Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.ส่วนประกอบของภาษา

2.ส่วนประกอบของภาษา

Published by วราพร การุญ, 2022-08-30 05:43:11

Description: 2.ส่วนประกอบของภาษา

Search

Read the Text Version

ส่ วนประกอบของภาษา ตวั ชวี้ ัด อธบิ ายธรรมชาตขิ องภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา (ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๑)

พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ประโยค เสยี งหนักเสยี งเบา คากับบริบท

ส่ วนประกอบของภาษา ภาษาเป็ นถ้อยคาท่ีใช้เสียงส่ือความหมา ย สว่ นประกอบท่ีเลก็ ท่ีสดุ ของภาษา คือ หนว่ ยเสียง แ ต่ ล ะ ภ า ษ า มี ห น่ ว ย เ สี ย ง แ ต ก ต่ า ง กั น ภาษาไทย มีหน่วยเสียง ๓ ประเภท คือ หน่วยเสียง พยัญชนะ หน่วยเสียงสระ และหน่วยเสียงวรรณยุกต์ หน่วยเสียงเหล่านีจ้ ะประกอบกันเป็นพยางค์และคา คาประกอบกนั เป็นกลมุ่ คาและประโยค

ภาษาทใี่ ช้พูดในโลกนี้ มีนับพนั ภาษา แต่มเี พยี งบางภาษา เท่าน้ันท่มี ีการเขยี นเป็ นสัญลกั ษณ์ แทนเสียงของภาษา เรียกว่า ภาษาเขยี น

ภาษาเขียนมีววิ ฒั นาการมาตามยคุ สมยั ซง่ึ ครอบคลมุ ถึงลกั ษณะตอ่ ไปนี้ ๑. การขีดเขียนสญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ เพ่ือส่อื ความหมายใหผ้ ทู้ ่ีมิไดอ้ ยตู่ รงนนั้ รบั รู้ และเพ่ือใหค้ นรุน่ หลงั รบั ทราบ เชน่ การขีดเขียนลงบนแผน่ หนิ ๒. การเขียนภาพเพ่ือส่อื ความหมาย เชน่ ภาพตามผนงั ถา้ ท่ีคนโบราณเขียนไว้ ๓. ตวั เขียนท่ีใชแ้ ทนพยางค์ คือ ตวั เขียนแตล่ ะตวั ออกเสยี งเป็นพยางค์ (มีทงั้ พยญั ชนะและสระ) เชน่ ซา โย นา ระ ในภาษาญ่ีป่นุ ๔. ตวั เขียนท่ีใชแ้ ทนเสยี ง เรยี กวา่ อกั ษร เช่น ภาษาไทย ตวั อกั ษรหน่งึ ตวั ใชแ้ ทนเสยี งหนง่ึ เสยี ง แมจ้ ะมีตวั อกั ษรจานวนจากดั แตส่ ามารถนา ตวั อกั ษรมาประสมกนั เป็นคาใหมไ่ ดไ้ มจ่ ากดั

พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์

พยญั ชนะ พยญั ชนะในภาษาไทยมี ๔๔ รูป ใชแ้ ทนหน่วยเสียงพยญั ชนะตน้ ๒๑ หนว่ ยเสยี ง ใชแ้ ทนหนว่ ยเสยี งพยญั ชนะทา้ ย (ตวั สะกด) ๘ หนว่ ยเสียง

ตารางแสดงพยญั ชนะต้น ตวั อย่างคา กิน หน่วยเสยี งพยญั ชนะ พยญั ชนะตน้ เขียว เคยี ว เฆ่ียน /ก/ ก /ค/ ข ฃ ค ฅ ฆ งอก เจา้ /ง/ ง เฉย เชย เฌอ /จ/ จ ซมุ้ ศกุ ร์ บรษิ ัท สดุ /ช/ ฉ ช ฌ ญาติ ยา่ น /ซ/ ซ ศ ษ ส /ย/ ญ ย

ตารางแสดงพยัญชนะต้น ตวั อยา่ งคา ฎีกา บณั ฑติ ดิน หน่วยเสยี งพยญั ชนะ พยญั ชนะต้น กฏุ ิ กตกิ า /ด/ ฎ ฑ ด /ต/ ฏ ต ฐานะ มณฑล วฒุ ิบตั ร ถกั ทอง ธง ณรงค์ นที /ท/ ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ บา้ น /น/ ณ น ปี /บ/ บ ผใู้ หญ่ พกู่ นั แมลงภู่ /ป/ ป /พ/ ผ พ ภ

ตารางแสดงพยัญชนะต้น ตัวอยา่ งคา ใฝ่ ไฟ หน่วยเสยี งพยญั ชนะ พยัญชนะตน้ โมง /ฟ/ ฝ ฟ รอ้ น /ม/ ม /ร/ ร ลลี า จฬุ า วา่ น /ล/ ล ฬ โอบ /ว/ ว เห่ เฮฮา /อ/ อ /ฮ/ ห ฮ

ตารางแสดงพยญั ชนะท้าย (ตวั สะกด) หน่วยเสยี งพยญั ชนะ พยัญชนะทา้ ย ตัวอยา่ งคา /ก/ ก ข ค ฆ มกุ เลข โชค เมฆ /ง/ ง ย่งิ /ย/ ย ชยั /ต/ จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ อาจ พืช พิซซา มงกฎุ กบฏ รฐั ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส ครุฑ วฒั นธรรม สาด แครร์ อต อนาถ ชยั นาท พธุ ทิศ โทษ วลิ าส /น/ ญณนรลฬ สญั ชาติ คานวณ ขาน พร ดล วาฬ /ป/ บ ป พ ฟ ภ ฉบบั สปั หงก มหรสพ ลฟิ ต์ ลาภ /ม/ ม งาม /ว/ ม แกว้

ตวั อย่าง “คูนแคขงิ ข่าขนึ้ เคยี งกัน” ☺มีพยญั ชนะตน้ ๒ หน่วยเสียง ไดแ้ ก่ /ค/ คือคาวา่ คนู แค ขิง ข่า ขึน้ เคยี ง และ /ก/ คือคาวา่ กนั ☺มีพยญั ชนะทา้ ย ๒ หน่วยเสียง ไดแ้ ก่ /น/ คือคาวา่ คนู ขนึ้ กนั และ /ง/ คือคาวา่ ขิง เคียง

ข้อสังเกต รูปพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง เช่น ๑. พยญั ชนะท่ีมีเครอ่ื งหมายทณั ฑฆาต ( ์) กากบั เช่น ศกุ ร์ เสาร์ อศั จรรย์ ๒. “ร” หรอื “ห” ท่ีอยกู่ บั พยญั ชนะทา้ ยบางคา เช่น สามารถ ปรารถนา พรหม ๓. “ธ” หรอื “ร” ท่ีเป็นตวั ตามพยญั ชนะทา้ ยบางคา เช่น พทุ ธ จกั ร ๔. “ร” ในอกั ษรควบไมแ่ ท้ เชน่ จรงิ ไซร้ ๕. “ห” หรอื “อ” ท่ีนาอกั ษรต่าเด่ียว เช่น หลาย อย่าง ๖. คาบางคาไมป่ รากฏรูปพยญั ชนะแตม่ ีเสยี งพยญั ชนะ เชน่ จา มีเสียง “ม” สะกดแตไ่ มม่ ีรูป ใจ มีเสียง “ย” สะกดแตไ่ ม่มีรูป เขา มีเสยี ง “ว” สะกดแตไ่ ม่มีรูป

สระ สระเดยี่ ว ๑๘ เสียงสั้น ๙ หน่วยเสียง หน่วยเสียง เสียงยาว ๙ หน่วยเสียง สระมี ๒๑ หน่วยเสียง สระประสม ๓ หน่วยเสียง

ตารางสระเดย่ี ว สระเสยี งยาว ตวั อย่าง กลุ่ม สระเสยี งสัน้ อา จ๊ะ จา๋ ๑. อะ อี สิ สี ๒. อิ อือ ยดึ ยืด ๓. อึ อู ลกุ ลกู ๔. อุ เอ เอน็ เอน ๕. เอะ แอ แพะ แพ ๖. แอะ เออ เจอะ เจอ ๗. เออะ โอ โต๊ะ โต ๘. โอะ ออ เหาะ หอ ๙. เอาะ

สระประสมหรือสระเลอื่ น ☺ เกดิ จากการนาสระแทห้ รือสระเดย่ี ว ๒ เสยี งมาประสมกัน เกดิ เสยี งเลอ่ื นหรือเสยี งประสมกันมี ๓ หน่วยเสยี ง ดงั นี้ สระอี สระอา สระเอีย สระอือ สระอา สระเอือ สระอู สระอา สระอวั

คาท่ีใชส้ ระประสมนีไ้ มว่ า่ จะออกเสยี งสนั้ หรอื ยาว แตถ่ า้ ยงั รกั ษาเสียง พยญั ชนะตน้ เสยี งวรรณยกุ ต์ และเสยี งพยญั ชนะทา้ ยใหค้ งเดิม คานนั้ ก็จะยงั คง มีความหมายเดมิ เช่น เปี๊ยะ ยวั ะ สว่ น อา ใอ ไอ เอา ปัจจบุ นั จดั เป็นพยางค์ เน่ืองจากมีเสยี งพยญั ชนะประสมอยดู่ ว้ ย อา = อะ + ม ใอ ไอ = อะ + ย เอา = อะ + ว ฤ ฤๅ = ร + อึ ร + ออื ฦ ฦๅ = ล + อึ ล + ออื

วรรณยุกต์ เสยี งวรรณยุกตใ์ นภาษาไทย มี ๕ เสยี ง ส่วนรูปวรรณยุกตม์ ี ๔ รูป ดงั นี้ เสยี งสามญั ไมม่ ีรูป เสียงเอก ไมเ้ อก ( ่่ ) เสียงโท ไมโ้ ท ( ่้ ) เสยี งตรี ไมต้ รี ( ่ ) เสียงจตั วา ไมจ้ ตั วา ( ่ ) การใชว้ รรณยกุ ตจ์ ะเปล่ยี นไปตามกลมุ่ ของพยญั ชนะวา่ เป็นอกั ษรกลาง ต่า สงู เชน่ ปา้ คา่ ขา้

เสียงหนักเสยี งเบา ถ้าสังเกตการออกเสยี งคาตา่ งๆ ในภาษาไทย จะเหน็ วา่ แต่ละ พยางคอ์ อกเสียงหนักเบาไม่เทา่ กัน ซง่ึ มขี ้อสังเกต ดงั นี้ ๑. คาท่ีมีพยางคเ์ ดียวจะออกเสยี งหนกั หรอื เบาขนึ้ อยู่ กบั ความหมายและหนา้ ท่ีของคาในประโยค เช่น ฉนั เช่ือวา่ เธอตอ้ งทาได้ (ได้ ออกเสยี งหนกั ) ฉนั สขุ ใจจรงิ ท่ีไดม้ าท่ีน่ี (ได้ ออกเสยี งเบา)

๒. คาท่ีมี ๒ พยางค์ มกั จะออกเสยี งหนกั ท่ีพยางคท์ ่ี ๒ เชน่ ชนะ สบาย รองเทา้ ๓. คาท่ีมี ๓ พยางค์ มกั จะออกเสียงหนกั ท่ีพยางคท์ ่ี ๓ และถา้ พยางคท์ ่ี ๑ หรอื ๒ ประสมดว้ ยสระเสยี งยาวหรอื มีตวั สะกดกจ็ ะออกเสียงหนกั ดว้ ย เช่น ปฏบิ ัติ พยายาม รับประทาน ๔. คาท่ีมี ๔ พยางค์ มกั จะออกเสียงหนกั ท่ีพยางคส์ ดุ ทา้ ย สว่ นพยางคอ์ ่ืน ๆ ขนึ้ อยู่ กบั สว่ นประกอบของคา เช่น ประเจดิ ประเจ้อ มหรสพ มกราคม พิธีรีตอง

คากับบริบท คาในภาษาไทยเกิดจากการนาหน่วยเสียงพยัญชนะ หน่วยเสียงสระ และหน่วยเสียงวรรณยกุ ตม์ าประสมกนั มีทงั้ คามลู คาประสม คาซา้ คาซอ้ น และคาสมาส ซ่ึงคาเหล่านีจ้ ะแบ่งเป็น ชนิดต่างๆ ได้ คือ คานาม คาสรรพนาม คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสนั ธาน คาอุทาน เม่ือนาคาเหล่านีม้ าเรียบเรียงเป็น ป ร ะ โ ย ค จ ะ ต้อ ง เ ลื อ ก ใ ช้ค า ใ ห้ถู ก ต้อ ง เ ห ม า ะ ส ม เ พ่ื อ จ ะ ไ ด้ส่ื อ ความหมายชดั เจน



ตวั อยา่ ง ๑ การพจิ ารณาความหมายของคาโดยใช้บริบทในประโยค ๑. ลกู ของผมโตแลว้ ๒. ลกู ของผมโตเป็นสาวแลว้ ประโยคท่ี ๑ ไม่สามารถบอกไดว้ า่ “ลกู ” เป็นหญิงหรอื ชาย ประโยคท่ี ๒ เขา้ ใจไดท้ นั ทีวา่ “ลกู ” เป็นหญิง เพราะมีคาวา่ “สาว”

ตัวอย่าง ๒ การพจิ ารณาความหมายของคาโดยใช้บริบทในประโยค ฉนั ชอบขันเงินใบนี้ (หมายถงึ ภาชนะสาหรบั ตกั หรือใสน่ า้ ) ฉนั ขันนอตท่ีตใู้ หแ้ นน่ (หมายถึง ทาใหต้ งึ หรือใหแ้ นน่ ดว้ ยวิธี หมนุ กวดเรง่ เขา้ ไป) ไก่ขันปลกุ ฉนั ทกุ เชา้ (หมายถงึ อาการรอ้ งอยา่ งหน่ึงของไก)่ ฉนั ขันนอ้ งท่ีพดู ไมช่ ดั (หมายถึง หวั เราะ) การพิจารณาคาท่ีมีหลายความหมายซง่ึ อยใู่ นประโยคก็ตอ้ ง อาศยั บรบิ ทในประโยคชว่ ยแปลความ เชน่ คาวา่ ขนั ดงั ตวั อยา่ ง

การฝึกสงั เกตคาและบริบท ข อ ง ค า อ ยู่เสมอ จ ะ ท า ใ ห้เ ข้า ใ จ ความหมาย สามารถแปลความและ ตีความไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง การส่ือสารจึง มีประสิทธิภาพ ไมเ่ กิดความเขา้ ใจผดิ

ประโยค เม่ือนาคาในภาษามาเรยี งกนั เพ่ือบอกใหท้ ราบวา่ ใคร ทาอะไร ใครเป็นอยา่ งไร เรยี กวา่ ประโยค การเลือกใชค้ าและ การเรยี งลาดบั คาในประโยคขนึ้ อยกู่ บั เจตนาของผสู้ ง่ สาร

ตวั อย่าง ถา้ ตอ้ งการถามจะใชค้ าท่ีแสดงคาถาม ตัวอย่าง ใครสง่ บตั รอวยพรมาใหฉ้ นั ถา้ ตอ้ งการขอความชว่ ยเหลือจะใชค้ าท่ีแสดงการขอรอ้ ง คณุ แมใ่ หผ้ มไปเพชรบรู ณด์ ว้ ยเถอะนะครบั ไมว่ า่ เจตนาของประโยคจะเป็นอยา่ งไร แตโ่ ครงสรา้ งพืน้ ฐานของประโยค จะตอ้ งมีประธานและกรยิ า บางประโยคอาจมีกรรมและสว่ นขยายเพ่ือใหป้ ระโยค ชดั เจนย่งิ ขนึ้ หรอื มีความซบั ซอ้ นไปตามบรบิ ทของการส่อื สาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook