ขลยุ่ รีคอร์เดอร์ (Recorder) เป็นเคร่ืองดนตรีสากลจดั อย่ใู นประเภท เคร่อื งเป่าลมไมป้ ัจจบุ ันนยิ มทาด้วยพลาสตกิ สีขาว ทาให้เกิดเสียงไดโ้ ดย การเปา่ ลมเขา้ ไปยงั ปากท่ี รูของขล่ยุ รีคอรเ์ ดอร์ ขลยุ่ รีคอรเ์ ดอร์มอี ยู่ 2 ระบบ คือ ระบบ บาโรก กับ ระบบเยอรมัน ที่นิยมใช้กันมาก คือ ระบบบาโรก
นิยมเล่นกันมาตง้ั แต่ยคุ บาโรค (ชว่ งปี ค.ศ. 1600-1750) ซ่ึงขล่ยุ รีคอร์เดอร์ท่เี ราเล่นกัน อย่กู ม็ าจากชว่ งยคุ บาโรคนี่เอง และได้รบั การปรบั ปรงุ ใหม่ จะนมุ่ นวลบางเบา สดใสจดั อยใู่ น ตระกลู ขลุ่ยรีคอร์เดอร์ เกดิ ใหมใ่ นช่วงศตวรรษท่ี 20 และยงั คงได้รบั ความนยิ มเร่อื ยมา จนถงึ ปจั จุบัน กล่าว คือ ต้นตระกูลของขล่ยุ รีคอร์เดอร์ เปน็ เครอ่ื งดนตรที ่มี ลี กั ษณะคลา้ ยนกหวีด คอื เปน็ ขลยุ่ ประเภทท่ีเป่าลมเขา้ ไปแลว้ มที างบงั คับลมใหต้ รงไปทีส่ ว่ นท่ีเปน็ จดุ กาเนิดเสยี ง ทาใหเ้ สยี งทีเ่ กดิ ข้นึ นน้ั มคี วามใส ความชดั เจน แนน่ อนและแมน่ ยา
ทกุ ครั้งทีเ่ ปา่ ให้ คิดถึงเวลาเปา่ นกหวดี กม็ ีลกั ษณะคลา้ ยกนั คือ เป่าลงไปแล้วมี ชอ่ งทางบงั คบั ลมท่ีเปา่ ใหอ้ อกไปทางเดียวกันอย่างแม่นยาทกุ คร้ัง เสียงทไ่ี ด้จึงไม่มี ความเพยี้ นหรือ มคี วามเพี้ยนน้อยมาก ( ความเพีย้ นในความหมายของเคร่ืองดนตรปี ระเภทเครอ่ื งเป่า คอื ความเพย้ี น ทีอ่ าจเกิดจากการวางปาก การวางน้ิวการบงั คบั ทศิ ทางลมของผู้เล่น หรือความเพ้ียนที่ อาจเกดิ จาก ลกั ษณะเฉพาะของเครือ่ งดนตรี เช่น ลน้ิ นวม เปน็ ต้น ) ซง่ึ เคร่อื งดนตรี ประเภททค่ี ลา้ ยนกหวีดแบบนี้ มนษุ ย์เรารู้จักประดษิ ฐ์ขน้ึ มานบั พันปี แล้ว จากหลักฐาน ทค่ี ้นพบก็คอื มีการค้นพบเคร่ืองดนตรีทีท่ าจากกระดกู แกะ ในยคุ เหลก็ ทป่ี ระเทศ องั กฤษ ซ่งึ กม็ ีลกั ษณะเปน็ ปากเป่าใหเ้ กดิ เสยี ง มีรปู ิดเปิดน้วิ 3 -5 รู เปน็ ต้น
การที่จะกาหนดวนั เวลา หรือช่วงยุคสมยั ท่ีเกิดขลุ่ยรีคอรเ์ ดอรข์ นึ้ เป็นครง้ั แรก น้ัน เปน็ หัวขอ้ ที่มีการถกเถยี งกนั อยา่ งกวา้ งขวาง ในหมสู่ ถาบนั การศกึ ษาต่างๆทว่ั โลกโดยเฉพาะในยโุ รป ซึง่ กลา่ วกนั วา่ ขล่ยุ รีคอรเ์ ดอร์ในยคุ บาโรค (Baroque Age ค.ศ.1600-1750 )เป็นขล่ยุ รีคอร์เดอร์ที่มีลกั ษณะเหมือนกบั ขลุ่ยรคี อร์เดอร์ ในปัจจบุ ันมาก ท่สี ดุ ในยุค บาโรค ขลุย่ น้ถี กู นามาใช้เลน่ ทานองหลัก ในลกั ษณะเดยี วกบั เครอื่ งดนตรีที่ เรยี กว่า ฟลู้ท (Flute) ในวงออร์เคสตร้า คอื เปน็ เคร่ืองดนตรที ี่ตอ้ ง โซโล (Solo) นับวา่ เปน็ ยคุ ท่ขี ลยุ่ รีคอรเ์ ดอรไ์ ด้รับความนิยมอยา่ งมาก โดยนกั แตง่ เพลงคนสาคญั อยา่ ง บาค (Bach) ,เฮนเดล (Handel) และเทเลมาน (Telemann) เป็นต้น
ตอ่ มาในยคุ ศตวรรษที่ 18 (ค.ศ.1700-1800) ขล่ยุ ทม่ี ีลกั ษณะคลา้ ย Flute เรมิ่ ไดร้ บั ความนิยมมากขึ้น ซงึ่ เป็นการสะทอ้ น ถึง ขอ้ เสียอย่างหนึ่งของขลุ่ยรีคอรเ์ ดอร์วา่ เสียงของขลุ่ยรีคอร์เดอร์นัน้ ถงึ แมจ้ ะใส ชดั เจน ความเพ้ยี นน้อย แต่เนอ้ื เสียงกเ็ ลก็ และบางเบามาก ขณะทข่ี ล่ยุ Transverse Flute นน้ั เสียงดงั กว่า และมีช่วงเสยี งทกี่ วา้ งกว่ามาก ทาให้เหมาะกับวง ออร์เคสตร้ามากกว่า เมอื่ เปน็ เช่นน้ี ขลยุ่ รีคอรเ์ ดอร์ก็เร่ิมเสือ่ มความนยิ มลง มคี วามนยิ ม เล่นน้อยลง น้อยลง จนกระทั่ง นานๆทจี งึ มีคนเล่น และหายไปเลย ในทีส่ ดุ ช่วงศตวรรษท่ี 19 (ค.ศ. 1800 -1900) ถกู เล่นนอ้ ยมาก และ แม้กระทงั่ วิธีทาเครือ่ งดนตรชี นดิ น้ี กพ็ ลอยจะสูญหายไปด้วยเคร่ืองดนตรนี ี้หายไปจาก ความนยิ มของนกั ดนตรีและผู้ฟัง จนกระทงั่ ได้รับการฟน้ื คืนมาสู่ความนิยมอกี คร้งั ใน ศตวรรษที่ 20 โดยมาในรปู แบบการเรยี นการสอนเด็กในชน้ั เรียนตา่ งๆทั่วโลก ซง่ึ ตา่ งกใ็ ช้ ขลุย่ ชนิดนี้เปน็ สือ่ ในการเรียนดนตรีในข้นั พ้นื ฐาน
ชนิดของขล่ยุ รีคอรด์ อร์ด โดยทว่ั ไปมอี ยู่ 2 ชนดิ 1. ชนดิ ทีท่ าด้วยไม้ 2.ชนิดทที่ าด้วยพลาสตกิ
ขลุย่ รีคอร์เดอร์ มที ้ังหมด 10 ระดบั เสียง แต่มเี พยี ง 6 ระดบั เสียงท่ี นามาใช้กนั มาก ได้แก่ 1. Sopranino มคี วามยาว 9 นิว้ เป็ นขลุ่ยทเี่ ลก็ ทสี่ ุด และมรี ะดบั เสียงทส่ี ูงทส่ี ุด 2. Soprano หรือ Descant มีความยาว 12 นิว้ ใช้ในการเล่น ทานอง 3. Alto บางคร้ังเรียกว่า The Treble มคี วามยาว 18 นิว้ ครึ่ง 4. Tenor มคี วามยาวประมาณ 25 นิว้ ครึ่ง 5. Bass มคี วามยาว 3.6 นิว้ 6. Contra Bass มคี วามยาว 49 นิว้ และขลุย่ รคี อร์เดอร์ท่นี ยิ มเปา่ กันท่ัวไป คอื โซปราโน รีคอร์เดอร์ (Soprano Recorder) ส่วนขลุ่ยรคี อร์เดอร์ท่ไี มค่ อ่ ยนยิ มใชใ้ นการบรรเลง คอื recorder Big Bass และRecorder Sopranino
ลกั ษณะของขลุ่ยรีคอรเ์ ดอร์ รปู ร่างลกั ษณะของขลุ่ยรีคอรเ์ ดอร์ ลกั ษณะทว่ั ไปแบง่ เป็น ส่วน คอื สว่ นหัว ส่วนกลาง และสว่ นทา้ ย ลักษณะท่ัวไปดา้ นหน้ามี 7 รู รูที่ 6 และ 7 แบง่ เปน็ 2 รเู ล็กๆ ด้านหลังมี 1 รู ตาม รูปภาพประกอบ)
การจับขลุ่ยรคี อร์เดอร์ เวลาบรรเลงให้ใช้มือซา้ ยจบั ลาตวั ขลุ่ยรีคอรเดอร์สว่ นบน โดยน้วิ ชี้ นว้ิ กลาง นวิ้ นาง แทนดว้ ยตัวเลข 1 2 และ 3 ตามลาดบั นิว้ หัวแมม่ ือปดิ ที่รดู า้ นหลัง สว่ นมือขวาจับลาตวั สว่ นล่างของขลุ่ยรีคอรเ์ ดอร์ โดยจะใช้ 4 นิ้ว คอื นิว้ ชี้ นิ้วกลาง นวิ้ นาง และนว้ิ กอ้ ยแทนดว้ ยตวั เลข 1 2 3 และ 4 ตามลาดบั นิว้ หวั แม่มือขวาใช้ประคองขลุ่ยไว้
ตาแหน่งเสียง นวิ้ หวั แมม่ อื ซ้ายปิดรดู ้านหลงั น้วิ ชปี้ ิดรบู นสุด แล้วเรยี งน้วิ กลางรถู ัดลงมา แลว้ ก็นิว้ นาง สว่ นมอื ขวา นิ้วชป้ี ิดรูบนถดั จากนวิ้ นางซ้าย แล้วเรยี งนวิ้ กลาง นาง และก้อยจะปดิ รสู ุดท้าย พอดกี ารเป่า .... ถา้ ปดิ ทุกนว้ิ จะเปน็ เสยี ง โดหรือ C เปิดนิ้วก้อยขวา จะเปน็ เสยี งเร หรอื D เปิดนิ้วนางขวาอีกน้วิ จะเป็นเสียงมี หรือ E เปดิ น้ิวกลางขวาเปน็ อีกจะเป็นเสียงฟา หรอื F เปดิ น้วิ ชีข้ วาอีก กเ็ ป็นเสยี งซอล หรอื G (เหลือแตม่ อื ซ้ายละ) เปดิ นวิ้ นางซา้ ยอกี เปน็ เสียงลา หรอื A เปดิ นิ้วกลางซ้ายอกี เป็นเสียงที หรือ B เปดิ นิว้ ชซ้ี า้ ยอีก และปิดนิ้วกลางซ้าย กับนิว้ โปง้ ซ้ายไว้ จะเป็นเสียงโดสงู
แผนภาพระบบนิ้วและการวางน้วิ
การเปา่ ขลยุ่ รคี อรเ์ ดอร์ เม้ม ริมฝีปากเบา ๆ อมปากขลุ่ยรีคอร์เดอร์เลก็ น้อย เปา่ ลมเขา้ เบา ๆ ก็จะเกดิ เสียงตามตอ้ งการ เมอื่ จะเปา่ เสยี งสงู ตอ้ งเม้มรมิ ฝปี ากให้เน้นขึน้ แลว้ เป่าลมแรง สว่ นการเป่าเสยี งต่าจะค่อย ๆ ผ่อน รมิ ฝปี ากออกแลว้ เป่าลมเบา ๆ การเป่าขลุ่ยรีคอรเ์ ดอร์มวี ธิ ีเป่าหลายวธิ ี เชน่ การเป่าโดยใชล้ น้ิ เพือ่ ให้เสยี งหนักแนน่ และเสียงขาดจากกันเปน็ ตัว ๆ หรอื การเปา่ โดยใชล้ มเพอ่ื ให้เล่ือนไหล ติดตอ่ กัน เป็นตน้ ผฝู้ กึ เปา่ ขลุ่ยรีคอรเ์ ดอร์ควรฝึกการควบคมุ ลม ใหล้ มท่ีเปา่ มีความสม่าเสมอโดย การเปา่ ออกเสียงใหต้ าแหนง่ ลน้ิ เหมือนพดู คาวา่ ทู “Too” และใชล้ มเปา่ พอประมาณ ไม่เป่า ดว้ ยลมที่แรงหรอื ลมท่เี บาเกินไป ซ่งึ พอจะสรปุ เป็นข้อ ๆ ไดด้ ังน้ี
1. วางตาแหน่งนวิ้ ให้ถูกต้อง ประคองขลยุ่ ใหท้ ามมุ กับลาตัวเป็น มุม 45 องศา 2.ใช้มือซา้ ยวางนิ้วอยู่สว่ นบนของขลยุ่ และมือขวาวางนว้ิ อยู่ ส่วนลา่ งของขล่ยุ 3.วางปากขลุ่ยระหว่างรมิ ฝีปากบนและล่าง เม้มรมิ ฝปี ากอมปาก ขลุ่ยเล็กน้อย 4.ขณะท่เี ปา่ โน้ตพยายามปิด “ รู ” ใหส้ นิท ยกนิ้วขนึ้ ลงอย่าง รวดเร็วตามการเปลย่ี นแปลงของระดับเสียง 5.ไม่ควรกดั ปากขลยุ่ ( Mouth piece ) ขณะท๋ีเปา่
6.ควบ คมุ ลมหายใจ อย่าเป่าลมแรงเกนิ ไปเพราะจะทาใหเ้ สยี งเพย้ี น (ผิด) จงจาไว้ว่า เสียงทีถ่ ูกต้องจะตอ้ งเกดิ จากการเป่า และพยายามสังเกตด้วยวา่ เวลาเปา่ เสยี งตา่ ควรจะเปา่ ลมเบา ๆ เสียงสงู ควรจะเปา่ ลมแรง ๆ ตามระดบั ตวั โนต้ 7.ควรสงั เกตในการวางทา่ ในการเปา่ ทั้งยนื และนง่ั ให้สง่างาม หลงั ตรง เพราะจะชว่ ยในการควบคุมลมท่ีเปา่ ได้ดว้ ย 8.ควรฝกึ เปา่ ขล่ยุ เปน็ ประจาอย่างน้อยวันละ 1 – 2 ครงั้
แผนผงั ระบบน้วิ
โนต้ เพลงและแบบฝึกหดั
โนต้ เพลงและแบบฝึกหดั
แบบฝกึ หดั อะเปจโิ อ (arpeggio)
การดแู ลรกั ษาขลยุ่ รีคอร์ดเดอร์ 1.นาขลยุ่ รีคอรเ์ ดอร์ ลา้ งด้วยน้าสะอาดหรอื น้าอนุ่ ทผี่ สมสบู่ออ่ น ๆ ทกุ ครง้ั หลงั การ ใชง้ าน 2. การ ประกอบหรือถอดขลุย่ รีคอร์เดอร์ ควรถอดข้อตอ่ ด้วยการค่อย ๆ หมุนออกตามแนว เข็มนาฬิกา ทอ่ นส่วนหัว(Head Joint)ท่ีล้างสะอาด แล้ว ควรเช็ดดว้ ยผ้านุ่ม ๆ ท่ีสะอาด หา้ มใชก้ ารสะบัดใหแ้ หง้ เพราะขล่ยุ รีคอร์เดอร์อาจแยกหลดุ ออกจากกนั หรือหลน่ แตกไดง้ า่ ย 3. การทาความสะอาดส่วนกลาง (Middle Joint) และสว่ นท้าย (Foot Joint) โดยวิธีใช้ ผา้ นุ่มทสี่ ะอาดเชด็ และการถอดข้อตอ่ ออกจากกนั อาจใช้ไมห้ รือแทง่ พลาสตกิ ทา ความสะอาด โดยสอดผา้ เขา้ ไปเชด็ ข้างใน ตวั ขล่ยุ ให้สะอาด
4. เม่อื เห็นวา่ แหง้ ท่ีแล้ว ควรทาวาสลินที่บรเิ วณขอ้ ตอ่ ต่าง ๆ เพื่องา่ ยตอ่ การ ประกอบเขา้ ดว้ ยกนั และไมแ่ น่นเกินไป เมอ่ื จะถอดออกมาทาความสะอาดในครัง้ ตอ่ ไป 5. ควรเกบ็ ใส่ ซองเกบ็ หรือกล่องทีต่ ิดมากับตวั เคร่ือง เพ่ือความเปน็ ระเบยี บ ฝุ่นไม่เกาะ เล้วนาไปเก็บในตู้ หรอื บรเิ วณท่ีเกบ็ เครื่องดนตรีใหเ้ รยี บรอ้ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: