผู้พูดจะต้องเชื่อวา่ ตนรู้เรื่องที่จะพูดมากกว่าผูฟ้ งั จึงจะช่วยสร้างความเชอื่ ม่นั ให้เกิดขึน และมี ความพร้อมท่ีจะพูด ซ่ึงจะมีผลท้าให้พูดได้ดีเป็นที่ประทับใจของผูฟ้ ัง หากจ้าเป็นจะต้องพูดเรื่องท่ี ตนรูไ้ ม่ลึกซงึ เพยี งพอ กต็ ้องศกึ ษาค้นคว้าเพ่มิ เติม จนมีความม่ันใจว่าตนรูด้ ีพอแล้วจงึ พูด

๒. ตอ้ งรูจ้ ักท่ีประชมุ หมายถงึ การรู้จกั ลกั ษณะกวา้ ง ๆ บางประการของผู้ฟัง ได้แก่ เพศ วยั ขนาดหรือจา้ นวน ระดับการศกึ ษา อาชพี ความเช่อื และศาสนาของผูฟ้ ัง ทังนีจะ เป็นประโยชน์ต่อการเตรียมตัวของผู้พูดที่จะสามารถเลือกใช้ภาษา เนือหา หรือเร่ืองราว ตา่ ง ๆ ท่เี หมาะสมกับความสนใจของผู้ฟังแตล่ ะเพศ แตล่ ะวัย แต่ละกลมุ่ หรือแต่ละอาชีพ ซึ่งจะส่งผลให้การพูดไดร้ ับความส้าเรจ็ ดว้ ยดี

๓. ต้องรู้จักล้าดับเร่ืองให้เป็นระเบียบ หมายถึง การรู้จักทักทายที่ประชุมให้ถูกต้อง เร่ิมต้นให้ต่ืนเต้น ด้าเนินเรื่องให้กลมกลืน และสรุปจบให้จับใจ หลักเกณฑ์การล้าดับเรื่อง ให้เป็นระเบียบ เป็นการช่วยเหลือผู้ฟังให้สามารถติดตามเรื่องราวที่ผู้พูดพูดได้ง่ายขึน การทักทายที่ประชุม ควรใช้สรรพนามแทนตัวกลุ่มบุคคลไม่เกิน ๓ กลุ่ม เช่น ทา่ นประธาน ท่านวทิ ยากร และท่านผู้มเี กยี รติทกุ ทา่ น หลังจากทักทายทปี่ ระชมุ เสรจ็ แลว้ ให้เร่ิมเรื่องที่น่าสนใจ เช่น ขึนต้นด้วยค้าถามเล่าเร่ืองที่เพิ่งเกิดขึนชวนให้ติดตาม หรือยกย่องผู้ฟังอย่างคมคาย ต่อจากนันกล่าวด้าเนินเรื่องให้กลมกลืนกับการขึนตัน ล้าดับเหตุการณ์ก่อนหลังให้เด่นชัดและเป็นเหตุเป็นผลกัน ควรยกตัวอย่างหรือสถิติข้อมูล ต่าง ๆ มาอ้างองิ ให้ผู้ฟงั เห็นภาพ เพือ่ ส่งเสรมิ เร่ืองท่พี ูดใหน้ ่าเช่อื ถือยิง่ ขึน

4. ต้องรูจ้ ักวิธีพูด หมายถึง การรูจ้ กั เลือกวธิ พี ูดที่เหมาะสมกับสถานการณ์แต่ละครัง เช่น การพูดในบรรยากาศที่โศกเศร้า ควรมีวิธีการพูดที่นุ่มนวล มีน้าเสียง และท่าทาง ประกอบท่ีสอดคล้องกับเนือหาที่พูด เป็นตัน ทังนีเพื่อถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและ ประสบการณข์ องผู้พูดไปยังผูฟ้ ังใหเ้ กดิ ผลดแี ละน่าสนใจ

๕. ต้องรู้จักสร้างการพูดให้น่าสนใจ หมายถึง ผู้พูดจะต้องรู้จักวิธีที่จะท้าให้การพูด น่าสนใจ มีชีวิตชีวา เช่น ใช้สายตาเพื่อแสดงให้ผู้ฟังเห็นว่าผู้พูดให้ความสนใจ หรือให้ ความส้าคัญกับผู้ฟังมากน้อยเพียงใด ใช้เสียงที่ดัง-เบาปลุกเร้าความสนใจของผู้ฟัง ใช้สื่อ ประกอบการพดู ซงึ่ ผูพ้ ดู ควรฝกึ ใชใ้ หเ้ กิดความคลอ่ งแคลว่ และท่สี า้ คัญไมค่ วรใหส้ อ่ื โดดเดน่ กว่าผู้พูด กล่าวคือ ผู้พูดจะใช้ส่ือก็ต่อเม่ือพิจารณาแล้วเห็นว่าจะช่วยสร้างความเข้าใจใน เนือหาใหแ้ ก่ผูฟ้ งั ได้ดีกว่าค้าพูดเพียงประการเดียว นอกจากนีการแต่งกายของผู้พูดยังช่วย สรา้ งความนา่ สนใจ และความเช่ือมั่นใหเ้ กิดขนึ ได้เปน็ การสรา้ งความประทบั ใจเมือ่ แรกพบ

1. ต้องรูเ้ รอ่ื งทพี่ ูด 2. ตอ้ งรู้จกั ท่ีประชมุ หลกั การพูดตอ่ ทปี่ ระชุมชน 3. ตอ้ งรู้จกั ลาดบั เรอื่ งใหเ้ ปน็ ระเบยี บ 5. ต้องรจู้ กั สรา้ งการพูดใหน้ า่ สนใจ 4. ต้องรู้จกั วธิ พี ดู



การพูดต่อท่ีประชุมชนเนื่องจากมีผู้ฟังเป็นจ้านวนมาก ผู้ฟังย่อมตังความหวังว่าจะได้รับ ความรู้และสาระประโยชน์จากการฟัง ผู้พูดจึงต้องเตรียมตัวเป็นอย่างดี มีความเชื่อมั่นในตัวเอง กลา้ แสดงออกจึงจะชว่ ยใหผ้ ู้พูดประสบความสา้ เร็จได้ การเตรยี มตวั พูดตอ่ ท่ปี ระชุมมีวิธกี าร ดังนี 1. ก้าหนดจุดมงุ่ หมายใหช้ ัดเจนวา่ จะพูดอะไร เพือ่ อะไร มขี อบขา่ ยกวา้ งขวางมากนอ้ ยเพยี งใด ๒. วเิ คราะห์ผฟู้ งั พิจารณาจา้ นวนผู้ฟงั เพศ วยั การศกึ ษา สถานภาพทางสงั คม อาชีพ ความสนใจ ความมงุ่ หวงั และทศั นคตทิ ี่กล่มุ ผูฟ้ งั มีต่อเร่ืองท่ีพูดและตัวผู้พูด เพื่อน้าข้อมูลมาเตรียมพูด และเตรียม วธิ ีการใชภ้ าษาให้เหมาะกับผู้ฟัง

๓. กา้ หนดขอบเขตของเรือ่ ง โดยคา้ นึงถงึ เนอื เร่อื งและเวลาท่ีจะพูด กา้ หนดประเด็นสา้ คญั ให้ชดั เจน ๔. รวบรวมเนือหา จัดเนือหาที่ผู้ฟังได้รับประโยชน์มากท่ีสุด มีการรวบรวมเนือหาจากการศึกษาคัน คว้าจากการอา่ น การสมั ภาษณ์ ไต่ถามผู้รู้ ใชค้ วามรู้ความสามารถของตนเอง แล้วจดบนั ทกึ 5. เรียบเรียงเนือเรื่อง ผู้พูดจัดท้าเค้าโครงเร่ืองให้ชัดเจนเป็นไปตามล้าดับ จะกล่าวเปิดเรื่องอย่างไร เตรียมการใช้ภาษาใหเ้ หมาะสม กะทัดรัด เข้าใจง่าย ตรงประเด็น และพอเหมาะกบั เวลา 6. การซ้อมพูด เป็นการเตรียมพร้อมเพ่ือความมั่นใจ โดยผู้พูดต้องออกเสียงพูดอย่างถูกต้องตาม อักขรวิธี มลี ลี าจังหวะ ท่าทาง สหี นา้ สายตา นา้ เสยี ง และมีผู้ฟงั ช่วยตชิ มการพูด

7. ผู้พูดจ้าเป็นต้องรู้จักสะสมความรู้จากแหล่งต่าง ๆ เพื่อน้าไปใช้เป็นข้อมูลสนับสนุน การพูดให้บรรลุผลตามท่ีตนตอ้ งการ การสะสมความนัน หาไดจ้ ากแหลง่ ต่าง ๆ ดังตอ่ ไปนี ๑) ประสบการณ์ของผู้พูดและของบุคคลที่รู้จัก ความรู้และประสบการณ์ท่ีผู้พูดได้ พยายามสะสมไว้ ยอ่ มจะสามารถน้าไปใชป้ ระกอบเรือ่ งที่ตนจะพูดได้อย่างชัดเจน เน่ืองจาก เข้าใจดีแลว้ ทังยังจะชว่ ยกระตนุ้ ให้กล้าพูด เพราะมีความม่ันใจในเรื่องท่ีพูด 2) แหลง่ ชุมนมุ ชนของผูพ้ ูด จะเป็นแหลง่ ขอ้ มูลของสภาพความเป็นอยู่ การด้าเนนิ ชีวิต ตลอดจนสภาพวฒั นธรรมต่าง ๆ ของผู้พูดท่ผี ูพ้ ูดสามารถนา้ ขนึ มาพูดไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ ๓) ผู้เช่ียวชาญในท้องถิ่น ปราชญ์ในชุมชน แพทย์ หรือสาธารณสุขจังหวัดจัดเป็น ผูเ้ ชย่ี วชาญทังสนิ เพราะบคุ คลเหลา่ นจี ะรู้จักและเขา้ ใจปญั หาในท้องถนิ่ ท่ตี นอาศยั เป็นอยา่ งดี

1. กาหนดจดุ ม่งุ หมายให้ชดั เจน 2. วเิ คราะหผ์ ฟู้ ัง 3. กาหนดขอบเขตของเรื่อง การเตรียมตวั พดู ตอ่ ทปี่ ระชมุ ชน 4. รวบรวมเนอื หา 7. ผ้พู ูดจาเปน็ ตอ้ งรจู้ กั สะสม 6. การซอ้ มพดู 5. เรียบเรียงเนอื เรือ่ ง ความรจู้ ากแหลง่ ตา่ ง ๆ



การพูดต่อท่ีประชุมชนเป็นวิธีการน้าเสนอสารต่อผู้ฟัง ส่วนจะใช้วิธีใดในการพูดขึนอยู่กับ จดุ มงุ่ หมายในการพูด เนือหา สาระ โอกาส และสถานการณ์ โดยทว่ั ไปวธิ ีการพูดมี ๔ แบบ ดังนี 1. การพูดฉับพลัน เป็นวิธีพูดปกติในชีวิตประจ้าวัน เช่น การพูดคุยในชันเรียนหรือ ที่บ้าน การคุยกันทางโทรศัพท์ การพูดนัดหมายกัน เป็นต้น อันเป็นวิธีการท่ีต่างฝ่ายต่าง ผลัดกันพูดและผลัดกันฟังโดยไม่มีการเตรียมตัวมาก่อน ทังนีขึนอยู่กับการสะสมความรู้และ ความคดิ ไวเ้ ป็นส้าคญั เม่ือถงึ โอกาสทีม่ ีผูข้ อรอ้ งใหพ้ ูด กจ็ ะสามารถพูดได้ทันทีทันใด

๒. การอ่านต้นแบบ เปน็ วิธกี ารพูดทีผ่ ู้พูดมีเรื่องส้าคัญท่ีจะต้องแถลงต่อชุมนุมชน หรือ ผูฝ้ กึ พูดใหมท่ ่ยี ังไม่มีความเชือ่ มัน่ ในตนเองจะนิยมพูดด้วยวิธีนี ซึ่งมีผลเสียคือ สายตาจะไม่ สือ่ สารกับผูฟ้ งั และถา้ ผูพ้ ูดไม่ไดฝ้ กึ ซ้อมอา่ นก่อนออกไปพูดจรงิ ยอ่ มเกิดปัญหาในการอา่ น ๓. การทอ่ งมาพดู เปน็ วธิ ีการพดู ทีไ่ มเ่ ป็นธรรมชาติ ขาดอารมณ์ และขาดการเน้นใน ส่วนที่ส้าคัญ บางครังอาจท้าให้ผู้พูดลืมพูดบางค้า หรือบางวลีที่ส้าคัญที่ตนตังใจจะพูดก็ได้ ยกเว้นผูพ้ ูดที่มีประสบการณใ์ นการพูดเชน่ นีเป็นเวลานานหลายปี และต้องหม่ันฝึกฝนท่อง บทอยู่เสมอ จึงจะช่วยให้พูดได้อย่างมั่นใจ สามารถสื่อสายตากับผู้ฟังได้อย่างท่ัวถึง เป็นการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สกึ และทศั นคติอย่างได้ผล

4. การพูดท่เี ตรยี มล่วงหนา้ เป็นวธิ ีการพูดตอ่ ที่ประชุมชนทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ลที่สดุ โดยผู้พูดเตรยี มหัวข้อ เร่อื งการพูดไวเ้ รยี บร้อยแล้ว ต่อมาเตรยี มเนอื เรือ่ งอย่างสังเขป แล้วลองฝึกซ้อมพูดตามเนือเรื่องท่ีตน ไดเ้ ตรยี มไว้ อาจดูตน้ ฉบับทเี่ ตรยี มไวบ้ า้ งกไ็ ด้ หรอื ถา้ ไม่ดูเลยก็ยิ่งเป็นการดี เมื่อพูดจบควรให้เพ่ือน ๆ ช่วยกันวิจารณ์ ถ้าปฏิบัติได้ตามขันตอนดังกล่าวจะช่วยให้มั่นใจในตนเอง เป็นตัวของตัวเอง สามารถสบสายตากับผู้ฟังได้ตลอดเวลา เพ่ิมพูนความสามารถท่ีจะถ่ายทอด ความคิดได้อย่างจริงใจ รวมทงั สามารถพฒั นาการใชท้ า่ ทาง การเคลอื่ นไหว และการเปลย่ี นอริ ยิ าบถใหเ้ ป็นธรรมชาติ ซึ่งช่วย ให้ผู้พูดได้แสดงออกอย่างอิสระ เป็นต้นว่า การยกค้าพูดของผู้อื่นมากล่าวอ้างอย่างค้าต่อค้า หรือว่า ปากเปล่ากไ็ ด้ หรอื ถ้าจา้ เปน็ ตอ้ งพูดซา้ เรอ่ื งเดยี วกันก็อาจหาคา้ พูดทไ่ี ม่ซ้ากนั กไ็ ด้

วธิ กี ารพูดต่อทีป่ ระชมุ หรอื การพูดใหค้ นหมู่มากฟังที่ดที ีส่ ุด คือ การพูดที่เตรียมพร้อมล่วงหน้า แตใ่ นบางโอกาส อาจจา้ เป็นตอ้ งอา่ นตน้ ฉบบั ประกอบดว้ ย ในกรณที ี่ตอ้ งกลา่ วอา้ งค้าพดู ของผอู้ ื่น หรือ กล่าวอ้างสถิติต่าง ๆ หรือบางทีก็จ้าเป็นท่ีจะต้องท่องบทน้าหรือบทสรุปมาพูดเพื่อช่วยให้การพูดเป็น ธรรมชาตแิ ละนา่ สนใจมากย่ิงขนึ การพูดตอ่ ทปี่ ระชมุ ชนเป็นการสือ่ สารทีต่ ้องมีความเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และ บคุ คลท่ีรับสาร ส่งสาร ภาษาพูดเป็นภาษาเอกลักษณ์ของคนไทย มีองค์ประกอบที่เป็น แบบแผน เป็นระเบียบ ปฏิบัติสืบต่อกันมา เป็นมรดกวัฒนธรรมทางภาษาท่ีต้องดูแล หวงแหนและใชใ้ หเ้ กดิ คุณคา่ มีมารยาท มีจรรยาบรรณในการพูด เพ่ือใชใ้ นการสื่อสาร ให้เกดิ ประสิทธิผลแก่ตนเองและสังคม

1. การพูดฉบั พลนั 2. การอ่านตน้ แบบ วิธีการพดู ตอ่ ทป่ี ระชมุ ชน 3. การทอ่ งมาพดู 4. การพูดทเี่ ตรียมลว่ งหนา้

คณุ ครูวศิ รตุ คณุ ครพู ัชรมยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook