Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 048..

048..

Published by tanagkrit07, 2021-12-14 02:19:29

Description: 048..

Search

Read the Text Version

ช่ือ ธนกฤต อาจหาญ รหสั 048 ช้นั ปวส.1-3/4 จงคน้ หาขอ้ มลู และตอบคาถามดงั ต่อไปน้ี โดยพมิ พต์ อบแต่ละขอ้ ใหช้ ดั เจน 1. ความหมายของการส่ือสารโทรคมนาคม คือ ตอบ โทรคมนาคม (อังกฤษ: telecommunication) หมายถึงการสื่อสารระยะไกล โดยใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งผา่ นทางสัญญาณไฟฟ้า หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เนื่องจากเทคโนโลยที ี่แตกต่างกนั จำนวน มากทเ่ี กย่ี วข้องกับคำนี้ จึงมกั ใช้ในรปู พหพู จน์ เชน่ Telecommunications เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมในช่วงต้นประกอบด้วยสัญญาณภาพ เช่น ไฟสัญญาณ, สัญญาณควัน, โทรเลข, สัญญาณธง และเครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์[4] ตัวอย่างอื่น ๆ ของการ สื่อสารโทรคมนาคมก่อนช่วงที่ทันสมัยได่แก่ข้อความเสียงเช่นกลอง, แตรและนกหวีด เทคโนโลยีการสื่อสาร โทรคมนาคมด้วยไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้าได้แก่โทรเลข, โทรศัพท์และ โทรพิมพ์, เครือข่าย, วิทยุ, เครื่องส่ง ไมโครเวฟ, ใยแก้วนำแสง, ดาวเทียมสือ่ สารและอนิ เทอรเ์ น็ต การปฏิวัติ ในการสื่อสารโทรคมนาคมไร้สายเริ่มต้นขึ้นในปี 190X กับการเป็นผู้บุกเบิกพัฒนาใน การ สื่อสารทางวิทยุโดย Guglielmo มาร์โคนี ที่ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1909 สำหรับความ พยายามของเขา นักประดิษฐ์ผู้บุกเบิกและนักพัฒนาอื่น ๆ ที่น่าทึ่งมาก ๆ ในด้านการ สื่อสารโทรคมนาคม ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์รวมถึง ชาร์ลส์ วีทสโตน และ ซามูเอล มอร์ส (โทรเลข), Alexander Graham Bell (โทรศัพท์), เอ็ดวิน อาร์มสตรอง และลี เดอ ฟอเรสท์ (วิทยุ) เช่นเดียวกับที่ จอห์น โลจี แบร์ด และ Philo Farnsworth (โทรทัศน)์ กำลังการผลิตที่มีประสิทธิภาพของโลกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางเครือข่ายการส่ือสารโทรคมนาคม สองทางเพม่ิ ข้นึ จาก 281 เพตาไบตข์ องข้อมลู (ทถ่ี กู บีบอดั อย่างดีท่ีสุด) ในปี ค.ศ. 1986 เปน็ 471 petabytes ในปี ค.ศ. 1993 และ 2.2 (บีบอัดอย่างดีที่สุด ) เอ็กซาไบต์ ในปี ค.ศ. 2000 และ 65 (บีบอัดอย่างดีที่สุด) exabytes ในปี ค.ศ. 2007[5] นค่ี อื เทยี บเทา่ ข้อมูลของสองหน้า หนังสอื พิมพต์ อ่ คนตอ่ วันในปี 1986 และ หก เต็มหน้าหนังสือพิมพ์ต่อคนต่อวันในปี 2007[6] ด้วยการเจริญเติบโตขนาดนี้, การสื่อสารโทรคมนาคมมี บทบาทสำคัญมากขึ้นในเศรษฐกิจโลกและอุตสาหกรรมโทรคมนาคมทั่วโลกประมาณ$ 4.7 ล้านล้านภาค เศรษฐกิจในปี 2012 รายได้จากการให้บริการของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมทั่วโลกถูกประเมินไว้ที่ $1.5 ล้าน ล้านในปี 2010 สอดคลอ้ งกบั 2.4% ของผลิตภัณฑม์ วลรวมของโลก (GDP) 2. ส่วนประกอบและหน้าทขี่ องระบบการส่ือสารโทรคมนาคม มีอะไรบ้าง ตอบ องคป์ ระกอบของระบบโทรคมนาคม โทรคมนาคม (Telecommunications) หมายถึง การสื่อสารข้อมูลระยะทางไกลในรูปแบบสัญญาณ อีเล็กทรอนกิ ส์ ซง่ึ ในอดตี ระบบโทรคมนาคมให้บรกิ ารในรปู แบบของสัญญาณเสียงผา่ นสายโทรศพั ทท์ ่ี เรียกกันว่าสัญญาณในระบบ อนาลอก (Analog Signal) แต่ในปัจจุบันสัญญาณโทรคมนาคมกำลังกลายเป็น การถ่ายทอดสัญญาณในรูปแบบดิจิตอล (Digital Signal)ระบบโทรคมนาคม (Telecommunications

Systems) คือระบบที่ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์จำนวนหนึ่งที่สามารถทำงานร่วมกันและถูกจัดไว้ สำหรับการสื่อสารข้อมลู จากสถานที่แห่งหนงึ่ ไปยงั สถานทอ่ี ีกแหง่ หนึ่งซงึ่ สามารถถ่ายทอดขอ้ ความ ภาพกราฟฟิก เสียงสนทนา และวดิ ีทัศน์ได้มรี ายละเอยี ดของโครงสรา้ งสว่ นประกอบดังน้ี 1 เครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือเปลี่ยนปริมาณใดให้เป็นไฟฟ้า (Transducer) เช่น โทรศัพท์ หรือ ไมโครโฟน เปน็ ตน้ 2 เครอ่ื งเทอรม์ ินอลสำหรบั การรบั ขอ้ มูลหรอื แสดงผลข้อมลู เช่น เคร่ืองคอมพวิ เตอร์หรือโทรศัพท์ 3 อุปกรณ์ประมวลผลการสื่อสาร (Transmitter) ทำหน้าที่แปรรูปสัญญาณไฟฟ้าให้เหมาะสมกับ ช่องสญั ญาณ เชน่ โมเด็ม (MODEM) มลั ตเิ พลก็ เซอร์ (multiplexer) แอมพลิไฟเออร(์ Amplifier) และ ดาวเทยี ม (Satellite) ดำเนินการได้ทั้งรบั และส่งขอ้ มูล 4 ช่องทางส่ือสาร (Transmission Channel) หมายถึงการเชือ่ มตอ่ รูปแบบใดๆ เช่นสายโทรศพั ท์ใยแก้วนำ แสง สายโคแอกเซยี ล หรอื แมแ้ ต่การส่อื สารแบบไรส้ าย 5 ซอฟท์แวรก์ ารส่อื สารซึ่งทำหนา้ ที่ควบคุมกจิ กรรมการรับสง่ ขอ้ มลู และอำนวยความสะดวกในการส่อื สา

3.โปรโตคอล (Protocol) คือ ตอบ โปรโตคอล ( Protocol ) หมายถึง ข้อกำหนดหรือข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ซึ่งมีอยู่ ด้วยกันมากมายหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีข้อดี ข้อเสีย และใช้ในโอกาสหรือสถานการณ์แตกต่างกันไป คล้ายๆ กับภาษามนุษย์ที่มีทั้งภาษาไทย จีน ฝรั่ง หรือภาษาใบ้ ภาษามือ หรือจะใช้วิธียักคิ้วหลิ่วตาเพื่อส่งสัญญาณก็ จัดเป็นภาษาได้เหมือนกัน ซึ่งจะสื่อสารกันรู้เรื่องได้จะต้องใช้ภาษาเดียวกัน ในบางกรณีถ้าคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องสื่อสารกันคนละภาษากันและต้องการนำมาเชื่อมต่อกันจะต้องมีตัวกลางในการแปลงโปรโตคอลกลับไป กลับมาซึ่งนิยมเรียกว่าGatewayถ้าเทียบกับภาษามนุษย์ก็คือล่ามซึ่งมีอยู่ทั้งที่เป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์แยก ต่างหากสำหรับทำหน้าที่นี้โดยเฉพาะหรือาจะเป็นโปรแกรมหรือไดร์ฟเวอร์ที่สา มารถติดตั้งในเครื่อง คอมพิวเตอรน์ ั้น ๆ ไดเ้ ลย การที่คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งจะส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งได้นั้นจะต้องอาศัยกลไ ก หลายๆ อย่างร่วมกันทำงานต่างหน้าที่กัน และเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายเข้าด้วยกัน ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ การ เชื่อมต่อมีความแตกต่างระหว่างระบบและอุปกรณ์หรือเป็นผู้ผลิตคนละรายกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้การสร้าง เครือข่ายเป็นเรอ่ื งยากมาก เนอ่ื งจากขาดมาตรฐานกลางที่จำเปน็ ในการเชื่อมต่อ จึงได้เกิดหน่วยงานกำหนดมาตรฐานสากลขึ้นคือ International Standards Organization และทำ การกำหนดโครงสรา้ งทัง้ หมดที่จำเป็นต้องใช้ในการสื่อสารขอ้ มลู และเป็นระบบเปิดเพอื่ ให้ผ้ผู ลติ ตา่ งๆ สามารถ แยกผลติ ในส่วนท่ีตัวเองถนัดแต่สามารถนำไปใช้ร่วมกันไดร้ ะบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์สมัยใหม่จะถูกออกแบบ ให้มีโครงสรา้ งทีแน่นอน และเพื่อเปน็ การลดความซับซ้อน ระบบเครือข่ายส่วนมากจึงแยกการทำงานออกเปน็ ชั้นๆ (layer) โดยกำหนดหน้าที่ในแต่ละชั้นไว้อย่างชัดเจน แบบจำลองสำหรับอ้างอิงแบบ OSI (Open System Interconnection Reference Model) หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า OSI Reference Model ของ ISO เป็นแบบจำลองที่ถูกเสนอและพัฒนาโดยองค์กร International Standard Organization (ISO) โดยจะ บรรยายถึงโครงสร้างของสถาปัตยกรรมเครือข่ายในอุดมคติซึ่งระบบเครือข่ายที่เป็นไปตามสถาปัตยกรรมนี้จะ เป็นระบบเครือข่ายแบบเปิดและอุปกรณ์ทางเครือข่ายจะสามารถติดต่อกันได้โดยไม่ขึ้นกับว่าเป็นอุปกรณ์ของ ผขู้ ายรายใด ความสาํ คญั ของโปรโตคอล ในการติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านทางเครือข่ายนั้น จําเป็นต้องมีโปรโตคอลที่เป็นข้อกําหนดตกลงในการ สอ่ื สารข้ึนเพ่อื ชว่ ยใหร้ ะบบสองระบบท่แี ตกตา่ งกันสามารถสือ่ สารกนั อยา่ งเข้าใจได้โปรโตคอลเปน็ ขอ้ ที่กําหนด เกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทั้งวิธีการส่งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาด ของการส่งและรับข้อมูลการแสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่างเครื่องสองเครื่องดังนั้นจะเห็นได้ว่า โปรโตคอลมีความสําคัญมากในการสื่อสารบนเครือข่ายหากไม่มีโปรโตคอลแล้วการสื่อสารบนเครือข่ายจะไม่ สามารถเกิดขึ้นได้ในปัจจุบันการทํางานของเครือข่ายใช้มาตรฐานโปรโตคอลต่างๆร่วมกันทํางานมากมาย นอกจากโปรโตคอลระดับประยุกต์แล้วการดําเนินการภายในเครือข่ายยังมีโปรโตคอลย่อยที่ช่วยทําให้การ ทํางานของเครือข่ายมีประสทิ ธภิ าพขึ้น โดยที่ผใู้ ช้ไม่สามารถสงั เกตเห็นไดโ้ ดยตรงอกี มาก การทำงานของโปรโตคอล เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ประกอบด้วยอปุ กรณท์ ่ที ํางานร่วมกันเป็นจาํ นวนมากผลิตภณั ฑ์เหล่านั้นมีหลาย มาตรฐานหลายยี่ห้อแต่ก็สามารถทํางานร่วมกันได้อย่างดีการที่เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทํางานร่วมกั นอย่างเป็น

ระบบ เพราะมีการใช้โปรโตคอลมาตรฐานที่มีข้อกําหนดให้ทํางานร่วมกันได้ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตที่ทําหน้าที่เป็น ผู้ใช้บริการหรือเป็นไคลแอนต์ (Client) สามารถเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่านไปยังเครื่องให้บริการ หรือเซิร์ฟเวอร์ (Server) บนเครือข่าย การทํางานของพีซีที่เชื่อมต่อร่วมกับเซิร์ฟเวอร์ก็จําเป็นต่องใช้ โปรโตคอลเพ่อื ประยุกต์ใช้งานรับสง่ ข้อมลู ซงึ่ โปรโตคอลทีใ่ ชใ้ นการส่อื สารน้ีกม็ ีมากมายหลายประเภทดว้ ยกัน 4.ให้อธิบายชนิดของสัญญาณแอนะล๊อก (Alalog) และสัญญาณดจิ ิทลั (Digital) ตอบ เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยแต่ละคลื่นจะมีความถี่และความ เข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนำสัญญาณข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับสญั ญาณและแปลงสัญญาณ ก็จะได้ ขอ้ มลู ท่ีต้องการได้ ตวั อย่างการส่งขอ้ มลู ที่มีสัญญาณแบบแอนาล็อกคือ การสง่ ข้อมลู ผ่านระบบโทรศพั ท์ เฮิร์ต (hertz:Hz) คือหน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบแอนาล็อก วิธีวัดความถี่จะนับจำนวน รอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เช่น สัญญาณข้อมูลที่มีความถี่ 60 Hz หมายถึงใน 1 วินาที สัญญาณมกี ารเปลย่ี นแปลงระดบั สัญญาณ 60 รอบ (ข้นึ และลงนับเป็น 1 รอบ) สญั ญาณดจิ ิทลั (Digital Signal) สัญญาณดิจิทัล (digital signal) ลักษณะเป็นกราฟสี่เหลี่ยม (square graph) เป็นสัญญาณแบบไม่ ต่อเนื่อง รูปแบบของสัญญาณมีการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ปะติดปะต่อ กล่าวคือ มีบางช่วงที่ระดับสัญญาณเป็น 0 การ แปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิทัลต้องทำการเเปลงข้อมูลให้ข้อมูลเป็นแบบดิจิทัลก่อน นั่นคือต้อง แปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 แล้วทำการแปลงข้อมุลนั้นให้เป็นสัญญาณดิจิทัล ซึ่ง สามารถแปลงได้หลายรปู แบบ เช่น แบบ unipolar แทนบิต 0 ด้วยระดับสัญญาณทีเ่ ป็นกลาง และบิต 1 ด้วย ระดับสัญญาณเป็นบวก การส่งสัญญาณข้อมูลแบบดิจิทัลมีคุณภาพดีกว่าแบบแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งใน ระยะทางที่ไกลออกไปจะต้องใช้อุปกรณ์ทวนสัญญาณที่เรียกว่า รีพีตเตอร์ (repeater) ซึ่งรีพีตเตอร์จะทำการ กรองเอาสัญญาณรบกวนออกก่อนแล้วค่อยเพิ่มระดับสัญญาณ จากนั้นจึงส่งออกไป จะเห็นได้ว่าคุณภาพของ สญั ญาณท่สี ง่ ออกไปจะใกล้เคียงของเดิมทสี่ ่งมา สัญญาณดิจิทัลมีหน่วยวัดความเร็วเป็นบิตต่อนาที หรือ bit per second (bps) หมายถึง จำนวน บิตที่ส่งได้ในช่วงเวลา 1 วินาที เช่น โมเด็มมีความเร็ว 56 kbps หมายความว่า โมเด็มสามารถผลิตสัญญาณ ดิจทิ ลั ได้ประมาณ 56,000 บิตใน 1 วินาที

5.บอกชนดิ ของช่องทางการสัญญาณ มอี ะไรบ้าง ตอบ เป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคญั อยา่ งหน่ึงของการสื่อสารขอ้ มูลซ่ึงหมายถึง ส่ือกลางการส่งผ่านสารสนเทศ ระหว่างอุปกรณ์ 2 ชนิด โดยการส่ือสารขอ้ มูลผ่านช่องทางการสื่อสารน้ี ความเร็วในการส่ือสารขอ้ มูลจะ ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั พ้ืนฐาน 2 ประการ คือ ความกวา้ งของช่องสัญญาณและชนิดของขอ้ มูล ซ่ึงคาวา่ “ความกวา้ ง ของช่องสัญญาณ (Bandwidth)” อาจเปรียบไดก้ บั ความกวา้ งของถนนและ “ชนิดของขอ้ มูล” อาจเปรียบได้ กบั ชนิดของรถยนต์ดงั น้ันการท่ีช่องทางการส่ือสารมีแบนด์วิดท์มาก ก็เท่ากบั มีถนนหลายเลน รถยนต์ สามารถวิ่งผ่านไปมาไดม้ ากและรวดเร็ว แต่ในทางกลบั กนั หากมีแบนดว์ ิดทน์ อ้ ย ก็เท่ากบั ถนนมีเลนน้อย รถยนตว์ ิ่งผา่ นไปมาไดน้ อ้ ยและชา้ นอกจากน้ีแลว้ ชนิดของขอ้ มูลกถ็ ือวา่ เป็นปัจจยั สาคญั อีกประการหน่ึงที่ มีผลกระทบต่อปริมาณ และความรวดเร็วในการสื่อสารกล่าวคือชนิดขอ้ มูลท่ีเป็นขอ้ ความจะมีขนาดเลก็ ทา ใหก้ ารส่งผา่ นขอ้ มูลไปมาทาไดส้ ะดวกรวดเร็วแมจ้ ะมีแบนดว์ ดิ ทน์ อ้ ยกต็ ามแต่ในทางกลบั กนั หากช่องทาง การสื่อสารน้ันมีแบนด์วิดท์กวา้ ง แต่ชนิดขอ้ มูลกลบั เป็ นไฟล์วิดีโอซ่ึงขนาดใหญ่มากก็จะทาให้ส่งผ่าน ขอ้ มูลไดช้ า้ ช่องทางการติดต่อสื่อสารแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ชนิด คือ ช่องทางการสื่อสารแบบมีสาย (Physical Wire) - สายทวิสเตดแพร์ (Twisted-pair Wire) - สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) - เคเบิลใยแกว้ นาแสง (Fiber-optic Cable) ช่องทางการส่ือสารแบบไร้สาย(Wireless) - ไมโครเวฟ(Microwave) - ดาวเทียม (Satellite) - แสงอินฟราเรด (Infrared) - คลื่นวทิ ยุ (Radio) - เซลลาร์

6.ยกตัวอย่างอปุ กรณ์โทรคมนาคม ในระบบโทรศัพท์ GSM ตอบ GSM. GSM ยอ่ มาจาก ( Global System for Mobile Communications ) ... GSM ใชเ้ ทคโนโลยี ดิจิตอลสาหรับช่องสญั ญาณควบคุมและสญั ญาณเสียงแบบ TDMA ซ่ึงแตกต่างจากเทคโนโลยี โทรศพั ทม์ ือถือก่อนหนา้ น้นั จึงถือวา่ เป็นโทรศพั ทม์ ือถือในยคุ ที่สอง หรือ 2G มีพฒั นาการมาจาก โทรศพั ทแ์ บบเซลลลู าร์ จนกลายมาเป็น GSM ในปี 1990 ท่ีมีความเสถียรมากท่ีสุด ความเป็ นมาของโทรศัพท์เคล่ือนที่เซลลูลาร์ อเลก็ ซานเดอร์เกร แฮม เบล เป็นผวู้ างรากฐานระบบโทรศพั ทไ์ วต้ ้งั แต่ปี พ.ศ. 2419 หรือประมาณร้อยปี เศษแลว้ โทรศพั ทม์ ีพฒั นาการค่อนขา้ งชา้ เริ่มจากการสวติ ชด์ ว้ ยคน มาเป็นการใชร้ ะบบสวติ ชแ์ บบอตั โนมตั ิ ดว้ ยกลไกทางแม่เหลก็ ไฟฟ้าจาพวกรีเลย์ จนในที่สุดเป็นระบบครอสบาร์คร้ันเขา้ สู่ยคุ ดิจิตอลอิเลก็ ทรอนิกส์ และคอมพวิ เตอร์ ระบบโทรศพั ทท์ ่ีใชไ้ ดเ้ ปลี่ยนแปลงวิธีการสวิตชม์ าเป็นแบบดิจิตอล มีการแปลง สญั ญาณเสียงใหเ้ ป็นดิจิตอล โดยแถบเสียงขนาด 4 กิโลเฮิร์ทซ์ต่อวินาที ใชอ้ ตั ราสุ่ม 8,000 คร้ังต่อวินาที ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook