คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 45 ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน ระบบยอ่ ย ตวั ป้อน กระบวนการ ผลผลติ (input) (process) (output) ระบบย่อยที่ 3 ระบบ สารทำ�ความเย็น สารท�ำ ความเย็นถกู ผลักให้ไหล สารท�ำ ความเยน็ ในสถานะ ลดความดัน ในสถานะของเหลว เขา้ ส่ภู ายในต้เู ย็นผา่ นวาล์วขยาย ของเหลวขยายตวั และ เยน็ ตวั ลงกลายเปน็ แกส๊ ทำ�ใหส้ ารท�ำ ความเย็นมคี วามดนั ลดลงอย่างรวดเรว็ ระบบย่อยท่ี 4 สารท�ำ ความเยน็ แกส๊ พาความเย็นไหลผ่าน สารท�ำ ความเยน็ ในสถานะ ระบบคอยล์เย็น อณุ หภมู ิต�่ำ คอยล์เยน็ ภายในต้เู ย็น แลว้ ดูด แกส๊ ทด่ี ดู ความรอ้ นภายใน ในสถานะแก๊ส ความร้อนจากภายในตูเ้ ยน็ ตเู้ ยน็ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของระบบยอ่ ยของต้เู ย็น ส่งสารทำ� input ระบบคอยล�ร�อน output ส่งสารท�ำ ความเยน็ ที่ สารทำความเย็น process ความเย็นท่ี เพม่ิ ความดันและ สถานะแกส� ท่มี ี อุณหภมู ิลดลง อณุ หภูมสิ งู ข้ึน อณุ หภมู เิ พิ่มขึน้ แกส� ทมี่ อี ุณหภมู ิสงู สารทำความเยน็ ทีม่ ี และกลายเป็น จะไหลไปตามคอยลร� อ� น อุณหภมู ลิ ดลง และ ของเหลว เพื่อถา� ยเทความรอ� น กลายสถานะเปน� สอ�ู ากาศดา� นนอกตเ�ู ยน็ ของเหลว ระบบเพิ่มความดัน ระบบลดความดนั input process output input process output สารทำความเยน็ คอมเพรสเซอร� สารทำความเยน็ ระบบ สารทำความเย็น สารทำความเยน็ สารทำความเยน็ ในสถานะแกส� บบี อดั สารทำ ท่มี อี ุณหภูมิ การทำงาน ในสถานะ ถกู ผลกั ใหไ� หล ในสถานะของเหลว ท่ีดดู ความร�อน ความเยน็ เพมิ่ ข้นึ ของตเ�ู ย็น ของเหลว เขา� สภ�ู ายในตเ�ู ยน็ ขยายตวั และ จากในตูเ� ย็น สถานะแก�ส ทำใหแ� กส� มี ผา� นวาลว� ขยาย เยน็ ตวั ลงกลาย ความดนั เพม่ิ ขน้ึ สารทำความเยน็ เปน� แกส� มคี วามดนั ลดลง อยา� งรวดเรว็ สง่ สารทำ� input ระบบคอยล�เย็น output ส่งสารท�ำ ความเย็นท่ี สารทำความเยน็ process ความเย็นท่ี ดูดความรอ้ น อณุ หภูมติ ำ่ ใน ลดความดนั ภายในตูเ้ ย็น สถานะแกส� แกส� ทำความเย็น สารทำความเยน็ และกลายเป็นแกส๊ ไหลผ�านคอยลเ� ยน็ ในสถานะแก�สท่ี ภายในตเู� ย็น แล�วดูด ดดู ความร�อน ความรอ� นจาก ภายในต�ูเยน็ ภายในตเู� ย็น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
46 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน อธบิ ายความสมั พนั ธ์ของระบบย่อยของตเู้ ยน็ ระบบเพมิ่ ความดนั คอมเพรสเซอรจ์ ะบบี อดั สารท�ำ ความเยน็ ในสถานะแกส๊ ท�ำ ใหม้ คี วามดนั และอณุ หภมู เิ พมิ่ ขน้ึ แลว้ สง่ สารท�ำ ความเยน็ ไปยงั ทอ่ แลกเปลยี่ นความรอ้ นทบ่ี รเิ วณระบบคอยลร์ อ้ น เพ่ือถ่ายเทความร้อนออกสู่ภายนอกตู้เย็น สารทำ�ความเย็นที่ถ่ายเทความร้อนแล้วจะกลายสถานะ เป็นของเหลว และไหลเข้าสู่ภายในตู้เย็นผ่านวาล์วขยาย ในระบบลดความดัน ความดันจะลดลง อย่างรวดเร็ว สารทำ�ความเย็นในสถานะของเหลวจะขยายตัวและเย็นตัวลงเป็นแก๊สอีกครั้ง สารทำ�ความเย็นในสถานะแก๊สจะไหลผ่านระบบคอยล์เย็น แล้วดูดความร้อนจากภายในตู้เย็น จากนัน้ สารทำ�ความเยน็ จะไหลต่อไปยงั คอมเพรสเซอร์ ท่ีระบบเพิ่มความดนั อีกคร้งั วนเปน็ วฏั จักร ไปเรือ่ ย ๆ อธิบายความผิดพลาดของระบบการทำ�งานของตเู้ ยน็ ปัญหาทีพ่ บ อณุ หภมู ิในตเู้ ย็น มีอณุ หภมู ติ ำ�่ ไมเ่ พยี งพอ สง่ ผลใหข้ องทแ่ี ชไ่ ว้เนา่ เสีย ระบบทผ่ี ดิ พลาดหรอื สาเหตุของปญั หา ระบบทำ�ความเย็นเสียหาย ซึ่งอาจเกิดจากสารทำ�ความเย็นร่ัวไหล หรือคอมเพรสเซอร์ ไมท่ ำ�งาน หรือแผ่นยางขอบประตูตูเ้ ยน็ เสยี หายหรอื เสื่อมสภาพ ท�ำ ใหอ้ ากาศภายนอกท่ีมีอณุ หภูมิ สูงกวา่ ไหลผ่านเขา้ ไปในตูเ้ ยน็ มีผลทำ�ใหอ้ ณุ หภมู ิในตเู้ ยน็ ไม่เปน็ ไปตามต้องการและระบบทำ�ความ เย็นท�ำ งานหนกั ข้นึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั 2 การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี การเรยี นรทู้ ่ี ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ทักษะและกระบวนการท่เี ปน็ จุดเนน้ ความรู้เดิมที่ผู้เรยี นตอ้ งมี สาระส�ำ คัญ สื่อและอุปกรณ์ แนวทางการจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล แหล่งเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะ แนวค�ำ ตอบกิจกรรม ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 2 ช่วั โมง
48 แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2 การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี 1. ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้ 1.1 ตัวชี้วดั วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ รวมท้ังประเมินผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น แนวทางในการพฒั นาเทคโนโลยี 1.2 สาระการเรยี นรู้ เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจาก หลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ สง่ิ แวดล้อม 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิเคราะหส์ าเหตุหรอื ปัจจยั ท่ีทำ�ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 49 การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 3. ทกั ษะและกระบวนการท่เี ป็นจดุ เน้น 3.1 ทกั ษะการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ 3.2 ทกั ษะการสื่อสาร 3.3 ทักษะการท�ำ งานรว่ มกับผอู้ ื่น 4. ความรูเ้ ดิมทผี่ ู้เรยี นต้องมี ผเู้ รยี นควรมคี วามรเู้ ดมิ ในเรอื่ งความหมายของเทคโนโลยซี งึ่ หมายถงึ สง่ิ ของเครอ่ื งใชห้ รอื ผลติ ภณั ฑ์ ตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ ทงั้ ในสมยั อดตี ปจั จบุ นั และจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต เพอ่ื แกป้ ญั หาหรอื สนองความตอ้ งการ ส่วนระบบทางเทคโนโลยมี ที ้ังระบบทางเทคโนโลยอี ย่างง่าย และระบบทางเทคโนโลยี ที่ซับซ้อน เทคโนโลยีที่พบเห็นได้ในชีวิตประจำ�วัน เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีด้านการ แพทยใ์ นปจั จบุ นั ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ ในอดตี ซง่ึ มนษุ ยเ์ ปน็ ผสู้ รา้ งหรอื พฒั นาขนึ้ เมอื่ ประสบกบั ปญั หา ในการดำ�รงชีวติ หรือเม่อื มคี วามต้องการเทคโนโลยีทีช่ ่วยอำ�นวยความสะดวก 5. สาระส�ำ คญั มนุษย์สร้างหรือพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ซ่ึงเทคโนโลยีที่ถูก สร้างขึ้นจะมีประโยชน์ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนงึ่ เมอื่ เวลาผ่านไป มนษุ ย์อาจพบปญั หาหรือสถานการณใ์ หม่ ทำ�ให้ตอ้ งสร้างหรอื พัฒนาเทคโนโลยขี ้นึ มาเพ่อื ใช้ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณท์ เี่ ปลย่ี นไป ปจั จัยท่ีสง่ ผลต่อ การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีสาเหตุมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ ่าง ๆ สภาพเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ซงึ่ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีเหล่านี้ สามารถใช้เป็นแนวทางเพ่ือการพัฒนาต่อยอด เทคโนโลยใี หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและทันสมยั ตลอดจนสามารถคาดการณเ์ ทคโนโลยที ่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ 6. ส่ือและอปุ กรณ ์ 6.1 ใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรม เร่อื ง เวลา (นาท)ี 20 กจิ กรรม 2.1 สาเหตหุ รือปจั จยั ของการเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยีในชวี ิต ประจำ�วัน 20 กิจกรรมทา้ ทายความคิด การพัฒนาไม้เทา้ ส�ำ หรับผบู้ กพร่องทางการเห็น กิจกรรมทา้ ยบท วเิ คราะหส์ าเหตุหรอื ปจั จัยของการเปลี่ยนแปลงของ 30 เทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
50 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 6.2 สื่ออื่น ๆ ตวั อยา่ งเทคโนโลยเี พอ่ื ประกอบการอธบิ ายเรอ่ื งการเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยี เชน่ โทรศพั ท์ มือถือ คอมพวิ เตอร์ บรรจุภัณฑ์รักษ์สง่ิ แวดล้อม วีดิทศั น์เกีย่ วกับเทคโนโลยีทางการแพทย์ 7. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1) ผสู้ อนน�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นดว้ ยการยกตวั อยา่ งเทคโนโลยรี อบตวั ทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงทเ่ี หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน เชน่ โทรศพั ทม์ อื ถอื คอมพวิ เตอร์ บรรจภุ ณั ฑร์ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม ดว้ ยการใชต้ วั อยา่ งจรงิ ใชภ้ าพนง่ิ หรอื วดี ทิ ศั น์ แสดงเรื่องราวการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดังกล่าวตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันว่าเทคโนโลยีแต่ละชนิด มรี ูปร่าง การใช้งาน ความปลอดภยั ความแขง็ แรง ราคา แตกต่างกนั อย่างไร 2) ผู้สอนให้ความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับเทคโนโลยีชนิดต่าง ๆ ในอดีต เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ เคยมขี นาดใหญแ่ ละตอ้ งใชร้ ะยะเวลาประมวลผลนาน ปจั จบุ นั มรี ปู แบบและการใชง้ านทเ่ี ปลย่ี นไปอยา่ งมาก 3) ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเน้ือหาจากหนังสือเรียนบทที่ 2 เร่ือง สาเหตุหรือปัจจัยของการเปล่ียนแปลง ของเทคโนโลยี ร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปให้ความรู้เก่ียวกับสาเหตุหรือปัจจัยท่ีทำ�ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง ได้แก่ ปัญหาหรือความต้องการ องค์ความรู้และความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ปัจจยั จากสภาพเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และสง่ิ แวดลอ้ ม 4) ผู้สอนให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน เพ่ือทำ�กิจกรรม 2.1 เรื่อง สาเหตุหรือปัจจัยของการ เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีในชีวิตประจำ�วัน แล้วให้ผู้แทนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลการวิเคราะห์สาเหตุหรือ ปจั จยั ของการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีในชีวติ ประจ�ำ วนั แลว้ อภิปรายสรปุ รว่ มกัน 5) ผู้สอนจัดกิจกรรมโดยใช้คำ�ถามชวนคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีเปล่ียนโลกว่าเทคโนโลยีเหล่าน้ัน มีอะไรบ้าง และท�ำ ใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงดงั กลา่ วได้อย่างไร โดยใหผ้ ู้เรียนศึกษาจากบทเรยี น หรอื สบื ค้น จากแหลง่ เรียนรู้อื่น ๆ เช่น วารสารในห้องสมุด เว็บไซต์ แล้วนำ�ขอ้ มลู ทีไ่ ด้มาอภปิ รายสรุปร่วมกัน 6) ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ จบั สลากเพอ่ื เลอื กศกึ ษาตวั อยา่ งการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ดงั หวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี อปุ กรณช์ ว่ ยลดปัญหาเกีย่ วกบั การนอน หฟู งั แพทย์ บรรจุภณั ฑ์รักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม จากนั้นให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลการศึกษาเพ่ืออภิปรายสรุปเกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัยของ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี 7) ผเู้ รยี นท�ำ กจิ กรรมทา้ ทายความคดิ จากสถานการณข์ องนอ้ งโรบอททไี่ ดศ้ กึ ษาแนวทางการพฒั นา ไมเ้ ท้าสำ�หรบั ผูบ้ กพร่องทางการเห็น แล้วนำ�เสนอและอภปิ รายสรุปรว่ มกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 51 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 8) ผ้เู รยี นทำ�กจิ กรรมทา้ ยบท เรอื่ ง วเิ คราะหส์ าเหตหุ รอื ปจั จัยของการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ทางการแพทย์ แลว้ น�ำ เสนอและอภปิ รายสรปุ แนวคดิ หลกั ของสาเหตหุ รอื ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง ของเทคโนโลยี 8. การวัดและประเมนิ ผล รายการประเมนิ วิธีการวัด เคร่อื งมือทใ่ี ช้วัด เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น การวเิ คราะห์สาเหตหุ รือ ตรวจกจิ กรรมทา้ ยบท กิจกรรมท้ายบท คะแนน 4 หมายถึง ดมี าก ปัจจยั ทท่ี �ำ ให้เกดิ การ คะแนน 3 หมายถงึ ดี เปล่ียนแปลงเทคโนโลยี คะแนน 2 หมายถึง พอใช้ คะแนน 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ ผู้เรียนไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดี ขึ้นไปถือวา่ ผา่ น ทกั ษะการสือ่ สาร สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผู้เรยี นไดร้ ะดับคุณภาพ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ดี ขึ้นไปถือวา่ ผา่ น ทักษะการคดิ (ดเู กณฑก์ ารประเมนิ อย่างมวี ิจารณญาณ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ในภาคผนวก) ทักษะการท�ำ งาน ร่วมกบั ผอู้ ื่น เกณฑก์ ารประเมนิ ประเดน็ การประเมนิ ระดับคะแนน การวิเคราะห์สาเหตุ 4 321 หรือปัจจัยท่ที ำ�ให้เกดิ การเปล่ียนแปลง วเิ คราะห์สาเหตุ วิเคราะห์สาเหตุ วเิ คราะหส์ าเหตุ วิเคราะห์สาเหตุ เทคโนโลยี หรือปัจจัยท่ี ทำ�ให้เกดิ การ หรอื ปัจจยั ที่ หรอื ปัจจัยท่ี หรือปจั จยั ที่ เปล่ยี นแปลงของ เทคโนโลยี พร้อม ท�ำ ใหเ้ กดิ การ ทำ�ใหเ้ กิดการ ท�ำ ใหเ้ กดิ การ อธิบายเหตุผลได้ ถูกต้อง ครบถ้วน เปลย่ี นแปลงของ เปล่ียนแปลงของ เปลยี่ นแปลงของ เทคโนโลยี พรอ้ ม เทคโนโลยี พรอ้ ม เทคโนโลยไี ด้ อธิบายเหตุผล อธิบายเหตผุ ล แต่อธิบายเหตุผล ไดถ้ กู ต้อง ได้ถกู ต้อง ไม่ถูกตอ้ ง เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางสว่ น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
52 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี เกณฑ์การตัดสินระดบั คุณภาพ คะแนน 4 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดมี าก คะแนน 3 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 2 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง หมายเหตุ เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม 9. แหล่งเรียนรู้ 9.1 แหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชนทเ่ี กีย่ วกบั การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยดี า้ นการประกอบอาชีพในทอ้ งถ่ิน 9.2 ปราชญ์ชาวบา้ น 9.3 สำ�นกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (http://www.depa.or.th/th/home) 9.4 องคก์ ารพพิ ิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ (http://www.nsm.or.th/) 10. ข้อเสนอแนะ เพ่ือกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนมากขึ้น ผู้สอนอาจใช้ตัวอย่างสื่อต่อไปนี้ เช่น โทรศัพท์มือถือ เคร่ืองรับวิทยุ เครื่องเล่นแผ่นเสียง สื่อบันทึกข้อมูลท่ีเป็นของจริง การใช้คิวอาร์โค้ด (Quick Response: QR Code) การใช้แอปพลิเคชันหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์สำ�หรับการเรียนการสอนสองทาง (interactive learning) ใชป้ ระกอบการอภปิ รายในชนั้ เรยี น 11. แนวค�ำ ตอบกิจกรรม กิจกรรม 2.1 สาเหตหุ รอื ปจั จัยของการเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยี ในชวี ติ ประจำ�วัน นักเรียนลองสังเกตและเลือกเทคโนโลยีในชีวิตประจำ�วันท่ีเคยเห็นและไม่ซ้ำ�กับตัวอย่าง ในบทเรียนมาอย่างน้อย 3 ชนิด แล้วอธิบายลักษณะของเทคโนโลยีเหล่านั้นว่ามีการเปล่ียนแปลง จากอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั อยา่ งไรในประเดน็ ตา่ ง ๆ เชน่ รปู รา่ ง การใชง้ าน ความปลอดภยั ความแขง็ แรง ราคา พรอ้ มทั้งวเิ คราะหส์ าเหตหุ รอื ปัจจยั ท่ีท�ำ ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลง แลว้ น�ำ เสนอ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 2 53 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยี ลักษณะของเทคโนโลยี สาเหตหุ รือปัจจยั ท่เี ปลยี่ นแปลงจากอดีตจนถึงปัจจบุ นั ท่ีท�ำ ใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลง 1. เครื่องนงุ่ ห่ม ใชเ้ ทคโนโลยีฮที เทค (heattech) มนษุ ยม์ ีความต้องการ นุง่ ห่มสบายในหน้าร้อน และอุน่ ใน เครอื่ งนุง่ ห่มทม่ี คี วามสบาย สวยงามและเหมาะสมกับ หนา้ หนาว ฤดกู าล เปล่ยี นจากการใชเ้ สน้ ใยพืช (เช่น ความกา้ วหนา้ ของวทิ ยาศาสตร์ ปอ ป่าน) และเสน้ ใยสตั ว์ (เช่น ไหม) ด้านนาโนเทคโนโลยี น�ำ มาใช้ เปน็ เส้นใยนาโนที่มสี มบตั ิไม่เปียกนำ้� ในการผลติ เส้นใยนาโนทีม่ ี ปอ้ งกนั การยับ หรอื ป้องกันเชือ้ ราบาง สมบัติตามต้องการ ชนดิ ได้ มนุษยม์ ีความตอ้ งการ 2. เครอ่ื งพมิ พ์ 2 มติ ิ พิมพง์ านเอกสารบนกระดาษ เครือ่ งมอื สำ�หรับการพิมพ์ พลาสติก ผา้ หรือวสั ดอุ ื่น ๆ โดยใช้ ช้ินงาน การขึ้นรูปช้ินงาน หมึกพมิ พ์ เปน็ 3 มติ ิ 3 มติ ิ ใชข้ ึ้นรปู ชิ้นงานเปน็ 3 มติ ิ เชน่ ความกา้ วหนา้ ของวทิ ยาศาสตร์ การผลติ ชนิ้ ส่วนรถยนต์ การผลิต และเทคโนโลยดี า้ นการพมิ พ์ อปุ กรณท์ างการแพทย์ ด้านวสั ดปุ ระเภทพลาสตกิ ชนดิ พิเศษสำ�หรับการขน้ึ รปู 3. กลอ้ งถา่ ยรูป มองเหน็ ภาพผ่านจอแสดงผล ชน้ิ งาน ได้ภาพสีซง่ึ ใกลเ้ คียงกบั ภาพจริง เปลีย่ นจากบนั ทกึ ภาพลงฟลิ ม์ ความต้องการของมนษุ ยใ์ น เปน็ การเปลีย่ นสัญญาณภาพ การถา่ ยภาพท่คี ลา้ ยภาพท่ี เปน็ สญั ญาณดจิ ทิ ลั โดยมหี นว่ ยความจ�ำ ตามองเหน็ ภายในกลอ้ งและภายนอก ท�ำ ให้ได้ ความกา้ วหนา้ ของวทิ ยาศาสตร์ จ�ำ นวนภาพมากข้ึน ในการพฒั นาเลนส์ และ เซน็ เซอร์ เพอ่ื รับและเปล่ียน สัญญาณภาพเปน็ สัญญาณ ดิจทิ ลั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
54 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี กิจกรรมทา้ ทายความคดิ การพฒั นาไม้เทา้ สำ�หรับผ้บู กพร่องทางการเห็น จากกิจกรรมท้าทายความคิดในบทที่ 1 ชวนคดิ นักเรียนได้ทราบมาแล้วว่า น้องโรบอทได้ศึกษา แนวทางการพัฒนาไม้เท้าสำ�หรับผู้บกพร่องทาง ให้นักเรยี นสบื คน้ ข้อมูลเพ่อื ศกึ ษาวา่ การเหน็ และทราบระบบการท�ำ งานของไมเ้ ทา้ รวมถงึ ในอดีตจนถึงปจั จบุ ัน ไมเ้ ท้าส�ำ หรบั ผูบ้ กพร่อง ไดอ้ อกแบบแนวคดิ การพฒั นาระบบการท�ำ งานของ ไม้เท้าให้มีประสิทธิภาพเพ่ือช่วยให้ผู้บกพร่องทาง ทางการเหน็ มกี ารพัฒนาและเปลีย่ นแปลง การเห็น และลดการเกิดอุบัติเหตุได้ดีข้นึ อย่างไรก็ตาม มาอย่างไรบา้ ง พร้อมน�ำ เสนอโดย นอ้ งโรบอทตอ้ งการทราบวา่ ไมเ้ ทา้ ส�ำ หรบั ผบู้ กพรอ่ ง ทางการเหน็ มีการเปล่ียนแปลงอย่างไรบ้าง แสดงภาพตวั อย่างและอธิบายสาเหตุหรอื ปจั จยั ท่ที �ำ ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลง แนวคำ�ตอบ ในอดตี ไมเ้ ทา้ อาจมี 1 ขาหรอื มี 4 ขา ชว่ ยประคอง ผู้ใช้ในขณะเดิน ซึ่งสามารถใช้งานได้ทั้งผู้บกพร่องทาง การเหน็ ผทู้ ตี่ อ้ งฝกึ หดั เดนิ และผสู้ งู อายุ ตอ่ มามกี ารพฒั นา ไมเ้ ทา้ ส�ำ หรบั ผบู้ กพรอ่ งทางการเหน็ โดยเฉพาะซงึ่ ใชว้ สั ดุ ทมี่ นี �ำ้ หนกั เบา เชน่ อะลมู เิ นยี ม ปอ้ งกนั การเกดิ สนมิ และ ไมเ้ ท้าชนดิ ตา่ ง ๆ สามารถพบั เกบ็ ได้ ปจั จุบนั ไม้เท้าผบู้ กพร่องทางการเห็น มีเซ็นเซอร์สำ�หรับส่ิงกีดขวาง โดยสามารถส่งเสียงเตือนและส่ันท่ีมือจับได้ เทคโนโลยีนี้จึงใช้ปัจจัย ทเี่ กยี่ วกบั ปญั หาและความตอ้ งการของมนษุ ย์ รว่ มกบั ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ ในดา้ นอปุ กรณ์ อิเลก็ ทรอนิกส์ และวสั ดุท่นี �ำ มาใช้ท�ำ ไม้เทา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ (ก) (ข) ไมเ้ ทา้ สำ�หรับผูบ้ กพรอ่ งทางการเหน็ ในปจั จุบนั ก) แบบพับได้ ข) แบบมเี ซน็ เซอร์สำ�หรบั สงิ่ กีดขวาง ทม่ี า : http://www.dailymail.co.uk/sciencetech/article-2663715/The-white-stick-gets-21st-century-makeover-30- smart-cane-uses-SONAR-vibrations-help-blind-people-see.html http://www.temcathai.com/magazine/documents/volume_20_issue_1/temca_magazine_1_5_27.pdf สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 55 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี กจิ กรรมท้ายบท วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจยั ของการเปล่ยี นแปลง ของเทคโนโลยที างการแพทย์ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 3 - 4 คน แล้วเลือกเทคโนโลยีทางการแพทย์มา 1 ชนดิ ยกตวั อยา่ งเชน่ อปุ กรณช์ ว่ ยในการเดนิ จากนน้ั วเิ คราะหห์ าสาเหตหุ รอื ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ การ เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยนี น้ั จากอดตี มาถงึ ปจั จบุ นั และคาดการณเ์ ทคโนโลยที จ่ี ะเปลย่ี นแปลงไป ในอนาคต พร้อมทัง้ อธบิ ายลกั ษณะของเทคโนโลยีน้นั ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ แลว้ นำ�เสนอ แนวค�ำ ตอบ เทคโนโลยที ี่เลือก คอื อปุ กรณ์ชว่ ยในการเดนิ 1. สาเหตุหรือปจั จยั ทีท่ �ำ ให้เกิดการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีชนดิ น้นั จากอดตี จนถงึ ปัจจุบัน ในอดีตจะใช้ไม้ค้ำ�ยัน (มี 1 ขาหรือมากกว่า) ต่อมามกี ารพฒั นาวอรก์ เคอร์ (walker) ซ่ึงเปน็ โครงอะลมู เิ นยี มมีขา 4 ขา (หรือลอ้ ) ใหผ้ ูใ้ ช้จับทัง้ สองมือจับยกหรอื ดนั ชว่ ยเดิน ปัจจุบันมีรองเท้า บูทช่วยเดิน (ankle brace walker) ซ่งึ จะมีส่วนท่ีช่วยประคองขาของผใู้ ชใ้ นขณะเดนิ เทคโนโลยี น้ีจึงใช้ปัจจัยท่ีเก่ียวกับปัญหาและความต้องการของมนุษย์ ร่วมกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ในด้านวสั ดทุ ่นี �ำ มาใช้ท�ำ อปุ กรณช์ ่วยในการเดินชนดิ ต่าง ๆ 2. คาดการณล์ ักษณะของเทคโนโลยนี น้ั ที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต จากความก้าวหน้าดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร อปุ กรณ์ช่วย ในการเดินอาจจะมกี ารทำ�งานแบบ Internet of Things (IoT) คอื มีการติดตั้งหน่วยความจำ�และ การประมวลผลในอุปกรณ์เพ่ือบันทึกข้อมูลเก่ียวกับแรงกด ระยะในการเดิน การคำ�นวณปริมาณ แคลอรที ใี่ ชใ้ นการเดนิ มรี ะบบการเชอ่ื มตอ่ ขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ นต็ เพอื่ สง่ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วไปใหบ้ คุ ลากร ทางการแพทย์ท่ีเกี่ยวข้อง และจากความก้าวหน้าของวัสดุศาสตร์ จะท�ำ ให้อุปกรณ์ช่วยในการเดิน ทำ�ด้วยวัสดุที่มีน้ำ�หนักเบาแต่มีความคงทน แข็งแรง มีอายุการใช้งานยาวนาน รวมทั้งความรู้ ด้านวิศวกรรมการแพทย์ในการออกแบบอุปกรณ์ช่วยในการเดินให้มีความเหมาะสมกับสรีระ เพศ และวยั ของผู้ใชแ้ ต่ละคน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั 3 ผลกระทบของเทคโนโลยี การเรยี นรทู้ ่ี ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ทกั ษะและกระบวนการท่ีเป็นจดุ เน้น ความรูเ้ ดมิ ทผ่ี ู้เรยี นตอ้ งมี สาระสำ�คญั สอ่ื และอปุ กรณ์ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล แหลง่ เรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะ แนวค�ำ ตอบกจิ กรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 2 ช่วั โมง
58 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 ผลกระทบของเทคโนโลยี 1. ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้ 1.1 ตวั ชีว้ ัด วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ รวมท้ังประเมินผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพ่ือเป็น แนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี 1.2 สาระการเรียนรู้ เทคโนโลยมี กี ารเปลยี่ นแปลงตลอดเวลาตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ซงึ่ มสี าเหตหุ รอื ปจั จยั มาจากหลาย ดา้ น เช่น ปัญหา ความต้องการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม สง่ิ แวดล้อม 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 วเิ คราะหผ์ ลกระทบของเทคโนโลยที งั้ ดา้ นบวกและดา้ นลบทสี่ ง่ ผลตอ่ มนษุ ย์ สงั คม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดล้อม 2.2 เสนอแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาทเี่ กิดจากผลกระทบของเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 3 59 บทที่ 3ผล|กผรละกทรบะขทอบงขเทอคงเโทนคโลโนยีโลยี 3. ทกั ษะและกระบวนการท่เี ป็นจดุ เนน้ 3.1 ทักษะการคิดเชงิ ระบบ 3.2 ทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ 3.3 ทกั ษะการสื่อสาร 4. ความรู้เดมิ ที่ผ้เู รียนตอ้ งมี ผู้เรียนมีความรู้เดิมเก่ียวกับเทคโนโลยีที่ซับซ้อน และการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีท่ีเกิดขึ้น เมอื่ มปี จั จยั เชน่ ปญั หาและความตอ้ งการของมนษุ ย์ สงั คม เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ ม ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์ ต่าง ๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีอาจเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพของเทคโนโลยี ท่มี ีอยูเ่ ดมิ หรือการสรา้ งเทคโนโลยขี ้นึ มาใหม่ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบนั 5. สาระสำ�คัญ การเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี ผใู้ ช้ ผพู้ ฒั นา และผสู้ รา้ งเทคโนโลยจี �ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารค�ำ นงึ ถงึ และวเิ คราะห์ ถงึ ผลกระทบของเทคโนโลยที งั้ ในทางดา้ นบวกและดา้ นลบทส่ี ง่ ผลตอ่ มนษุ ย์ สงั คม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ การเสนอแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หา ซ่งึ ปญั หานน้ั อาจเกดิ ขน้ึ แล้วหรอื คาดการณ์วา่ จะเกดิ ข้ึนในอนาคต จากการใชเ้ ทคโนโลยี เพือ่ เปน็ การสร้างความตระหนักใหเ้ กดิ ข้นึ แกผ่ ใู้ ช้ ผ้พู ัฒนา และผู้สร้าง เทคโนโลยที สี่ ง่ ผลต่อการพัฒนาประเทศอยา่ งยัง่ ยืน 6. สื่อและอุปกรณ์ เรือ่ ง เวลา (นาท)ี การวิเคราะหผ์ ลกระทบของเทคโนโลยี 20 6.1 ใบกจิ กรรม วิเคราะหผ์ ลกระทบของไมเ้ ท้าสำ�หรับ 20 ผบู้ กพรอ่ งทางการเหน็ ใบกิจกรรม สำ�รวจ วิเคราะห์ผลกระทบของเทคโนโลยี 40 กจิ กรรม 3.1 และเสนอแนวทางป้องกันและแกไ้ ข กจิ กรรมทา้ ทายความคิด กิจกรรมทา้ ยบท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
60 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี ผลกระทบของเทคโนโลยี 6.2 สื่ออ่ืน ๆ วีดทิ ัศน์ เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีทางการคมนาคม https://www.youtube.com/watch?v=ludS7hOQVuo วีดทิ ศั น์ เร่ือง ผลกระทบของเทคโนโลยีทางการแพทย์ https://www.youtube.com/watch?v=liribzaAogU วดี ิทัศน์ เร่อื ง ผลกระทบของเทคโนโลยีทางการสอื่ สาร https://www.youtube.com/watch?v=lk87wvkwgnM https://www.youtube.com/watch?v=L6lZeCWHgQs 7. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1) กระตนุ้ ความสนใจผเู้ รยี นดว้ ยการเปดิ วดี ทิ ศั น์ เรอ่ื ง ผลกระทบของเทคโนโลยที ง้ั ดา้ นบวกและดา้ นลบ จากน้ันให้ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้คำ�ถามว่า “นักเรียนคิดว่าการใช้เทคโนโลยีของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็น เทคโนโลยที างการคมนาคม เทคโนโลยที างการแพทย์ เทคโนโลยกี ารสอื่ สาร สง่ ผลกระทบตอ่ มนษุ ยอ์ ยา่ งไร” แนวค�ำ ตอบ 1. เทคโนโลยที างการคมนาคม ชว่ ยใหก้ ารด�ำ เนนิ ชวี ติ สะดวกรวดเรว็ แตใ่ นขณะเดยี วกนั กท็ �ำ ใหเ้ กดิ มลภาวะ และการจราจรติดขดั 2. เทคโนโลยีการส่ือสาร ช่วยให้การส่ือสารทำ�ได้รวดเร็วข้ึน แต่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการ สอ่ื สาร เมอื่ หมดอายุการใช้งานก็ท�ำ ใหเ้ กดิ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ พิ่มข้นึ 3. เทคโนโลยที างการแพทย์ ชว่ ยท�ำ ใหม้ นษุ ยม์ สี ขุ ภาพแขง็ แรง และมอี ายยุ นื ยาว แตเ่ มอื่ น�ำ เทคโนโลยี ทางการแพทย์ไปใชใ้ นทางที่ผดิ หรือไมเ่ หมาะสม อาจส่งกระทบตอ่ ผู้รับบรกิ าร หมายเหตุ คำ�ตอบท่ีไดจ้ ากผเู้ รียนอาจไมจ่ ำ�เปน็ ต้องครอบคลุมผลกระทบทงั้ ดา้ นบวกและดา้ นลบ 2) ผเู้ รยี นศกึ ษาเนอื้ หาในสว่ นบทน�ำ จากหนงั สอื เรยี นในบทท่ี 3 เรอ่ื งผลกระทบของเทคโนโลยี จากนน้ั ใชค้ �ำ ถาม ชวนคดิ “นกั เรยี นมกี ารใชเ้ ทคโนโลยอี ยตู่ ลอดเวลาในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ รถยนต์ เครอ่ื งปรบั อากาศ เคร่ืองถ่ายเอกสาร โทรศัพท์ พัดลม โทรทัศน์ นักเรียนบอกได้หรือไม่ว่า เทคโนโลยีท่ีผู้เรียนสนใจน้ัน เกดิ ผลกระทบในด้านบวกและดา้ นลบอย่างไร” เพอ่ื ให้ผเู้ รียนไดร้ ่วมกันอภิปราย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 61 บทท่ี 3ผล|กผรละกทรบะขทอบงขเทอคงเโทนคโลโนยีโลยี แนวคำ�ตอบ เทคโนโลยี ผลกระทบด้านบวก ผลกระทบด้านลบ รถยนต์ ช่วยอ�ำ นวยความสะดวก ควันไอเสียท่ีเกิดจากรถยนต์ กอ่ ใหเ้ กิด ในการเดินทาง มลพษิ ทางอากาศ เคร่อื งปรับอากาศ ควบคมุ อุณหภมู ภิ ายในห้อง กอ่ ใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ นและเปน็ แหลง่ สะสม ปดิ ไดต้ ามความตอ้ งการ ของเช้ือโรค ถ้าไม่ท�ำ ความสะอาดแผ่น กรองอากาศ เครอ่ื งถ่ายเอกสาร สำ�เนาเอกสารได้ในปริมาณมาก และรวดเร็ว เกิดฝนุ่ ละอองของหมกึ ทีอ่ าจเป็น อนั ตรายตอ่ ผู้ใช้ 3) ผเู้ รยี นท�ำ กจิ กรรม 3.1 เรอื่ ง การวเิ คราะหผ์ ลกระทบของเทคโนโลยี โดยแบง่ กลมุ่ ผเู้ รยี นใหศ้ กึ ษาและ สืบค้นในประเด็นดังน้ี 1) ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อมนุษย์ และสังคม 2) ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อ เศรษฐกจิ และ 3) ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม จากน้ันใหผ้ ู้เรียนเลอื กวิเคราะห์ผลกระทบของ เทคโนโลยที ี่สนใจมา 1 ประเดน็ จากท้ัง 3 ประเดน็ ข้างต้น และเตรียมน�ำ เสนอผลงาน 4) ผู้เรียนนำ�เสนอผลงาน จากน้ันผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปราย และสรุปในประเด็นของการใช้ การพัฒนา และการสร้างเทคโนโลยี ที่ส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม ทัง้ ด้านบวกและดา้ นลบ 5) ผู้เรียนศึกษาตัวอย่างการวิเคราะห์ผลกระทบของเทคโนโลยีและแนวทางการป้องกันและแก้ไข กรณีศึกษาโครงการแกล้งดิน และการสร้างสนามบิน จากนั้นผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ ผลกระทบต่อมนุษย์และสังคม ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ในกรณีดังกล่าว โดยเน้นว่าผู้ใช้ ผู้พัฒนา หรือผู้สร้างเทคโนโลยีควรจะต้องมีการวางแผนแนวทางในการป้องกันและแก้ไข เพ่ือใหเ้ กดิ ผลกระทบดา้ นลบน้อยทสี่ ุดจากการใช้ การพฒั นา และการสร้างเทคโนโลยี 6) ผเู้ รยี นท�ำ กจิ กรรมทา้ ทายความคดิ เรอ่ื ง วเิ คราะหผ์ ลกระทบของไมเ้ ทา้ ส�ำ หรบั ผบู้ กพรอ่ งทางการเหน็ โดยให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ผลกระทบทางด้านบวกและด้านลบต่อมนุษย์ และสังคม เศรษฐกิจ หรือ สง่ิ แวดลอ้ ม ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการใชแ้ ละการผลติ ไมเ้ ทา้ อจั ฉรยิ ะทอ่ี อกแบบไวใ้ นบทท่ี 1 (ครคู วรอธบิ ายวา่ เทคโนโลยี ทส่ี รา้ งขน้ึ อาจมหี รือไมม่ ีผลกระทบครบทุกดา้ นกไ็ ด)้ 7) ผเู้ รยี นแบง่ กลมุ่ ท�ำ กจิ กรรมทา้ ยบท เรอื่ ง ส�ำ รวจ วเิ คราะหผ์ ลกระทบของเทคโนโลยี และเสนอแนวทาง ป้องกนั และแกไ้ ข “ปจั จบุ นั มกี ารใช้เทคโนโลยีอยูต่ ลอดเวลาในชีวิตประจำ�วัน ขณะเดียวกันในชุมชนเองก็มี การใช้เทคโนโลยีท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้นด้วย ลองสำ�รวจและวิเคราะห์ผลกระทบท้ังด้านบวกและด้านลบ ของเทคโนโลยที สี่ นใจในชมุ ชน เชน่ ระบบไฟฟา้ แสงสวา่ ง การจดั การขยะ หรอื การจดั การน�ำ้ พรอ้ มทงั้ เสนอ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนแล้ว หรือคาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้น” ผู้สอนกระตุ้นผู้เรียนว่า ผลกระทบของเทคโนโลยที วี่ เิ คราะหไ์ มจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งมที ง้ั ทางดา้ นบวกและลบเสมอไป อาจมเี ฉพาะดา้ นใดดา้ น หนึง่ กไ็ ด้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
62 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี ผลกระทบของเทคโนโลยี 8) ผเู้ รียนและผู้สอนรว่ มกันอภปิ รายเพ่อื ใหไ้ ด้ข้อสรปุ ดงั น้ี “การใช้ การพฒั นา และการสรา้ งเทคโนโลยี กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบดา้ นบวกและดา้ นลบตอ่ มนษุ ย์และสงั คม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดล้อม จงึ มีความจำ�เป็น ทีจ่ ะต้องคิด วิเคราะหอ์ ยา่ งมีเหตุผล และรอบคอบ ถึงผลกระทบของเทคโนโลยีนั้น และหาแนวทางปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาท่ีเกิดขึ้นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม” 8. การวดั และประเมินผล รายการประเมนิ วธิ ีการวดั เครอื่ งมือทใี่ ชว้ ดั เกณฑก์ ารประเมิน การผา่ น การวิเคราะห์ผลกระทบ ตรวจใบกจิ กรรม ใบกิจกรรม 3.1 คะแนน 7-8 หมายถงึ ดมี าก ทางเทคโนโลยี กิจกรรมทา้ ยบท คะแนน 5-6 หมายถงึ ดี คะแนน 3-4 หมายถงึ พอใช้ การสำ�รวจ วเิ คราะหผ์ ล คะแนน 1-2 หมายถึง ปรบั ปรุง กระทบของเทคโนโลยี ตรวจกจิ กรรม และเสนอแนวทาง ทา้ ยบท ป้องกันและแกไ้ ข ผเู้ รยี นไดร้ ะดับคุณภาพ ปญั หา ดี ขึ้นไป ถือว่าผา่ น ทกั ษะการคดิ เชงิ ระบบ สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผู้เรียนได้ระดับคุณภาพ แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ดี ข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ น ทกั ษะการคดิ อย่างมี สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม (ดูเกณฑก์ ารประเมิน วิจารณญาณ ในภาคผนวก) ทักษะการสือ่ สาร สงั เกตพฤตกิ รรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 63 บทที่ 3ผล|กผรละกทรบะขทอบงขเทอคงเโทนคโลโนยีโลยี เกณฑก์ ารประเมนิ ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 การวเิ คราะหผ์ ลกระทบ วเิ คราะหผ์ ลกระทบ วเิ คราะหผ์ ลกระทบ วเิ คราะหผ์ ลกระทบ วเิ คราะหผ์ ลกระทบ ของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี ทั้งทางดา้ นบวก ทั้งทางด้านบวก ทงั้ ทางดา้ นบวก ทง้ั ทางด้านบวก และดา้ นลบได้ และดา้ นลบได้ และดา้ นลบได้ และดา้ นลบได้ ชัดเจน และ ชัดเจน และ สอดคล้องกับ แตไ่ ม่สอดคล้อง สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ สถานการณ์ กบั สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ แตไ่ มช่ ัดเจน ได้ถกู ตอ้ ง ไดถ้ กู ต้อง ครบถ้วน เปน็ ส่วนใหญ่ การสำ�รวจ วิเคราะห์ วเิ คราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วเิ คราะห์ ผลกระทบของเทคโนโลยี ผลกระทบของ ผลกระทบของ ผลกระทบของ ผลกระทบของ และเสนอแนวทาง เทคโนโลยที งั้ เทคโนโลยที งั้ เทคโนโลยีท้ัง เทคโนโลยที ง้ั ปอ้ งกันและแก้ไข ทางดา้ นบวกและ ทางดา้ นบวกและ ทางดา้ นบวกและ ทางดา้ นบวก ปัญหา ดา้ นลบไดช้ ดั เจน ดา้ นลบไดช้ ดั เจน ดา้ นลบไดช้ ดั เจน และดา้ นลบได้ และเสนอวิธี และเสนอวธิ ี และเสนอวิธี ไมช่ ดั เจน และ การป้องกนั และ การปอ้ งกนั และ การปอ้ งกนั และ ไมส่ ามารถเสนอ แก้ไขปญั หาได้ แก้ไขปัญหาได้ แกไ้ ขปัญหาได้ วธิ กี ารปอ้ งกนั และ และเป็นไปได้ และเป็นไปได้ และเปน็ ไปได้ แกไ้ ขปัญหาได้ ไดถ้ กู ต้อง ได้ถกู ตอ้ ง ได้ถูกต้อง ครบถ้วน เปน็ สว่ นใหญ่ บางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสินระดับคุณภาพ คะแนน 7-8 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 5-6 คะแนน หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ดี คะแนน 3-4 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1-2 คะแนน หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง หมายเหตุ เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลสามารถปรบั เปล่ียนได้ตามความเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
64 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี ผลกระทบของเทคโนโลยี 9. แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 ภายในโรงเรียน เชน่ หอ้ งสมดุ ห้องศนู ย์การเรยี นรู้ในโรงเรียน หอ้ งพยาบาล ศูนยส์ ะเต็มศึกษา 9.2 ภายนอกโรงเรยี น เชน่ หอ้ งสมดุ ของสถานศกึ ษา หรอื หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในชมุ ชน ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ศูนย์ OTOP ศูนย์วิทยาศาสตร์ประจำ�จังหวัด แหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ในจังหวัด องค์การพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ (อพวช.) 9.3 แหล่งเรยี นร้อู ื่น ๆ เช่น เวบ็ ไซต์ท่เี กย่ี วข้อง 10. ข้อเสนอแนะ 10.1 ในการจัดกิจกรรมผู้สอนควรจัดเตรียมภาพหรือสื่อมัลติมีเดียท่ีเก่ียวข้องกับผลกระทบท่ีเกิด จากการใช้เทคโนโลยี แทนการเล่าเรอ่ื ง เนื่องจากจะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเหน็ ภาพและเขา้ ใจมากย่งิ ข้ึน 10.2 ผสู้ อนอาจจดั เตรยี มตวั อยา่ งเทคโนโลยที อ่ี าจเกดิ ขนึ้ ในอนาคตในชว่ งสรปุ บทเรยี น เชน่ รถยนต์ ที่สามารถขับเคล่ือนได้ท้ังทางบกและทางอากาศ หรือการพัฒนาการนำ�ส่งยาในการรักษาโรคมะเร็งด้วย นาโนเทคโนโลยชี วี ภาพ เปน็ ตน้ โดยจดั การเรยี นการสอนดว้ ยเทคนคิ การสะทอ้ นคดิ เพอื่ เชอ่ื มโยงใหผ้ เู้ รยี น ได้ตระหนักถึงผลกระทบของเทคโนโลยีทีม่ ตี ่อตนเอง สงั คม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดลอ้ ม 11. แนวค�ำ ตอบกิจกรรม กิจกรรม 3.1 การวเิ คราะห์ผลกระทบทางเทคโนโลยี เลือกเทคโนโลยีที่สนใจและวิเคราะห์ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของการใช้เทคโนโลยี โดยเลอื กวเิ คราะหผ์ ลกระทบเทคโนโลยเี พยี ง 1 ประเดน็ จากผลกระทบตอ่ มนษุ ยแ์ ละสงั คม ผลกระทบ ต่อเศรษฐกจิ หรือผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม เทคโนโลยีท่สี นใจคือ เครอ่ื งวัดความดันแบบดจิ ิทลั ผลกระทบของเทคโนโลยีตอ่ สงั คมและมนุษย์ ผลกระทบดา้ นบวก ผลกระทบดา้ นลบ 1. ใชเ้ วลาในการตรวจวดั ความดนั เรว็ ขน้ึ 1. ตอ้ งมกี ารดแู ลรกั ษาอยตู่ ลอดเวลา 2. ประชาชนสามารถตรวจสอบสุขภาพ 2. ผใู้ ชง้ านตอ้ งมคี วามรใู้ นการใชง้ าน ของตนเองได้อย่างสมำ�่ เสมอ 3. อาจเกดิ ผดิ พลาดในการตรวจวดั 3. สามารถวิเคราะห์ผลไดอ้ ย่างแม่นยำ�และ รวดเร็ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 65 บทท่ี 3ผล|กผรละกทรบะขทอบงขเทอคงเโทนคโลโนยีโลยี กจิ กรรมท้าทายความคิด วเิ คราะห์ผลกระทบของไม้เทา้ ส�ำ หรบั ผูบ้ กพรอ่ งทางการเห็น ในกิจกรรมท้าทายความคิดในบทที่ 1 ชวนคิด และ 2 นักเรียนได้ทราบเกี่ยวกับระบบการ ท�ำ งานของไมเ้ ทา้ และการเปลย่ี นแปลงของไมเ้ ทา้ น้องโรบอท อยากทราบวา่ ไม้เทา้ สำ�หรับ สำ�หรับผู้บกพร่องทางการเห็น อย่างไรก็ตาม ผ้บู กพร่องทางการเหน็ ท่อี อกแบบระบบการ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นย่อมมีผลกระทบทั้ง ท�ำ งานไวใ้ นบทที่ 1 นน้ั จะมผี ลกระทบทางดา้ น ด้านบวกและด้านลบ ดังน้ัน นักเรียนจึงต้อง บวกและดา้ นลบต่อมนุษย์ สงั คม เศรษฐกจิ วิเคราะห์ผลกระทบของเทคโนโลยีที่ศึกษาให้ รอบคอบเพื่อป้องกันและลดผลกระทบด้านลบ หรอื สง่ิ แวดล้อมหรอื ไม่ อยา่ งไร พร้อม ที่อาจเกดิ ขน้ึ วเิ คราะหผ์ ลกระทบท่เี กดิ ขึ้นจากการใช้ และการผลิตไมเ้ ท้านน้ั ผลกระทบตอ่ ดา้ นบวก ดา้ นลบ มนษุ ย์ และ ปอ้ งกันอุบัตเิ หตจุ ากการใช้งาน - สังคม ผูบ้ กพรอ่ งทางการเห็นสามารถเดนิ ทางได้สะดวกขึ้น อาจทำ�ให้สินคา้ มรี าคาสูงเกนิ ไป สง่ ผลให้ผู้บกพร่องทางการเห็น เศรษฐกิจ เพมิ่ มลู คา่ ใหก้ บั สินคา้ ท่ีมีรายไดน้ ้อยไมส่ ามารถซอ้ื ได้ ก่อให้เกิดของเสียใน สิ่งแวดลอ้ ม ใช้ทรพั ยากรใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ กระบวนการผลิต ถ้ากระบวนการผลติ ไม่ได้คำ�นงึ ถึงการใชท้ รัพยากร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
66 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี ผลกระทบของเทคโนโลยี กจิ กรรมท้ายบท สำ�รวจ วิเคราะห์ผลกระทบของเทคโนโลยี และเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไข ปจั จบุ ันมีการใช้เทคโนโลยอี ยู่ตลอดเวลาในชวี ติ ประจำ�วนั ขณะเดยี วกนั ในชุมชนเองกม็ กี าร ใชเ้ ทคโนโลยที ม่ี คี วามซบั ซอ้ นมากขน้ึ ดว้ ย ลองส�ำ รวจและวเิ คราะหผ์ ลกระทบทง้ั ดา้ นบวกและดา้ นลบ ของเทคโนโลยที สี่ นใจในชมุ ชน เชน่ ระบบไฟฟา้ แสงสวา่ ง การจดั การขยะ หรอื การจดั การน�้ำ พรอ้ ม ทง้ั เสนอแนวทางการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาท่ีเกิดขึ้นแลว้ หรอื คาดการณว์ า่ จะเกดิ ขึ้น ตวั อยา่ งแนวค�ำ ตอบที่ 1 การวเิ คราะหผ์ ลกระทบของเทคโนโลยบี ่อฝงั กลบขยะ หวั ข้อ ผลกระทบตอ่ มนษุ ย์ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ผลกระทบตอ่ และสังคม สง่ิ แวดล้อม ผลกระทบ 1. กำ�จัดขยะในชมุ ชน 1. แก๊สจากกระบวนการ 1. ป้องกันการปนเป้ือน ด้านบวก ครวั เรือน หมกั ของขยะในบอ่ ฝงั ขยะลงสู่แหลง่ นำ�้ กลบ สามารถน�ำ ไปเป็น 2. ป้องกันเชื้อโรค ที่เกดิ เชื้อเพลิงได้ และดนิ จากการก�ำ จัดขยะ 2. สร้างรายได้จากการขาย ไม่ถกู วธิ ี ขยะทีค่ ดั แยก ก่อนน�ำ ไป ฝังกลบ ผลกระทบ 1. เกิดกลน่ิ ทไี่ ม่พงึ 1. ถา้ ไม่มกี ารคดั แยกขยะท่ี 1. อาจเกดิ การปนเปอ้ื น ด้านลบ ประสงคใ์ นบรเิ วณ มีประโยชน์ หรือมมี ูลคา่ ของน�ำ้ เสียจากบ่อ ใกล้เคยี ง จะเป็นการสญู เสียรายได้ ขยะลงในดิน หรอื แหลง่ นำ้�ใกล้เคยี ง 2. เสย่ี งต่อการเกดิ ไฟ 2. เสี่ยงตอ่ การเกิดไฟไหม้ ไหมบ้ อ่ ขยะ ทำ�ให้ บอ่ ขยะ ซง่ึ อาจเกดิ ความ 2. อาจเกดิ ปัญหาไฟไหม้ เกดิ ปัญหาสขุ ภาพที่ เสยี หายตอ่ ทรัพยส์ ินหรือ บ่อขยะ สง่ ผลกระทบ เกดิ จากการสูดดม ทอ่ี ยอู่ าศยั ในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มใน ควันไฟ หลายดา้ น เชน่ มลพิษ 3. ถา้ เลอื กพนื้ ทฝ่ี งั กลบขยะ ทางอากาศ ไม่เหมาะสม อาจท�ำ ให้ สญู เสยี พน้ื ทใ่ี นการท�ำ 3. เกิดการเปล่ียนแปลง การเกษตร หรอื สถานท่ี ของระบบนิเวศใน ทอ่ งเทีย่ ว ส่งผลใหร้ ายได้ บรเิ วณใกลเ้ คยี งบอ่ ขยะ ลดลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 3 67 บทที่ 3ผล|กผรละกทรบะขทอบงขเทอคงเโทนคโลโนยีโลยี วธิ ีการป้องกัน 1. มีการวางแผนดำ�เนนิ งาน และเลอื กพื้นที่ ในการสรา้ งบ่อฝังกลบขยะ โดยไมส่ ่งผลกระทบ ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม 2. มีระบบการบริหารจดั การบอ่ ขยะท่ีถูกตอ้ ง เหมาะสม ตามหลักวิชาการ 3. มกี ารใหค้ วามรูแ้ ก่ประชาชนเกยี่ วกบั การคดั แยกขยะก่อนนำ�มาฝงั กลบ วธิ ีการแกไ้ ขปัญหา 1. รณรงค์การคดั แยกขยะก่อนท้ิงในชุมชนและครวั เรือน 2. ควรหาแนวทางการกำ�จดั ขยะดว้ ยวธิ ีการอน่ื มาใช้รว่ มกัน เพอ่ื ลดพ้ืนท่ีทีใ่ ชใ้ นการท�ำ บอ่ ฝงั กลบขยะ และเปน็ การลดมลพษิ จากการฝงั กลบขยะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
68 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี ผลกระทบของเทคโนโลยี ตัวอยา่ งแนวคำ�ตอบที่ 2 การวิเคราะหผ์ ลกระทบของเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์เพ่อื อตุ สาหกรรม หนุ่ ยนตเ์ พื่ออุตสาหกรรม (Industrial robot) ผลกระทบดา้ นบวก ผลกระทบดา้ นลบ 1. สามารถท�ำ งานทย่ี าก เสย่ี งอนั ตรายแทนมนษุ ยไ์ ด้ 1. ลงทุนสูง ใช้พลังงานไฟฟ้าจำ�นวนมาก 2. เกดิ ขอ้ ผดิ พลาดในกระบวนการท�ำ งานนอ้ ยลง จำ�เป็นต้องมีแหล่งสำ�รองพลังงาน มคี า่ ใชจ้ า่ ยในการบ�ำ รุงรักษาทส่ี งู สง่ ผลใหส้ ญู เสยี วตั ถดุ บิ จากการท�ำ งานนอ้ ยลง 3. ชน้ิ งานทไ่ี ดม้ คี ณุ ภาพสงู และมคี วามสม�ำ่ เสมอ 2. การบ�ำ รงุ รกั ษา ตอ้ งใชผ้ เู้ ชย่ี วชาญเฉพาะ 3. เกิดขยะอิเล็กทรอนิกส์จากช้ินส่วน ด้วยระบบการทำ�งานทม่ี คี วามเทีย่ งตรง 4. ผลิตชิ้นงานได้ปริมาณมาก เพราะสามารถ เครอื่ งจักร 4. เพิ่มอัตราการว่างงาน เนื่องจากมีการ ทำ�งานได้ตามระยะเวลาทก่ี �ำ หนด 5. ลดต้นทุนการผลิต ด้านแรงงาน ในการ ใชห้ นุ่ ยนตท์ ดแทน สรรหาคนงาน และการฝึกทกั ษะ ปัญหาทีต่ ามมา วธิ ีการป้องกันปัญหา แนวทางการแกไ้ ขปญั หา 1. ไม่สามารถทำ�งานได้ ถ้ามี 1. ตอ้ งมแี หลง่ สำ�รองพลังงาน 1. จั ด ห า เ ท ค โ น โ ล ยี พลงั งานไฟฟา้ ไมเ่ พยี งพอ 2. ต้องมีระบบจัดการขยะ หุ่นยนต์ท่ีประหยัด พลงั งานและเปน็ มติ ร 2. เ กิ ด ก า ร ป น เ ป้ื อ น ข อ ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ต า ม ห ลั ก กบั ส่ิงแวดล้อม โลหะหนัก จากชิ้นส่วน วิชาการ ขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3. มกี ฎหมายรองรบั การจดั การ 2. นำ�ช้ินส่วนของขยะ ขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ม า 3. มกี ารลกั ลอบทง้ิ ชน้ิ สว่ นขยะ 4. พัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน คั ด แ ย ก แ ล ะ ผ่ า น อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศ ใหเ้ ทา่ ทันเทคโนโลยี กระบวนการนำ�กลับ ดอ้ ยพัฒนา มาใชใ้ หม่ 4. อัตราการว่างงานท่ีสูงขึ้น 3. ปรบั ปรงุ และยกระดบั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อาชญากรรม ฝมี อื แรงงาน เพอ่ื ตอบ ในสงั คม สนองความต้องการ ของผ้ปู ระกอบการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั 4 วสั ดุ และเครื่องมอื พน้ื ฐาน การเรยี นรทู้ ่ี ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ทักษะและกระบวนการทเี่ ปน็ จุดเน้น ความรเู้ ดมิ ทีผ่ ูเ้ รียนตอ้ งมี สาระส�ำ คัญ สื่อและอุปกรณ์ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล แหล่งเรยี นรู้ ข้อเสนอแนะ แนวคำ�ตอบกจิ กรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เวลา 4 ช่วั โมง
70 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 วัสดแุ ละเคร่ืองมือพนื้ ฐาน 1. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้ 1.1 ตัวช้ีวัด ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเกยี่ วกบั วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื กลไก ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และเทคโนโลยี ทซี่ ับซ้อนในการแก้ปัญหาหรือพฒั นางาน ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย 1.2 สาระการเรยี นรู้ 1) วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติ เพือ่ เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน 2) อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างช้ินงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั รวมทั้งรจู้ ักเกบ็ รกั ษา 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 วเิ คราะหส์ มบตั ขิ องวสั ดุ เพอ่ื น�ำ ไปใชใ้ นการสรา้ งหรอื พฒั นาชน้ิ งานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และเหมาะสม 2.2 วิเคราะห์และเลือกเคร่ืองมือพื้นฐาน เพื่อนำ�ไปใช้ในการสร้างหรือพัฒนาช้ินงานได้อย่าง ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 71 วัสดุ และเครื่องมือพ้นื ฐาน 3. ทกั ษะและกระบวนการทเ่ี ปน็ จดุ เนน้ 3.1 ทักษะการคิดเชงิ ระบบ 3.2 ทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ 3.3 ทกั ษะการทำ�งานรว่ มกบั ผู้อืน่ 3.4 ทกั ษะการส่ือสาร 4. ความรเู้ ดมิ ทผ่ี ูเ้ รียนตอ้ งมี ผเู้ รยี นตอ้ งมคี วามรเู้ กยี่ วกบั วสั ดพุ นื้ ฐานวา่ มหี ลายประเภท ซงึ่ แตล่ ะประเภทอาจมสี มบตั ทิ เี่ หมอื น หรือแตกต่างกัน รวมทั้งเครื่องมือพื้นฐานท่ีใช้ในการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงานก็จะมีความแตกต่างกัน ดังนั้น การเลือกวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือต่าง ๆ มาใช้ในการสร้างหรือพัฒนาช้ินงาน ต้องพิจารณาจากสมบัติ ของวสั ดุ ลกั ษณะของอปุ กรณ์ และประเภทของเครอ่ื งมอื ใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน เพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการทำ�งาน 5. สาระส�ำ คัญ วสั ดมุ อี ยูห่ ลายประเภท แต่ละประเภทมสี มบตั ทิ ่เี หมอื นและแตกตา่ งกัน เราจงึ ตอ้ งเลอื กใช้วัสดใุ ห้ เหมาะสมกับการใช้งาน และต้องเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับลักษณะ ของงาน เช่น การตัด และการเจาะ นอกจากน้ีผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เปน็ อย่างดี เพ่ือความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน 6. ส่อื และอปุ กรณ์ 6.1 ใบกิจกรรม ใบกจิ กรรม เรอื่ ง เวลา (นาที) กจิ กรรม 4.1 วเิ คราะหป์ ระเภทและอธบิ ายสมบตั ขิ องวสั ดใุ นสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ 20 กจิ กรรม 4.2 วเิ คราะห์เครือ่ งมือพื้นฐานในการสรา้ งสิง่ ของเคร่ืองใช้ 20 กิจกรรมท้าทาย ความคดิ อธิบายและเลอื กใชว้ ัสดแุ ละอุปกรณ์ในการสร้างไมเ้ ท้า 30 กิจกรรมทา้ ยบท ออกแบบอปุ กรณ์และนำ�เสนอแนวทางการเลือกใช้วัสดุ 60 และเคร่อื งมือพื้นฐาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
72 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี วสั ดุ และเครอ่ื งมือพืน้ ฐาน 6.2 สือ่ อนื่ ๆ วดี ิทัศน์ เรอื่ ง วธิ กี ารใชเ้ ครอ่ื งมือ https://www.youtube.com/watch?v=aA-yEaVA3ZQ วีดิทศั น์ เรือ่ ง การใชเ้ คร่อื งมอื วัด ไมโครมเิ ตอร์ (micrometer) https://www.youtube.com/watch?v=1GUjn_B40WM วัสดุ ไดแ้ ก่ ไฟเบอรบ์ อรด์ ปาร์ตเิ คิลบอรด์ ไมส้ งั เคราะห์ไฟเบอร์ซีเมนต์ สงั กะสี และกระจก เครอ่ื งมือ ไดแ้ ก่ เลื่อยลอ เลอ่ื ยตดั เหลก็ สว่านมอื เวอรเ์ นยี รค์ าลิเปอร์ และคีมแบบต่าง ๆ 7. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ ตอนที่ 1 สมบตั ิของวัสดุ 1) ผู้สอนแสดงตัวอย่างวัสดุหรืออุปกรณ์ให้ผู้เรียนศึกษา เช่น พัดลม เตารีด กระติกนำ้�ร้อน กระทะ คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คล กลอ่ งทท่ี �ำ จากโลหะ กระจก จากนนั้ ผสู้ อนตง้ั ค�ำ ถามเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นอภปิ ราย เกย่ี วกับวสั ดุ อุปกรณ์ ในประเด็นดังตอ่ ไปนี้ อปุ กรณเ์ หล่านม้ี ีช้นิ สว่ นอะไรบ้าง แต่ละชิน้ ส่วนท�ำ จากวสั ดุอะไร วัสดุดงั กลา่ วมีสมบตั ิอยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ 1. พัดลม ประกอบด้วยใบพัด มอเตอร์ สวิตช์กลไกการเปิด-ปิด และปรับระดับความแรง ของพัดลมและตัวเคร่ือง ซง่ึ วสั ดุส่วนมากที่น�ำ มาผลติ เปน็ พัดลม คือ พลาสติกท่มี คี วามหนาแนน่ สงู เพราะ สามารถรบั แรงกระแทกไดด้ ี นำ้�หนกั เบา 2. กระทะ ประกอบด้วยตวั กระทะ และดา้ มจบั โดยตวั กระทะท�ำ จากเหลก็ สเตนเลส หรือ อะลูมิเนียม ซ่ึงนำ�ความร้อนได้ดี ทำ�ให้อาหารสุกได้ท่ัวถึง ในขณะท่ีด้านจับ ทำ�จากฉนวนความร้อน เพ่อื ปอ้ งกนั ความรอ้ นมาสมู่ อื ผูใ้ ชง้ าน 2) ผู้สอนใช้คำ�ถามชวนคิดเพื่อให้ผู้เรียนร่วมกันอภิปราย ดังนี้ “ควรใช้วัสดุประเภทใดท่ีสามารถ นำ�มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถป้องกันความร้อน เพ่ือป้องกันความร้อนจากวัสดุมาสู่มือ และเพราะ เหตุใดจึงเลอื กวัสดปุ ระเภทน้นั ” แนวคำ�ตอบ ผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถป้องกันความร้อนได้ ควรเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตมาจาก วัสดุประเภท กระเบ้ือง แก้ว ไม้ ผ้า หรือพลาสติก เพราะเป็นวัสดุที่นำ�ความร้อนได้ไม่ดี หรือเรียกว่า ฉนวนความร้อน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 4 73 วสั ดุ และเครือ่ งมือพ้ืนฐาน 3) ผเู้ รียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม เพอ่ื ใหศ้ ึกษาเกี่ยวกับวัสดุนา่ รู้ ในหนังสอื เรยี น บทที่ 4 เรอ่ื ง วัสดุ และเคร่ืองมอื พื้นฐาน ในหวั ข้อตอ่ ไปนี้ 1) โลหะ 2) ไม้ 3) เซรามิก 4) วัสดผุ สม และ 5) วสั ดสุ มัยใหม่ จากนนั้ ใหต้ ัวแทนกลุ่มน�ำ เสนอองค์ความรูท้ ไี่ ดจ้ ากการศึกษา มารว่ มกนั อภปิ รายสรปุ ในประเดน็ ของสมบัติ ของวัสดุ (ความแขง็ แรง สภาพยดื หยนุ่ การน�ำ ความร้อน เปน็ ตน้ ) และการนำ�ไปใชง้ าน 4) ผู้เรียนทำ�กิจกรรม 4.1 เร่ือง วิเคราะห์ประเภทและอธิบายสมบัติของวัสดุในสิ่งของเครื่องใช้ “ยกตวั อยา่ งอปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมอื ทางการแพทยอ์ ยา่ งนอ้ ย 3 ประเภท แลว้ วเิ คราะหป์ ระเภทของวสั ดุ สมบตั ิ ของวสั ดุ และเหตุผลที่ใช้วสั ดปุ ระเภทน้นั ” 5) ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปรายสรุปเก่ียวกับสมบัติของวัสดุ ที่ถูกนำ�มาสร้างอุปกรณ์และ เครอ่ื งมือทางการแพทย์ วา่ ต้องมสี มบัติอย่างไร แนวคำ�ตอบ สมบตั ขิ องวสั ดุ อุปกรณ์และเครอื่ งมือทางการแพทย์ ควรมลี ักษณะ ดงั น้ี 1. สามารถนำ�ไปใชง้ านกบั รา่ งกายได้ โดยไมเ่ กดิ อาการแพ้ หรอื เป็นโทษตอ่ รา่ งกาย 2. ต้องคำ�นึงถึงสมบัติของวัสดุท่ีนำ�มาผลิตเป็นเคร่ืองมือแต่ละชนิด เช่น ความแข็งแรง ไมเ่ กิดสนมิ สภาพยดื หยนุ่ 3. สามารถผลิตข้นึ ไดโ้ ดยกระบวนการผลติ ทีไ่ มย่ ุ่งยาก ซบั ซอ้ น 4. วัสดุท่นี ำ�มาผลิตสามารถท�ำ การฆา่ เชอื้ ได้ โดยไม่สง่ ผลกระทบต่อสมบัตขิ องวสั ดุ 5. ก่อนนำ�อปุ กรณห์ รอื เครอื่ งมือมาใช้ ตอ้ งผ่านการทดสอบประสทิ ธภิ าพ เพ่ือความปลอดภยั ในการใช้งาน ตอนท่ี 2 เครอ่ื งมอื พนื้ ฐาน 6) ผู้สอนใช้คำ�ถามชวนคิด ดังน้ี “ยกตัวอย่างชิ้นงานท่ีประกอบด้วยวัสดุประเภทเดียวกันและ ช้ินงานท่ีประกอบด้วยวัสดุต่างประเภท ประเภทละ 1 ช้ิน และเราสามารถใช้เครื่องมือใดบ้างในการสร้าง ชน้ิ งานเหลา่ นน้ั ” จากนนั้ ผสู้ อนสมุ่ ตวั แทนผเู้ รยี นน�ำ เสนอ และผสู้ อนน�ำ อภปิ รายประเดน็ ในการสรา้ งชนิ้ งาน ทผ่ี สู้ อนเตรยี มไว้ เช่น เกา้ อไี้ ม้ แนวค�ำ ตอบ ตวั อย่างช้ินงาน เครื่องมอื ทใ่ี ช้ เกา้ อ้ไี ม้ ฉากเหล็ก ค้อน ตะปู สว่าน สกรู นอต เคร่อื งไสไมไ้ ฟฟา้ ไมบ้ รรทัดเหล็ก เกา้ อ้ีพนักพงิ เป็นพลาสติก โดยขาเกา้ อ้ที �ำ ด้วยสเตนเลส ฉากเหลก็ สกรู นอต เครื่องเชื่อมโลหะ เคร่ืองบัดกรี เครอื่ งตัดโลหะ ไม้บรรทดั เหลก็ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
74 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี วสั ดุ และเครื่องมอื พืน้ ฐาน 7) ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มจับฉลาก เพ่ือศึกษาและทดลองใช้งาน เครื่องมือพน้ื ฐาน ดังนี้ ชดุ เคร่ืองมอื ส�ำ หรับการวัดขนาด เชน่ ใช้ไมโครมเิ ตอรว์ ัดความหนาของกระดาษ ชดุ เครือ่ งมอื ส�ำ หรบั การตัด เช่น ใช้คมี ตดั ลวด ชุดเครือ่ งมือส�ำ หรับการเจาะ เช่น ใช้สวา่ นมือเจาะแผ่นไม้ 8) ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอ พร้อมสาธิตการใช้งานของชุดเครื่องมือที่ศึกษา จากน้ันผู้เรียนและ ผู้สอนรว่ มกันอภิปรายวธิ ีการใชง้ านทถี่ กู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั 9) ผู้สอนต้ังคำ�ถามชวนคิดให้ผู้เรียนตอบดังน้ี “ช่วยกันระดมความคิดว่านอกจากตัวอย่าง เครื่องมอื พืน้ ฐานขา้ งตน้ แล้วยงั มีเครอื่ งมอื ประเภทอน่ื อะไรบ้าง สำ�หรับการวัดขนาด การตดั การเจาะ และ มวี ธิ กี ารใชง้ านอย่างไร ยกตัวอย่างมาอยา่ งละ 2 ประเภท” แนวคำ�ตอบ การใชง้ าน ตวั อย่างเคร่อื งมอื และวธิ กี ารใช้งาน เคร่อื งมือส�ำ หรับ ตลับเมตร ใช้สำ�หรับวัดขนาดวัตถุและระยะระหว่างวัตถุ ตัวตลับทำ�ด้วยโลหะหรือ การวัด พลาสติก สายวัดทำ�ด้วยแผ่นโลหะบางเคลือบสี ปลายสายวัดมีขอเก่ียวเล็ก ๆ สำ�หรับ เกย่ี วใหต้ ดิ กบั วตั ถทุ ตี่ อ้ งการวดั สายวดั สามารถดงึ ออกจากตลบั ไดง้ า่ ย และเมอ่ื ปลอ่ ยมอื มนั จะเลอ่ื นกลับเขา้ ไปในตลบั การใช้งาน 1) ใช้ขอเกีย่ วทปี่ ลายสายวัดเกี่ยวไวก้ ับด้านหนงึ่ ของระยะหรอื ชนิ้ งานที่ตอ้ งการวัด 2) ดึงตลับเพื่อดึงสายวัดออกมาจนกระท่ังถึงจุดท่ีต้องการวัด (ต้องปรับสายวัดให้ได้ มมุ ฉากกบั ริมขอบของชิน้ งานหรือระยะทต่ี ้องการวดั ) 3) อา่ นค่า แล้วจดระยะทอี่ ยู่บนสายวัดไว้ ฉากเหลก็ หรือบรรทัดฉาก ใชส้ ร้างมมุ ฉาก และตรวจสอบวา่ มุมได้ฉากหรอื ไม่ ลกั ษณะ เปน็ แผน่ โลหะแบนรูปตัว L หรือมรี ูปรา่ งเป็นมมุ ฉาก ดา้ นท่สี ้ันกวา่ และหนากวา่ เรียกวา่ ดา้ มฉาก ด้านท่ียาวกว่าแตบ่ างกวา่ เรยี กว่า ใบฉาก การใชง้ าน 1) วางปลายดา้ นหนง่ึ ของฉากลงบนไมว้ ดั เพอื่ หาต�ำ แหนง่ ของมมุ แลว้ ท�ำ เครอ่ื งหมายไว้ 2) วางฉากไว้บนไม้โดยให้ด้านหนาวางแนบกับขอบของไม้ เอียงไปมาเพ่ือให้ด้านหนา แนบกับงานจริง ๆ 3) เลื่อนฉากไปบนไมจ้ นกวา่ ด้านบางจะพบกบั เครือ่ งหมายทท่ี �ำ ไว้ 4) ลากเส้นไปตามดา้ นบาง 5) การตรวจความได้ฉากของมมุ ให้วางฉากลงในมมุ หรือนอกมมุ ทต่ี อ้ งการตรวจ กดสว่ นทีเ่ ปน็ ดา้ นหนาใหแ้ นบดา้ นหน่ึงของมมุ ทต่ี ้องการตรวจ 6) ตรวจดูความสัมพันธ์ระหว่างด้านบางของฉากกับอีกด้านหน่ึงของมุม ถ้าพอดีกัน แสดงว่ามุมได้ฉาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 4 75 วัสดุ และเครอื่ งมอื พ้ืนฐาน การใช้งาน ตวั อยา่ งเครื่องมือและวธิ กี ารใชง้ าน เครอ่ื งมือสำ�หรบั เลอ่ื ยมอื ใชต้ ดั ไมใ้ หไ้ ดข้ นาดและรปู รา่ งตามตอ้ งการ มลี กั ษณะเปน็ แผน่ เหลก็ บาง ๆ ยาว และ การตัด มปี ลายสอบ มฟี นั อยขู่ อบดา้ นยาวดา้ นเดยี ว และมมี อื จบั อยทู่ ข่ี อบดา้ นทก่ี วา้ งกวา่ ดา้ มจบั ท�ำ จากไมห้ รอื พลาสตกิ เลอ่ื ยมอื มกี ารผลติ ออกมาโดยมฟี นั สองแบบ ส�ำ หรบั การเลอ่ื ยตามเสย้ี นไม้ เครือ่ งมอื ส�ำ หรบั และส�ำ หรบั การเลอ่ื ยขวางเสย้ี นไม้ การเจาะ การใชง้ าน 1) เลือกใชเ้ ลื่อยให้ถูกกบั งาน 2) ขดี เส้นแนวเลือ่ ยลงบนชน้ิ งาน 3) วางชิ้นงานลงบนโต๊ะงาน เช่น ม้ารองเล่ือย เพื่อให้แนวเล่ือยยื่นออกไปพ้นโต๊ะที่รอง อาจใชป้ ากกาจบั ช้นิ งานจับไมไ้ ว้ไม่ใหข้ ยบั 4) ถือเล่ือยด้วยมือข้างที่ถนัด หันฟันเล่ือยลงด้านล่าง แล้วลากเล่ือยด้วยท่าที่ถนัด วางฟันเล่อื ยลงท่ขี อบไม้ด้านที่อย่หู า่ งออกไปตรงเส้นหรือตดิ ๆ กบั เสน้ วางแนวแขน หรอื ไหล่ให้ตรงกบั แนวตดั สวา่ นขอ้ เสอื ใชเ้ จาะรทู ไ่ี ม้ หรอื เจาะรชู ว่ ยในการท�ำ รเู ดอื ย ลกั ษณะเปน็ ขอ้ เหวย่ี งโลหะ ทป่ี ลายดา้ นหนง่ึ ดเู หมอื นลกู บดิ ประตู ดา้ มจบั สามารถหมนุ ไดร้ อบตวั และดา้ มจบั อกี ดา้ นหนง่ึ จะอยรู่ อบจดุ ศนู ยก์ ลางของขอ้ เหวย่ี ง และปลาย อกี ดา้ นหนง่ึ มตี วั จบั ดอกสวา่ น การใชง้ าน 1) เลือกขนาดของดอกสวา่ นใหเ้ หมาะกับขนาดของรทู ่ีจะเจาะ 2) คลายตวั จับดอกสวา่ นออกใหส้ ามารถใส่ดอกสว่านเข้าไปได้ แล้วขนั ให้แนน่ 3) ควรยดึ ชน้ิ งานกบั แทน่ ยดึ ทม่ี น่ั คง หาต�ำ แหนง่ ของจดุ ศนู ยก์ ลางของรู แลว้ ท�ำ หลมุ เลก็ ๆ ไวเ้ พ่อื น�ำ ศูนย์ (อาจใช้เหลก็ หมาดช่วย) 4) วางปลายของดอกสวา่ นลงตรงทท่ี �ำ น�ำ ศนู ยไ์ ว้ แลว้ จบั ตวั สวา่ นใหต้ ง้ั ฉากกบั ผวิ ของงาน ใชม้ อื ขา้ งหนง่ึ จบั สว่ นทด่ี คู ลา้ ยลกู บดิ ประตู สว่ นมอื อกี ขา้ งหนง่ึ จบั ทจ่ี บั ของสว่ นทเ่ี ปน็ ขอ้ เหวย่ี ง 5) กดลงไปยงั สว่ นทด่ี คู ลา้ ยกบั ลกู บดิ ประตใู นขณะทห่ี มนุ ขอ้ เหวย่ี ง ถา้ หมนุ ไปดา้ นหนง่ึ จะเจาะ ลกึ ลงไปในงาน แตถ่ า้ หมนุ กลบั ดา้ น จะเปน็ การถอนสวา่ นออกมา เหลก็ หมาด ใชต้ อกใหเ้ กดิ รอยบมุ๋ เลก็ ๆ ส�ำ หรบั น�ำ ศนู ยใ์ หส้ กรหู รอื การตอกตะปู หรอื ใชท้ �ำ ให้ เกดิ รอยเพอ่ื เปน็ จดุ สงั เกตในการวดั หรอื การก�ำ หนดต�ำ แหนง่ โลหะทรงกระบอกทม่ี ปี ลายแหลม ความยาวประมาณหนง่ึ นว้ิ ทป่ี ลายแหลมของเหลก็ นค้ี มมาก สว่ นดา้ นบนของดา้ มจบั จะมปี มุ่ โลหะตดิ อยู่ การใช้งานเหล็กหมาด 1) วางปลายของเหล็กหมาดลงตรงจดุ ที่ตอ้ งการ 2) จับตัวก้านของเหล็กนำ�ไว้ด้วยมือข้างหน่ึงและฝ่ามืออีกข้างหนึ่ง แล้วกดเหล็กหมาด เขา้ กบั ชน้ิ งานหรอื ผนงั เบา ๆ ถา้ วัสดุมีความแข็ง ใหต้ อกเบา ๆ ดว้ ยคอ้ น 3) ดงึ เหลก็ หมาดออกจากรู แลว้ น�ำ ปลายตะปู หรอื สกรมู าทร่ี อยบมุ๋ ทท่ี �ำ ไว้ แลว้ ตอกตะปู หรอื สกรู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
76 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 4 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี วสั ดุ และเคร่อื งมือพน้ื ฐาน 10) ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับวิธีการใช้งานของอุปกรณ์เคร่ืองมือพ้ืนฐาน และ อภปิ รายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ขอ้ ควรระวงั และความปลอดภยั ในการใชง้ านและการบ�ำ รงุ รกั ษา เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ “วสั ดุและเครอ่ื งมอื ในปัจจบุ ันมอี ยู่หลายประเภท ซึ่งมสี มบัติและการใชง้ านทแ่ี ตกต่างกนั จึงต้องเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับการสรา้ งหรือพฒั นาช้นิ งาน และเกิดความปลอดภัย” 11) ผู้เรียนท�ำ กจิ กรรม 4.2 เรอ่ื ง วเิ คราะห์เครอ่ื งมอื พน้ื ฐานในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้ “สำ�รวจ สง่ิ ของเครอ่ื งใชภ้ ายในโรงเรยี น และเลอื กสง่ิ ของเครอ่ื งใชท้ ส่ี นใจ กลมุ่ ละ 1 อยา่ ง จากนนั้ ศกึ ษาวา่ ใชอ้ ปุ กรณ์ เครื่องมอื ชนดิ ใดในการสร้างส่งิ ของเครื่องใช้นั้น” โดยผสู้ อนตอ้ งคำ�นงึ ถงึ สิ่งของเคร่อื งใช้ท่ีผเู้ รียนเลอื ก เพื่อ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถวเิ คราะหข์ อ้ มลู เกย่ี วกบั เครอื่ งมอื อยา่ งงา่ ยทน่ี �ำ มาใชใ้ นการสรา้ งสงิ่ ของเครอื่ งใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง 12) ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปรายผลการทำ�กิจกรรม 4.2 ว่าผู้เรียนควรใช้อุปกรณ์เคร่ืองมือ ใหเ้ หมาะสมกบั วสั ดุ และลกั ษณะของการใชง้ านใหเ้ หมาะสมกบั วสั ดุ และสง่ิ ของเครอ่ื งใชท้ จ่ี ะสรา้ งหรอื ผลติ ขน้ึ 13) ผู้สอนใช้คำ�ถามนำ�สู่เนื้อหาหัวข้อ เรื่อง การตัด ต่อ และข้ึนรูปวัสดุ เช่น “ผู้เรียนทราบ หรือไม่ว่า ผู้ผลิตหรือผู้สร้างช้ินงานมีวิธีการประกอบชิ้นงานอย่างไร” แล้วให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาหัวข้อ เรื่อง การตดั ตอ่ และขน้ึ รูปวสั ดุ จากหนงั สือเรยี นและแหล่งเรยี นรูอ้ ื่น ๆ จากนั้นสุ่มตัวแทนผเู้ รียนนำ�เสนอ สิ่งท่ีเรียนรู้ และร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับการเลือกใช้วิธีการตัด ต่อ และข้ึนรูปวัสดุให้เหมาะสมกับ ประเภทของวสั ดุ และการใช้งาน แนวค�ำ ตอบ วิธีการตอ่ ชนิ้ งาน ตัวอยา่ งชิน้ งาน/ผลติ ภณั ฑ์ การเชื่อมตอ่ ประตู หรือบานพับตู้ เพ่อื ให้เคลื่อนไหวได้ ต้องมกี ารใช้ข้อต่อหรอื บานพบั การต่องานไมด้ ว้ ยวธิ กี ารเข้าเดอื ย ทำ�ให้ชิ้นงานมคี วามแขง็ แรงและสวยงาม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 4 77 วสั ดุ และเครอ่ื งมอื พ้ืนฐาน 14) ผู้เรียนทำ�กิจกรรมท้าทายความคิด เร่ือง อธิบายและเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ในการสร้าง ไม้เทา้ โดยให้ผู้เรยี นแต่ละกลุม่ ร่างภาพไมเ้ ท้าทีม่ กี ารติดตั้งเซ็นเซอร์ และระบุส่วนประกอบตา่ ง ๆ โดยระบุ ชนิดวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือพื้นฐานท่ีเหมาะสมสำ�หรับการสรา้ งไม้เทา้ ตามสว่ นประกอบแต่ละส่วน 15) ผู้เรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละประมาณ 4-5 คน ทำ�กิจกรรมท้ายบท เร่ือง ออกแบบอุปกรณ์และ นำ�เสนอแนวทางการเลือกใช้วัสดุ และเครื่องมือพ้ืนฐาน “ออกแบบอุปกรณ์ในห้องน้ำ�หรือห้องครัวสำ�หรับ ผสู้ งู อายุ โดยบอกแนวคดิ ในการออกแบบ พรอ้ มกบั บอกขนาดและสดั สว่ นของชน้ิ งาน แลว้ น�ำ เสนอแนวทาง การเลือกใชว้ ัสดุ เครื่องมอื เพือ่ ปฏิบตั ิงานใหเ้ หมาะสมกับประเภทของงาน และให้มคี วามปลอดภยั ” 16) ผู้เรยี นและผูส้ อนรว่ มกันอภิปรายเพอ่ื สรปุ ประเด็นของวัสดุ และเครอื่ งมือพ้นื ฐาน ดงั นี้ “วัสดุ และเครอ่ื งมอื ในปจั จบุ นั มอี ยหู่ ลายประเภท ซง่ึ มสี มบตั แิ ละการใชง้ านทแ่ี ตกตา่ งกนั จงึ ตอ้ งเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสม กับการสร้างหรือพัฒนาช้ินงาน นอกจากน้ันยังมีการศึกษา คิดค้น และพัฒนาวัสดุและเคร่ืองมือใหม่ ๆ อยตู่ ลอดเวลาเพอ่ื ชว่ ยอ�ำ นวยความสะดวก เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการท�ำ งาน ลดขนั้ ตอนการท�ำ งาน ซง่ึ ในการ ใช้งานจะต้องศึกษาข้อปฏิบัติและข้อควรระวัง ควรตรวจสอบเคร่ืองมือให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน รวมทั้ง ควรศกึ ษาหาความรเู้ กย่ี วกบั วัสดแุ ละเครอื่ งมอื ใหม่ ๆ อยูเ่ สมอ” 8. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธกี ารวัด เครื่องมอื ที่ใชว้ ัด เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น การวเิ คราะหป์ ระเภท อธบิ าย คะแนน 10-12 หมายถงึ ดมี าก คะแนน 6-9 หมายถงึ ดี สมบัติของวสั ดุในสงิ่ ของ ตรวจใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรม 4.1 คะแนน 3-5 หมายถงึ พอใช้ เคร่อื งใชพ้ ร้อมใหเ้ หตผุ ล คะแนน 1-2 หมายถงึ ปรบั ปรงุ ทีใ่ ชว้ สั ดุ ผู้เรียนได้ระดับคุณภาพ การวเิ คราะหเ์ ครอ่ื งมอื พน้ื ฐาน ตรวจใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรม 4.2 ดี ขึ้นไป ถอื ว่าผ่าน ในการสรา้ งสิง่ ของเคร่ืองใช้ การออกแบบอุปกรณ์และ กิจกรรมท้ายบท น�ำ เสนอแนวทางการเลือกใช้ ตรวจกจิ กรรม วสั ดุ และเคร่ืองมอื พ้ืนฐาน ท้ายบท ทกั ษะการคดิ เชิงระบบ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผู้เรยี นไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดี สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ขึน้ ไป ถือว่าผา่ น ทกั ษะการคดิ อยา่ งมี สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม (ดเู กณฑ์การประเมนิ วจิ ารณญาณ ในภาคผนวก) ทกั ษะการท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ทกั ษะการสอ่ื สาร สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
78 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี วสั ดุ และเคร่อื งมือพืน้ ฐาน เกณฑ์การประเมิน ประเด็นการประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 การวเิ คราะหป์ ระเภท วเิ คราะหป์ ระเภท วเิ คราะหป์ ระเภท วเิ คราะหป์ ระเภท วเิ คราะห์ อธิบายสมบัติของ และอธบิ าย และอธบิ าย และอธบิ าย ประเภทหรือ วัสดใุ นสิง่ ของเครอ่ื ง สมบตั ขิ องวัสดุ สมบัติของวัสดุ สมบัติของวสั ดุ อธบิ ายสมบัติ ใช้ พรอ้ มให้เหตผุ ล พรอ้ มใหเ้ หตผุ ล ในสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ ในสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ ของวสั ดใุ น ท่ใี ชว้ สั ดุ ได้ถกู ต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง ไดถ้ กู ตอ้ งบางสว่ น ส่ิงของเครื่องใช้ ครบถ้วน เปน็ สว่ นใหญ่ ไมถ่ ูกตอ้ ง การวเิ คราะห์เคร่ืองมอื วเิ คราะหเ์ ครอ่ื งมอื วเิ คราะหเ์ ครอ่ื งมอื วเิ คราะหเ์ ครอ่ื งมอื วเิ คราะหเ์ ครื่อง พื้นฐานในการสรา้ ง สิ่งของเคร่ืองใช้ พนื้ ฐานในการ พืน้ ฐานในการ พน้ื ฐานในการ มือพื้นฐาน สร้างสิง่ ของ สรา้ งสงิ่ ของ สร้างสง่ิ ของ ในการสร้าง เครอ่ื งใช้ ไดถ้ กู ตอ้ ง เครอ่ื งใช้ ไดถ้ กู ตอ้ ง เครอ่ื งใช้ ไดถ้ กู ตอ้ ง สิ่งของเครื่องใช้ ครบถว้ น เปน็ สว่ นใหญ่ บางส่วน ไม่ถูกต้อง การออกแบบอปุ กรณ์ อธิบายเหตุผล อธิบายเหตผุ ล อธบิ ายเหตุผล ระบุวัสดุและ และน�ำ เสนอแนวทาง การเลอื กใชว้ สั ดุ และ การเลอื กใช้วสั ดุ การเลือกใชว้ ัสดุ การเลอื กใชว้ ัสดุ เครอ่ื งมอื พน้ื ฐาน เครอ่ื งมือพื้นฐาน และเครือ่ งมอื และเครือ่ งมอื และเคร่อื งมอื ในการสร้าง พนื้ ฐาน ในสรา้ ง พ้ืนฐาน ในสร้าง พน้ื ฐาน ในสร้าง ชิน้ งานได้ แตไ่ ม่ ช้นิ งาน ได้ถูกตอ้ ง ช้นิ งาน ได้ถกู ตอ้ ง ชนิ้ งาน ไดถ้ กู ต้อง สามารถอธิบาย ครบถ้วน สมบรู ณ์ เป็นสว่ นใหญ่ บางส่วน เหตผุ ลในการ ทกุ ประเดน็ เลอื กใช้ได้ เกณฑก์ ารตัดสินระดับคณุ ภาพ คะแนน 10-12 คะแนน หมายถึง ระดบั คุณภาพ ดีมาก คะแนน 6-9 คะแนน หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ดี คะแนน 3-5 คะแนน หมายถงึ ระดบั คุณภาพ พอใช้ คะแนน 1-2 คะแนน หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง หมายเหตุ เกณฑ์การวดั และประเมินสามารถปรบั เปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 79 วัสดุ และเครื่องมือพืน้ ฐาน 9. แหลง่ เรียนรู้ งานช่าง http://www2.pop.vcharkarn.com/blog/116163/94577 สมบัติพื้นฐานของวัสดุการแพทย์ http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=30&chap= 9&page=t30-9-infodetail03.html 10. ข้อเสนอแนะ 10.1 ผ้สู อนอาจเชิญผเู้ ชย่ี วชาญมาให้ความรู้แก่ผเู้ รยี น 10.2 ผสู้ อนอาจน�ำ ตวั อยา่ งอุปกรณข์ องจรงิ หรือโครงงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งมาประกอบการจัดการเรียน การสอน 10.3 ผสู้ อนอาจมอบหมายใหผ้ เู้ รยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั วสั ดแุ ละเครอ่ื งมอื เพม่ิ เตมิ หลงั จบบทเรยี น 11. แนวคำ�ตอบกิจกรรม กิจกรรม 4.1 วเิ คราะหป์ ระเภทและอธบิ ายสมบตั ขิ องวสั ดใุ นสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ ยกตัวอย่างอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์อย่างน้อย 3 ประเภท แล้ววิเคราะห์ประเภท ของวัสดุ สมบัตขิ องวสั ดุ และเหตุผลท่ีใช้วัสดปุ ระเภทนนั้ เครอ่ื งมือทางการแพทย์ ประเภทของวสั ดุ สมบัตขิ องวสั ดุ เหตผุ ล ขวดยา แกว้ ทนทานต่อการ เพ่ือเกบ็ รกั ษาสมบตั ิ กดั กรอ่ น ของยาให้คงสภาพเดิม กระปุกนำ้�เกลือ พลาสติก น้ำ�หนักเบา เคลอ่ื นยา้ ยได้งา่ ย รถเขน็ อุปกรณท์ าง อะลมู เิ นยี ม มคี วามยืดหยุ่น ไมแ่ ตกหัก การแพทย์ ไมเ่ กดิ สนิท ท�ำ ความสะอาดง่าย นำ�้ หนักเบา ไม่เป็นแหลง่ สะสม ของเช้อื โรค สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
80 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 4 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี วสั ดุ และเครือ่ งมือพนื้ ฐาน กิจกรรม 4.2 วิเคราะห์เครอื่ งมือพ้ืนฐาน ในการสร้างสง่ิ ของเคร่อื งใช้ สำ�รวจส่ิงของเคร่ืองใช้ภายในโรงเรียน และเลือกส่ิงของเคร่ืองใช้ท่ีสนใจ กลุ่มละ 1 อย่าง จากนน้ั ศกึ ษาวา่ ใชอ้ ุปกรณเ์ คร่อื งมอื ประเภทใดในการสร้างสิ่งของเคร่อื งใช้นัน้ ผลการส�ำ รวจสง่ิ ของเครอ่ื งใชภ้ ายในโรงเรยี น 1) ตเู้ กบ็ เอกสาร 2) โตะ๊ - เกา้ อ้ี ในหอ้ งเรยี น 3) หนา้ ตา่ ง 4) ประตกู ระจก 5) หลอดไฟ สง่ิ ของเครอ่ื งใชท้ ส่ี นใจ ตเู้ กบ็ เอกสาร อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการสรา้ ง เครอ่ื งมอื ส�ำ หรบั การขน้ึ รปู โลหะ ในการสรา้ งแผน่ เหลก็ เพอ่ื น�ำ มาประกอบเปน็ ตู้ เครอ่ื งเชอ่ื มโลหะ ส�ำ หรบั ท�ำ โครงสรา้ งตแู้ ตล่ ะชน้ั เครอ่ื งมอื ส�ำ หรบั ขน้ึ รปู พลาสตกิ ส�ำ หรบั ท�ำ ชน้ิ สว่ นทต่ี อ้ งการรปู รา่ งเฉพาะ เครอ่ื งตดั กระจก ส�ำ หรบั ตดั กระจกตามขนาดของตู้ เครอ่ื งตดั เหลก็ ส�ำ หรบั ตดั แผน่ เหลก็ น�ำ มาท�ำ โครงสรา้ งตามขนาดของตู้ เครอ่ื งพน่ หรอื เครอ่ื งเคลอื บสี ส�ำ หรบั ตกแตง่ ผวิ ดา้ นนอกของตู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 81 วสั ดุ และเครื่องมอื พนื้ ฐาน กิจกรรมท้าทายความคิด อธิบายและเลอื กใช้วสั ดุและอุปกรณใ์ นการสร้างไมเ้ ทา้ จากกิจกรรมท้าทายความคิด เรื่องไมเ้ ทา้ สำ�หรับผู้บกพรอ่ ง ชวนคดิ ทางการเหน็ ในบทท่ี 1 ถงึ 3 นกั เรยี นไดเ้ รยี นรเู้ กย่ี วกบั การพฒั นา ระบบการท�ำ งาน การเปลยี่ นแปลง และผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขนึ้ นักเรียนจะช่วยนอ้ งโรบอท แล้ว แต่อย่างไรก็ตาม ในการพัฒนาไม้เท้าดังกล่าวให้สามารถ ร่างภาพไม้เทา้ ท่ีมกี ารตดิ ตง้ั เซ็นเซอร์ ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น น้องโรบอทจึงต้อง และระบสุ ่วนประกอบตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งไร ร่างภาพไม้เท้าท่ีแสดงลักษณะ และองค์ประกอบของไม้เท้า โดยระบปุ ระเภทวสั ดุ อปุ กรณ์ และเครอ่ื งมอื ทมี่ ีการตดิ ต้งั เซน็ เซอร์ (sensor) ตามท่ตี ้องการ พนื้ ฐานที่เหมาะสมส�ำ หรับการสรา้ ง ไม้เทา้ ตามสว่ นประกอบแต่ละสว่ น ภาพร่างของชิ้นงาน ด้ามจับ สายคล้องขอ้ มอื วสั ดทุ ใ่ี ช้เปน็ เหล็ก วสั ดทุ ่ใี ช้เป็นเชอื ก และอาจหมุ้ ดว้ ยผา้ หรอื พลาสติก หรือพลาสตกิ ตวั ไมเ้ ท้า วสั ดุท่ีใชเ้ ปน็ เหลก็ สว่ นฐาน วัสดทุ ใี่ ชเ้ ปน็ พลาสตกิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
82 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี วสั ดุ และเครือ่ งมอื พืน้ ฐาน ชอื่ ชน้ิ ส่วน วสั ดทุ ใี่ ช้ เหตผุ ลใน เคร่อื งมอื เทคนิคในการตอ่ สายคล้อง เชอื ก หรือ การเลอื กใช้วสั ดุ ข้อมือ พลาสติก ดา้ มจับ มีความนมิ่ เครื่องเจาะ การเจาะ เหลก็ ท่อ ยดื หยุ่นได้ ตะปู ตัวไม้เท้า และอาจหุ้ม จับแลว้ ไมล่ ่นื ด้วยผ้า หรอื สว่ นฐาน พลาสติก เหล็ก มีความ กาวยาง กาวเชือ่ มระหว่าง แขง็ แรง คงทน เหล็ก กับผ้า หรอื เหล็กท่อ ผา้ หรอื พลาสตกิ พลาสติก มีความน่ิม พลาสติก ยืดหยนุ่ ได้ จับแลว้ ไม่ล่นื มคี วามแขง็ แรง เครือ่ งบดั กรี การบดั กรี คงทน เครื่องเชื่อม การเชื่อม มอี ายกุ าร ใช้งานนาน มคี วามยดื หย่นุ เครอ่ื งเชอ่ื ม การเช่อื มระหว่าง เกาะกับพื้นถนน เครอื่ งเจยี ร วัสดุต่างชนดิ กัน ไดด้ ี การทำ�รอ่ งของ ทอ่ เหลก็ เพอ่ื สามารถ สวมพลาสติกได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 4 83 วัสดุ และเครอ่ื งมอื พนื้ ฐาน กิจกรรมทา้ ยบท ออกแบบอปุ กรณ์และนำ�เสนอแนวทาง การเลอื กใชว้ สั ดุ และเคร่ืองมอื พืน้ ฐาน แบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน และออกแบบอปุ กรณใ์ นหอ้ งน�ำ้ หรอื หอ้ งครวั ส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ โดยบอกแนวคดิ ในการออกแบบ พร้อมกับบอกขนาดและสัดส่วนของชิ้นงาน แล้วนำ�เสนอแนวทางการเลือกใช้วัสดุ เครื่องมือเพ่ือปฏบิ ตั ิงานให้เหมาะสมกับประเภทของงาน และให้มคี วามปลอดภยั ชนิ้ งานท่ีออกแบบ ราวจับเพ่ือช่วยอำ�นวยความสะดวกในการใช้โถสุขภัณฑ์สำ�หรับผสู้ ูงอายุชาย แนวคิดในการออกแบบ ติดราวจับพยุงตัวไว้ข้างโถสุขภัณฑ์ เพ่ือให้ผู้สูงอายุมีราวพยุงตัวเมื่อเกิด การล่ืนและช่วยในการยึดจับ การออกแบบเน้นไปท่ีรูปร่างโค้งมน และพื้นท่ีจับควรมีขนาดใหญ่และ ผลิตจากวัสดุทน่ี ุ่ม ไม่ลืน่ ภาพรา่ งของชิน้ งาน ราวจบั โครงสรา้ ง โครงฐานยึด ชือ่ ช้ินสว่ น วัสดุทีใ่ ช้ เหตุผลใน เครอื่ งมอื เทคนคิ ในการต่อ การเลือกใชว้ สั ดุ การบัดกรี โครงสรา้ ง เหลก็ ท่อ มคี วามแขง็ แรง เครอ่ื งขน้ึ รปู ทอ่ การเชอ่ื ม การขน้ึ รปู ท่อ คงทน มอี ายุการใช้ งานนาน ราวจับ พลาสตกิ มีความนมิ่ กาวยาง กาวเช่อื ม ยดื หยนุ่ ได้ จบั แล้วไมล่ ่นื โครงฐานยึด เหลก็ ท่อ มคี วามแขง็ แรง เครื่องบัดกรี การบดั กรี เคร่ืองเช่ือม การเช่อื ม คงทน มอี ายกุ าร ใช้งานนาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั 5 กลไก ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ การเรยี นรทู้ ่ี ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ทักษะและกระบวนการทเ่ี ป็นจดุ เน้น ความร้เู ดิมท่ีผู้เรียนตอ้ งมี สาระสำ�คัญ สื่อและอุปกรณ์ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล แหลง่ เรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะ แนวค�ำ ตอบกจิ กรรม ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เวลา 4 ชั่วโมง
86 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 กลไก ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 1. ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้ 1.1 ตวั ช้วี ดั ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเกยี่ วกบั วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื กลไก ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และเทคโนโลยี ทีซ่ ับซ้อนในการแกป้ ัญหาหรอื พัฒนางาน ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย 1.2 สาระการเรียนรู้ 1) การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรื่องกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสำ�เร็จรูป 2) อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ ใหถ้ กู ต้อง เหมาะสม และปลอดภยั รวมทั้งรู้จกั เกบ็ รักษา 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 วเิ คราะห์กลไก และการทำ�งานของอปุ กรณ์ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ 2.2 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางาน โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ กยี่ วกบั กลไก อปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง และปลอดภัย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 87 กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ 3. ทักษะและกระบวนการท่ีเป็นจดุ เนน้ 3.1 ทกั ษะการคิดเชิงระบบ 3.2 ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ 3.3 ทักษะการคดิ สร้างสรรค์ 3.4 ทกั ษะการทำ�งานรว่ มกับผอู้ ่ืน 4. ความรู้เดมิ ทผ่ี ้เู รียนต้องมี ผเู้ รยี นมคี วามรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั กลไกการท�ำ งานของ ลอ้ และเพลา รอก คาน โดยกลไกพน้ื ฐานเหลา่ น้ี สามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ช้ินงาน รวมท้ังมีความรู้ด้านอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทใ่ี ช้ เชน่ มอเตอร์ LED บซั เซอร์ 5. สาระส�ำ คัญ กลไก อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นองค์ประกอบสำ�คัญที่ช่วยให้การทำ�งานของสิ่งของ เครอื่ งใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ของมนษุ ยใ์ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ หรอื ชว่ ยอ�ำ นวยความสะดวกในการท�ำ งาน หากสงั เกต สงิ่ ของเครอ่ื งใชร้ อบตวั จะพบวา่ สงิ่ ของเครอ่ื งใชเ้ หลา่ นไี้ ดร้ บั การพฒั นาจนมรี ะบบการท�ำ งานทซ่ี บั ซอ้ น และ ยังมีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์มาช่วยในการทำ�งานให้เป็นระบบอัตโนมัติเพ่ือตอบสนอง ความต้องการของมนษุ ยใ์ ห้มคี วามสะดวกสบายมากยง่ิ ขึ้น 6. ส่อื และอุปกรณ์ 6.1 ใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง เวลา (นาท)ี ใบกจิ กรรม 5.1 วเิ คราะหก์ ารใชง้ านกลไก 30 30 ใบกจิ กรรม 5.2 วเิ คราะห์อุปกรณ์ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ในสิ่งของเคร่อื งใช้ 30 กิจกรรมท้าทายความคิด เลอื กใชก้ ลไก อปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ พอ่ื สรา้ งไมเ้ ทา้ 60 กิจกรรมทา้ ยบท ออกแบบเทคโนโลยีที่มอี งคป์ ระกอบกลไก อุปกรณ์ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
88 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 5 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 6.2 ส่อื อนื่ ๆ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ หรอื อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ หมอ้ หงุ ขา้ วไฟฟา้ เตาอบไมโครเวฟ เตารดี ไอน�้ำ โทรศัพท์มอื ถอื เครอ่ื งขยายเสียง อากาศยานไร้คนขบั หรือโดรน (drone) อุปกรณก์ ลไก เช่น เฟือง รอก อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เช่น มอเตอร์ ตัวต้านทาน ไดโอด เซ็นเซอร์ ตัวเก็บประจุ แผงควบคุมขนาดเลก็ (microcontroller) ส่ือมัลตมิ ีเดยี เกยี่ วกบั เทคโนโลยีเพอ่ื สุขภาพ เช่น ขาเทียมอจั ฉรยิ ะ โดรนขนส่งเวชภัณฑ์ 7. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ 1) ผสู้ อนกระตนุ้ ความสนใจของผเู้ รยี นโดยการเปดิ คลปิ วดี ทิ ศั นเ์ กยี่ วกบั โดรนขนสง่ เวชภณั ฑ์ หรอื ขาเทียมอัจฉริยะ แล้วให้ผู้เรียนร่วมกันอภิปราย เก่ียวกับระบบการทำ�งาน กลไกและการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า อิเล็กทรอนกิ สใ์ นการสรา้ งหรอื พัฒนาเทคโนโลยนี น้ั โดยใชค้ ำ�ถาม ชวนคดิ “นักเรยี นชว่ ยกนั ระดมความคิด เกี่ยวกับระบบการทำ�งานและการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการสร้างโดรน ขนส่งเวชภัณฑ์ หรอื ขาเทยี มอจั ฉริยะ เพื่อชว่ ยอ�ำ นวยความสะดวกในการด�ำ รงชวี ิตของมนุษย์” แนวคำ�ตอบ อากาศยานไร้คนขับ หรือโดรน (drone) เป็นสิ่งประดิษฐ์ชนิดหนึ่งท่ีเริ่มมีการนำ�มาใช้ประโยชน์ หลายอย่าง เช่น ความบันเทิง การรักษาความปลอดภัยและความมั่นคง การเกษตร การสำ�รวจ ซ่ึงการ ประดษิ ฐอ์ ากาศยานไรค้ นขบั ตอ้ งใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะหลายดา้ น ทงั้ ระบบการขบั เคลอ่ื น การควบคมุ ทศิ ทาง การส่งสัญญาณ ซึ่งการสร้างหรือพัฒนาระบบเหล่าน้ี จำ�เป็นต้องมีความรู้เก่ียวกับกลไก ไฟฟ้า และ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมถงึ ทกั ษะทางดา้ นวศิ วกรรม นอกจากนกี้ ารเลอื กใชว้ สั ดุ อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ในการสรา้ ง โดรนตอ้ งมีความเหมาะสมตอ่ การใช้งาน มปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทงั้ ไมเ่ ป็นอันตรายต่อผูใ้ ช้ 2) ผสู้ อนใหผ้ ้เู รยี นศึกษาเนื้อหาเกีย่ วกบั กลไกพืน้ ฐาน เรื่อง เฟือง และรอก ในหนงั สือเรยี น หรอื อาจศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อออนไลน์ แล้วสรุปแนวคิดสำ�คัญ เพื่ออภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ได้ข้อสรุป เก่ียวกับกลไกพนื้ ฐาน เร่ือง เฟืองและรอก ในประเดน็ ดงั นี้ ประเภทของเฟืองและรอก หลกั การท�ำ งาน การประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำ�วนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 5 89 กลไก ไฟฟ้า และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3) ผู้สอนใช้คำ�ถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวิธีการในการแก้ปัญหากรณีท่ีอุปกรณ์ท่ีต้องการใช้ใน การทำ�งานไม่สามารถทำ�งานได้ โดยใช้คำ�ถามชวนคิด “ถ้านักเรียนไม่สามารถหารอกสำ�เร็จรูปมาใช้งานได้ นกั เรยี นสามารถน�ำ อปุ กรณใ์ ดบา้ งมาทดแทนหรอื ประยกุ ตใ์ ช้ และอปุ กรณท์ ดแทนนน้ั จะถกู ใชง้ านอยา่ งไร” แนวค�ำ ตอบ โครงล้อรถจักรยานหรือหลอดด้าย กระป๋องโลหะทรงกระบอกท่ีแข็งแรง เช่น กระป๋องสีทาบ้าน สามารถใชท้ ดแทนรอกได้ โดยการนำ�อุปกรณ์ดังกล่าวใช้แทนรอกในการขนส่งสิง่ ของในแนวด่งิ 4) ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ รอื่ ง เฟอื งและรอก ในสงิ่ ของเครอ่ื งใชท้ พี่ บในชวี ติ ประจ�ำ วนั โดยท�ำ กจิ กรรม 5.1 เรอ่ื ง วเิ คราะหก์ ารใชง้ านกลไก โดยใหน้ กั เรยี นส�ำ รวจสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เชน่ พดั ลม ลฟิ ต์ รถยนต์ แลว้ วเิ คราะหว์ า่ สง่ิ เหลา่ นน้ั มกี ารใชก้ ลไกอะไรบ้างเป็นส่วนประกอบในการทำ�งาน เพราะอะไร แนวคำ�ตอบ เฟอื งในพัดลมดังรปู เป็นอปุ กรณ์กลไกช่วยท�ำ ใหพ้ ดั ลมหมุนส่ายกลับไปมาซา้ ยขวาได้ เตยี งส�ำ หรบั ผปู้ ว่ ยมักมีเฟืองเปน็ ส่วนประกอบ รอกและเฟอื งเป็นสว่ นประกอบสำ�คัญของลิฟต์ สำ�หรับทำ�หน้าทท่ี ดแรงและชว่ ยในการปรบั โดยรอกช่วยทำ�หน้าท่ผี อ่ นแรงใหม้ อเตอร์ และ ระดบั ของเตียงตามต้องการ ระบบเฟืองของลฟิ ต์ช่วยทดแรง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
90 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 5 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 5) ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเน้ือหาเก่ียวกับอุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ในหนังสือเรียน หรือ อาจศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากสอ่ื ออนไลน์ แลว้ สรปุ แนวคดิ ส�ำ คญั เพอื่ อภปิ รายแลกเปลยี่ นเรยี นรใู้ หไ้ ดข้ อ้ สรปุ เกยี่ ว กบั อปุ กรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ในประเด็น ดังนี้ หลกั การทำ�งานของอปุ กรณไ์ ฟฟ้า และอิเล็กทรอนกิ ส์แตล่ ะชนดิ การน�ำ ไปใชง้ านในชีวติ ประจ�ำ วัน 6) ผสู้ อนเตรยี มอปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ มอเตอร์ เซน็ เซอร์ และแผงควบคมุ ขนาดเลก็ และสอ่ื อน่ื ๆ เชน่ นติ ยสาร ใบความรู้ ใบงาน เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ใชป้ ระกอบการศกึ ษาหลกั การท�ำ งาน และการประยุกต์ใชง้ าน 7) ผู้สอนแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 3 กลุ่ม เพื่อศึกษาอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ มอเตอร์ เซน็ เซอร์ และแผงควบคมุ ขนาดเลก็ จากนน้ั ใหผ้ เู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ แยกเขา้ ฐานการเรยี นรตู้ ามหวั ขอ้ ทั้ง 3 เร่ือง โดยใชเ้ วลาประมาณ 10-15 นาที 8) ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ สรปุ และอภปิ รายรว่ มกนั เกยี่ วกบั หนา้ ทแี่ ละการประยกุ ตใ์ ชง้ านของ มอเตอร์ เซน็ เซอร์ และแผงควบคุมขนาดเล็ก 9) ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นท�ำ กจิ กรรม 5.2 เรอ่ื ง วเิ คราะหอ์ ปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ จากหนังสือเรียนให้นักเรียนเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้ามา 1 ประเภท เพ่ือศึกษาส่วนประกอบอุปกรณ์ไฟฟ้าและ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ของเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ท่ีเลอื กในประเดน็ ดังต่อไปนี้ อุปกรณ์ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ท่ีใชใ้ นเครือ่ งใช้ไฟฟา้ นน้ั มอี ะไรบ้าง การท�ำ งานของอปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ นนั้ มกี ารท�ำ งานสมั พนั ธ์ กนั อย่างไร หากอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์นั้นเกิดทำ�งานผิดพลาดจะส่งผลต่อการทำ�งานของ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ อย่างไร 10) ผู้เรียนทำ�กิจกรรมท้าทายความคิด เรื่อง เลือกใช้กลไก อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสรา้ งไมเ้ ท้า แลว้ น�ำ เสนอ และอภปิ รายสรุปรว่ มกนั 11) ผู้สอนให้ผู้เรียนทำ�กิจกรรมท้ายบท เรืิ่อง ออกแบบเทคโนโลยีที่มีองค์ประกอบกลไก อปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ จากหนังสอื เรยี นบทที่ 5 ดังนี้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ระดมความคดิ เพอื่ ออกแบบชน้ิ งานส�ำ หรบั แกป้ ญั หาทสี่ นใจ โดยชนิ้ งาน นน้ั จะตอ้ งมสี ว่ นประกอบของระบบกลไก อปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แลว้ น�ำ เสนอในชนั้ เรยี น ในประเด็นดังต่อไปนี้ เทคโนโลยที ีอ่ อกแบบมีหน้าท่ีหรือวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ใช้ท�ำ อะไร ชนิ้ สว่ นกลไก อปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทีใ่ ช้มีอะไรบ้าง แต่ละอย่างมีหนา้ ทอี่ ะไร 12) ผเู้ รยี นและผสู้ อนรว่ มกนั สรปุ เกย่ี วกบั การพฒั นาสง่ิ ของเครอ่ื งใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั จะตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ การน�ำ กลไก อปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ าเปน็ สว่ นประกอบเพอื่ ใหส้ งิ่ ของเครอ่ื งใชส้ ามารถท�ำ งานได้ ตามตอ้ งการ หรือช่วยอ�ำ นวยความสะดวกในการใชง้ านมากขน้ึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 5 91 กลไก ไฟฟ้า และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 8. การวัดและประเมนิ ผล รายการประเมิน วิธกี ารวัด เคร่อื งมือทีใ่ ชว้ ดั เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น การวิเคราะห์การใช้งานกลไก ตรวจใบกจิ กรรม ใบกิจกรรม 5.1 คะแนน 10-12 หมายถงึ ดมี าก ในสงิ่ ของเครอ่ื งใช้ ใบกิจกรรม 5.2 คะแนน 6-9 หมายถงึ ดี คะแนน 3-5 หมายถงึ พอใช้ การวเิ คราะห์การใชง้ าน ตรวจใบกจิ กรรม กิจกรรมท้ายบท คะแนน 1-2 หมายถงึ อุปกรณไ์ ฟฟ้าและ ปรบั ปรงุ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ในสิ่งของ เครื่องใช้ ผเู้ รยี นไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดี ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผา่ น การออกแบบเทคโนโลยีทม่ี ี ตรวจกจิ กรรม องคป์ ระกอบของกลไก ท้ายบท อุปกรณไ์ ฟฟ้าและ อเิ ล็กทรอนิกส์ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผเู้ รียนไดร้ ะดับคุณภาพ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ดี ขน้ึ ไป ถือว่าผา่ น ทกั ษะการคิดอย่างมี (ดเู กณฑก์ ารประเมิน วิจารณญาณ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ในภาคผนวก) ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์ ทักษะการท�ำ งานร่วมกบั ผู้อนื่ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม เกณฑก์ ารประเมนิ ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 การวเิ คราะหก์ ารใชง้ าน วิเคราะหแ์ ละ วเิ คราะห์และ วเิ คราะห์และ จำ�แนกไดแ้ ต่ไม่ กลไกในสง่ิ ของเครือ่ งใช้ จำ�แนกการใช้ จำ�แนกการใช้ จำ�แนกการใชง้ าน สามารถวเิ คราะห์ งานกลไกในการ งานกลไกในการ กลไกในการ การใช้งานกลไก ท�ำ งานของสง่ิ ของ ท�ำ งานของสง่ิ ของ ท�ำ งานของสิง่ ของ ในการท�ำ งานของ เครอ่ื งใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง เครอ่ื งใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง เครอ่ื งใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง ส่งิ ของเครื่องใช้ ครบถว้ น เปน็ สว่ นใหญ่ บางส่วน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
92 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ ประเดน็ การประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 การวิเคราะหก์ ารใชง้ าน วิเคราะห์และ วิเคราะห์และ วิเคราะหแ์ ละ จ�ำ แนกไดแ้ ต่ไม่ อปุ กรณ์ไฟฟา้ และ จำ�แนกอปุ กรณ์ จ�ำ แนกอปุ กรณ์ จ�ำ แนกอปุ กรณ์ สามารถวเิ คราะห์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไฟฟา้ และ ไฟฟ้าและ ไฟฟา้ และ อุปกรณไ์ ฟฟา้ ในส่งิ ของเครอ่ื งใช้ อิเลก็ ทรอนกิ สท์ ่ี อิเลก็ ทรอนกิ สท์ ่ี อเิ ล็กทรอนิกส์ท่ี และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใช้ในการท�ำ งาน ใช้ในการทำ�งาน ใช้ในการท�ำ งาน ที่ใช้ในการ ของสิง่ ของ ของสง่ิ ของ ของส่ิงของ ทำ�งานของ เคร่อื งใช้ได้ เคร่อื งใช้ได้ เครอื่ งใชไ้ ด้ สง่ิ ของเครอ่ื งใชไ้ ด้ ถูกต้อง ครบถ้วน ถกู ตอ้ งเปน็ ถูกต้องบางส่วน ส่วนใหญ่ การออกแบบเทคโนโลยี ระบรุ ะบบ ระบุระบบ ระบุระบบ ระบุระบบ ท่มี ีองคป์ ระกอบกลไก ควบคุมการ ควบคมุ การ ควบคุมการ ควบคุมการ อปุ กรณไ์ ฟฟ้าและ ท�ำ งานและ ทำ�งานและ ทำ�งานและ ทำ�งานและ อเิ ล็กทรอนิกส์ อธิบายหนา้ ที่ อธิบายหน้าที่ อธบิ ายหนา้ ที่ อธบิ ายหน้าท่ี ของชิน้ ส่วน ของชิน้ สว่ น ของชิ้นส่วน ของชิน้ สว่ น อปุ กรณ์กลไก อุปกรณ์กลไก อปุ กรณ์กลไก อุปกรณ์กลไก ไฟฟ้าและ ไฟฟา้ และ ไฟฟ้าและ ไฟฟา้ และ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ได้ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ได้ ถกู ตอ้ ง และ ถูกตอ้ ง และ ถกู ต้องบางสว่ น ไม่ถกู ต้อง และ ช้นิ งานแสดงถงึ ชิ้นงานแสดงถงึ แตช่ ิ้นงานไมม่ ี ชนิ้ งานไม่มี ความแปลกใหม่ ความแปลกใหม่ ความแปลกใหม่ ความแปลกใหม่ สามารถนำ�ไป ประยกุ ต์ใชไ้ ด้ เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดบั คุณภาพ คะแนน 10-12 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 6-9 คะแนน หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ดี คะแนน 3-5 คะแนน หมายถึง ระดบั คุณภาพ พอใช้ คะแนน 1-2 คะแนน หมายถึง ระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ หมายเหตุ เกณฑ์การวัดและประเมินสามารถปรบั เปลี่ยนไดต้ ามความเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5 93 กลไก ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ 9. แหลง่ เรียนรู้ แหลง่ เรยี นร้อู อนไลน์ โดยผูส้ อนสามารถสืบคน้ ไดจ้ ากเวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ ทงั้ ทเี่ ปน็ ภาพนง่ิ หรอื วดี ทิ ศั น์ โดยใชค้ �ำ ส�ำ คญั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บทเรยี นแตล่ ะเรอ่ื ง เชน่ การท�ำ งานของเฟอื ง ระบบกลไก อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พื้นฐาน นอกจากน้ี ผู้สอนอาจสืบค้นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ที่เป็นภาษาอังกฤษ โดยอาจใช้คำ�สำ�คัญ (keyword) เชน่ simple mechanics, DC and AC motors, electronic devices ซึ่งจะทำ�ใหไ้ ด้ข้อมลู ทห่ี ลากหลายมากข้ึน 10. ขอ้ เสนอแนะ 10.1 เนื่องจากในหน่วยการเรียนรู้น้ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ เก่ียวกับกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และเคร่ืองมือวัดไฟฟ้า ผู้สอนจึงควรจะใช้แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกิจกรรมเป็นฐาน (activity based) หรอื การเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ (active learning) เพอื่ ใหบ้ รรลจุ ดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 10.2 แนวทางการวัดและประเมินผลของวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี มงุ่ เนน้ ท่ี การประเมนิ ตามสภาพจริง (authentic assessment) โดยวัดและประเมนิ ผล 3 ดา้ น คือ ความสามารถ ดา้ นสตปิ ญั ญา ความสามารถดา้ นทกั ษะปฏบิ ตั ิ และเจตคตหิ รอื คณุ ธรรมจรยิ ธรรม โดยผสู้ อนสามารถประเมนิ จากผลงานหรือการทำ�งานของผู้เรียนเป็นหลัก ผ่านกระบวนการสังเกต บันทึก หรือตรวจสอบเอกสาร เก่ียวกับช้นิ งานและวิธีการ เพอ่ื ให้ได้ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพท่มี ีความตอ่ เน่ือง 11. แนวคำ�ตอบกิจกรรม วเิ คราะหก์ ารใชง้ านกลไก กจิ กรรม 5.1 ให้นักเรียนสำ�รวจส่ิงต่าง ๆ รอบตัว เช่น พัดลม ลิฟต์ รถยนต์ แล้ววิเคราะห์ว่าสิ่งเหล่านั้น มกี ารใช้กลไกอะไรบ้างเป็นสว่ นประกอบในการทำ�งาน เพราะอะไร สิง่ ของเครอื่ งใช้ กลไกท่ีใช้ หน้าทกี่ ารท�ำ งาน พดั ลม เฟอื ง ชว่ ยท�ำ ใหห้ มนุ เปลี่ยนทศิ ทางได้ ลิฟต์ รอก ช่วยผอ่ นแรง เฟอื ง ช่วยปรับทศิ ทางการเคลอื่ นท่ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
94 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 5 หคนมู่ งั อื สคอื รเรู ยีายนวรชิายาวพชิ น้ื าฐพาน้ื นฐวาทิ นยวาทิ ศยาาสศตาสร์ต|รเ์ ท| คเทโคนโโนลโยลี ย(กี (ากราอรอกอแกบแบบบแแลละะเทเทคคโโนนโโลลยย)ี )ี กลไก ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กิจกรรม 5.2 วเิ คราะหอ์ ปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ ให้นักเรียนเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้ามา 1 ประเภท เพ่ือศึกษาส่วนประกอบอุปกรณ์ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ของเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าทีเ่ ลือกในประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ อุปกรณ์ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ทีใ่ ชใ้ นเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ น้ันมีอะไรบา้ ง การท�ำ งานของอปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ นน้ั มกี ารท�ำ งานสมั พนั ธ์ กันอยา่ งไร อปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ กดิ ทำ�งานผิดพลาดจะส่งผลต่อการทำ�งานของเครือ่ งใช้ ไฟฟา้ อยา่ งไร แนวคำ�ตอบท่ี 1 เครอื่ งใช้ไฟฟ้าท่เี ลอื ก คือ เครื่องซักผา้ อปุ กรณ์ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกสท์ ใี่ ช้ในเครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ เครื่องซักผา้ มีองค์ประกอบหลายสว่ นทำ�งานรว่ มกนั โดยมีองคป์ ระกอบหลัก เช่น ระบบเปิด ปิดน้�ำ มอเตอร์ สายพาน ระบบควบคมุ เวลา ความสัมพนั ธ์ของการท�ำ งานอุปกรณไ์ ฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบควบคมุ การเปดิ ปดิ น้�ำ ท�ำ หน้าทีใ่ นการควบคุมการจ่ายน�้ำ เขา้ สู่ตวั เครอื่ ง มอเตอรท์ �ำ หนา้ ทใ่ี หต้ วั เครอ่ื งสามารถหมนุ ปนั่ ผา้ เพอื่ การซกั และปนั่ ผา้ ใหเ้ ปยี กน�ำ้ นอ้ ยลง สายพานทำ�หนา้ ท่เี ป็นอุปกรณ์ส่งผ่านแรงระหว่างมอเตอรแ์ ต่ละตัว ระบบควบคมุ เวลาช่วยกำ�หนดระยะเวลาท่ตี ้องการซกั ผ้าให้ได้ตามทผี่ ้ใู ชต้ ้องการ การท�ำ งานของกลไกและอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ของเครอื่ งซกั ผา้ ขา้ งตน้ มคี วามสมั พนั ธก์ นั เชน่ ระบบ ควบคุมการเปิดปิดนำ้�จะเก่ียวข้องกับระยะเวลาท่ีควบคุมการทำ�งานที่ต้ังค่าไว้ และยังส่งผลต่อ ระยะเวลาการท�ำ งานของมอเตอร์ดว้ ย ตัวอย่างการทำ�งานผดิ พลาดของอุปกรณไ์ ฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ หากการทำ�งานของกลไกและอุปกรณ์ในเคร่ืองซักผ้าช้ินใดเกิดทำ�งานผิดพลาดหรือเสียหาย จะท�ำ ใหร้ ะบบการท�ำ งานของเครอ่ื งผดิ พลาดไดด้ ว้ ย เชน่ หากมอเตอรเ์ สยี หายยอ่ มสง่ ผลตอ่ การหมนุ ปั่นผา้ ของเคร่อื ง ท�ำ ใหไ้ ม่สามารถซกั ผา้ ไดต้ ามต้องการ หรือระบบการควบคมุ การจา่ ยน้ำ�เสยี หายจะ ท�ำ ให้ไม่สามารถสง่ น้�ำ เขา้ ออกตวั เคร่อื งได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150