Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Published by viw01312, 2020-11-04 02:30:02

Description: พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Keywords: พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Search

Read the Text Version

พลเมอื งดิจทิ ัลและความฉลาดทางดิจทิ ัล จดั ทําโดย นางสาว เสาวลักษณ์ บุญกระสอน เลขที 26 ชนั มธั ยมศึกษาปที 6/2 เสนอ คณุ ครู วชิ ยั สงิ หน์ อ้ ย โรงเรยี นสนั กําแพง จงั หวดั เชยี งใหม่ เขต พนื ทีการศึกษามธั ยมศุึกษา เขต 34

ความฉลาดทางดิจทิ ัล (DQ Digital Intelligence) ความฉลาดทางดิจทิ ัล (DQ: Digital Intelligence) คืออะไร ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือ กล่มุ ความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรบั รู้ ทีจะทําใหค้ นคนหนงึ สามารถ เผชญิ กับความท้าทายของชวี ติ ดจิ ทิ ัล และสามารถปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับชวี ติ ดจิ ทิ ัล ได้ ความฉลาดทางดจิ ทิ ัลครอบคลมุ ทังความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านยิ มที จาํ เปนต่อการใชช้ วี ติ ในฐานะสมาชกิ ของโลกออนไลน์ กล่าวอีกนยั หนงึ คือ ทักษะ การใชส้ อื และการเขา้ สงั คมในโลกออนไลน์ ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล เปนผลจากศึกษาและพฒั นาของ DQ institute หนว่ ยงานทีเกิดจากความรว่ มมอื กันของภาครฐั และเอกชนทัวโลกประสานงาน รว่ มกับ เวลิ ดอ์ ีโคโนมกิ ฟอรมั (World Economic Forum) ทีมุง่ มนั ใหเ้ ดก็ ๆ ทกุ ประเทศไดร้ บั การศึกษาดา้ นทักษะพลเมอื งดจิ ทิ ัลทีมคี ณุ ภาพและใชช้ วี ติ บน โลกออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภัยดว้ ยความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ อยา่ งไร ก็ตาม ระดบั ทักษะความฉลาดทางดจิ ทิ ัลของเดก็ ไทยตามรายงาน DQ report 2018 ยงั อยูใ่ นระดบั ตําอยู่ ทังนเี นอื งจากสาํ นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล (ดี ปา) กระทรวงดจิ ทิ ัลเพอื เศรษฐกิจและสงั คม, สาํ นกั งานคณะกรรมการการ ศึกษาขนั พนื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธกิ าร และ DQ Institue รว่ มกันทํา โครงการ#DQEveryChild โดยศึกษาเดก็ ไทยอายุ 8-12 ป ทัวประเทศ 1,300 คน ผา่ นแบบสาํ รวจออนไลนD์ Q Screen Time Test ชุดเดยี วกันกับเดก็ ประ เทศอืนๆ รวมกล่มุ ตัวอยา่ งทัวโลกทังสนิ 37,967 คนผลการศึกษาพบวา่ เดก็ ไทยมคี วามเสยี งจากภัยออนไลนถ์ ึง 60% ในขณะทีค่าเฉลียของการศึกษาครงั นอี ยูท่ ี 56% (จาก 29 ประเทศทัวโลก) ภัยออนไลนท์ ีพบจากการศึกษาชุดนี ประกอบไปดว้ ยการกลันแกล้งบนโลกออนไลน,์ ถกู ล่อลวงออกไปพบคนแปลก หนา้ จากสอื สงั คมออนไลน,์ ปญหาการเล่นเกม เดก็ ติดเกม, ปญหาการเขา้ ถึง สอื ลามกอนาจาร, ดาวนโ์ หลดภาพหรอื วดิ โี อทียวั ยุอารมณเ์ พศและพูดคยุ เรอื ง เพศกับคนแปลกหนา้ ในโลกออนไลน์ ดงั นนั ทักษะความฉลาดทางดจิ ทิ ัลจงึ ควร ทีจะถกู นาํ มาใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพและความสามารถของเยาวชนไทย

ความเปนพลเมอื งดิจทิ ัล (Digital Citizenship) คืออะไร ความเปนพลเมอื งดจิ ทิ ัลคือ พลเมอื งผใู้ ชง้ านสอื ดจิ ทิ ัลและสอื สงั คม ออนไลนท์ ีเขา้ ใจบรรทัดฐานของการปฏิบตั ิตัวใหเ้ หมาะสมและมคี วามรบั ผดิ ชอบ ในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยงิ การสอื สารในยุคดจิ ทิ ัลเปนการสอื สารที ไรพ้ รมแดน สมาชกิ ของโลกออนไลนค์ ือ ทกุ คนทีใชเ้ ครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ บนโลกใบนี ผใู้ ชส้ อื สงั คมออนไลนม์ คี วามหลากหลายทางเชอื ชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมอื งดจิ ทิ ัลจงึ ต้องเปนพลเมอื งทีมคี วามรบั ผดิ ชอบ มี จรยิ ธรรม เหน็ อกเหน็ ใจและเคารพผอู้ ืน มสี ว่ นรว่ มและมุง่ เนน้ ความเปนธรรมใน สงั คม การเปนพลเมอื งในยุดจิ ทิ ัลนนั มที ักษะทีสาํ คัญ 8 ประการ

1. ทักษะในการรกั ษาอัตลักษณท์ ีดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสรา้ งและบรหิ ารจดั การอัตลักษณท์ ีดขี องตนเองไวไ้ ดอ้ ยา่ งดที ังใน โลกออนไลนแ์ ละโลกความจรงิ อัตลักษณท์ ีดคี ือ การทีผใู้ ชส้ อื ดจิ ทิ ัลสรา้ งภาพ ลักษณใ์ นโลกออนไลนข์ องตนเองในแง่บวก ทังความคิดความรสู้ กึ และการกระ ทํา โดยมวี จิ ารณญานในการรบั สง่ ขา่ วสารและแสดงความคิดเหน็ มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจผรู้ ว่ มใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรจู้ กั รบั ผดิ ชอบต่อการกระทํา ไม่ กระทําการทีผดิ กฎหมายและจรยิ ธรรมในโลกออนไลน์ เชน่ การละเมดิ ลิขสทิ ธิ การกลันแกล้งหรอื การใชว้ าจาทีสรา้ งความเกลียดชงั ผอู้ ืนทางสอื ออนไลน

2. ทักษะการคิดวเิ คราะห์มวี จิ ารณญาณทีดี (Critical Thinking) สามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งขอ้ มูลทีถกู ต้องและขอ้ มูลทีผดิ ขอ้ มูลทีมเี นอื หาเปนประโยชนแ์ ละขอ้ มูลทีเขา้ ขา่ ยอันตราย ขอ้ มูลติดต่อทาง ออนไลนท์ ีนา่ ตังขอ้ สงสยั และนา่ เชอื ถือได้ เมอื ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ จะรวู้ า่ เนอื หาอะไร เปนสาระ มปี ระโยชน์ รเู้ ท่าทันสอื และสารสนเทศ สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลทีหลากหลายได้ เขา้ ใจรปู แบบการหลอกลวงต่างๆ ใน โลกไซเบอร์ เชน่ ขา่ วปลอมเวบ็ ปลอม ภาพตัดต่อ เปนต้น การคิดวเิ คราะหม์ วี จิ ารณญาณทีดีมอี งค์ประกอบดังนี

3. ทักษะในการรกั ษาความปลอดภัยของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถปองกันขอ้ มูลดว้ ยการสรา้ งระบบความปลอดภัยทีเขม้ แขง็ และปองกันการโจรกรรมขอ้ มูลหรอื การโจมตีออนไลนไ์ ด้ มที ักษะในการรกั ษา ความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ การรกั ษาความปลอดภัยของ ตนเองในโลกไซเบอรค์ ือ การปกปองอุปกรณด์ จิ ทิ ัลขอ้ มูลทีจดั เก็บและขอ้ มูล สว่ นตัวไมใ่ หเ้ สยี หาย สญู หาย หรอื ถกู โจรกรรมจากผไู้ มห่ วงั ดใี นโลกไซเบอร์ การรกั ษาความปลอดภัยทางดจิ ทิ ัลมคี วามสาํ คัญดงั นี 1. เพอื รกั ษาความเปนสว่ นตัวและความลับ หากไมไ่ ดร้ กั ษาความปลอดภัยให้ กับอุปกรณด์ จิ ทิ ัล ขอ้ มูลสว่ นตัวและขอ้ มูลทีเปนความลับอาจจะรวั ไหลหรอื ถู โจรกรรมได้ 2. เพอื ปองกันการขโมยอัตลักษณ์ การขโมยอัตลักษณเ์ รมิ มจี าํ นวนทีมากขนึ ในยุคขอ้ มูลขา่ วสาร เนอื งจากมกี ารทําธุรกรรมทางออนไลนม์ ากยงิ ขนึ ผคู้ นเรมิ ทําการชาํ ระค่าสนิ ค้าผา่ นสอื อินเทอรเ์ นต็ และทําธุรกรรมกับธนาคารทางออนไลน์ หากไมม่ กี ารรกั ษาความปลอดภัยทีเพยี งพอ มจิ ฉาชพี อาจจะล้วงขอ้ มูลเกียวกับ บตั รเครดติ และขอ้ มูลสว่ นตัวของผใู้ ชง้ านไปสวมรอยทําธุรกรรมได้ เชน่ ไปซอื สนิ ค้า ก้ยู มื เงิน หรอื สวมรอยรบั ผลประโยชนแ์ ละสวสั ดกิ าร 3. เพอื ปองกันการโจรกรรมขอ้ มูล เนอื งจากขอ้ มูลต่างๆ มกั เก็บรกั ษาในรปู ของดจิ ทิ ัล ไมว่ า่ จะเปนเอกสารภาพถ่าย หรอื คลิปวดี โิ อ ขอ้ มูลเหล่านอี าจจะถกู โจรกรรมเพอื นาํ ไปขายต่อ แบล็คเมล์ หรอื เรยี กค่าไถ่ 4. เพอื ปองกันความเสยี หายของขอ้ มูลและอุปกรณ์ ภัยคกุ คามทางไซเบอร์ อาจสง่ ผลเสยี ต่อขอ้ มูลและอุปกรณด์ จิ ทิ ัลได้ ผไู้ มห่ วงั ดบี างรายอาจมุง่ หวงั ให้ เกิดอันตรายต่อขอ้ มูลและอุปกรณท์ ีเก็บรกั ษามากกวา่ ทีจะโจรกรรมขอ้ มูลนนั ภัย คกุ คามอยา่ งไวรสั คอมพวิ เตอร์ โทรจนั และมลั แวรส์ รา้ งความเสยี หายรา้ ยแรงให้ กับคอมพวิ เตอรห์ รอื ระบบปฏิบตั ิการได้

4. ทักษะในการรกั ษาขอ้ มูลสว่ นตัว (Privacy Management) มดี ลุ พนิ จิ ในการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลสว่ นตัว รจู้ กั ปกปองขอ้ มูลความสว่ น ตัวในโลกออนไลนโ์ ดยเฉพาะการแชรข์ อ้ มูลออนไลนเ์ พอื ปองกันความเปนสว่ น ตัวทังของตนเองและผอู้ ืน รเู้ ท่าทันภัยคกุ คามทางอินเทอรเ์ นต็ เชน่ มลั แวร์ ไวรสั คอมพวิ เตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์ 1. ไมค่ วรตังรหสั ผา่ นของบญั ชใี ชง้ านทีง่ายเกินไป 2. ตังรหสั ผา่ นหนา้ จอสมารท์ โฟนอยูเ่ สมอ 3. แชรข์ อ้ มูลสว่ นตัวในสอื โซเชยี ลมเี ดยี อยา่ งระมดั ระวงั 4. ใสใ่ จกับการตังค่าความเปนสว่ นตัว ระมดั ระวงั ในการเปดเผยชอื และทีตังของเรา และปฏิเสธแอ ปทีพยายามจะเขา้ ถึงขอ้ มูลสว่ นตัวของเรา 5. อยา่ ใชไ้ วไฟสาธารณะเมอื ต้องกรอกขอ้ มูลสว่ นตัว เชน่ ออนไลนช์ อปปงหรอื ธุรกรรมธนาคาร หรอื การลง ทะเบยี นในสอื สงั คมออนไลน์ 6. รเู้ ท่าทันภัยคกุ คามทางอินเทอรเ์ นต็

5. ทักษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) สามารถในการบรหิ ารเวลาทีใชอ้ ุปกรณย์ ุคดจิ ทิ ัล รวมไปถึงการควบคมุ เพอื ใหเ้ กิดสมดลุ ระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนกั ถึงอันตรายจากการ ใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกินไป การทํางานหลายอยา่ งในเวลาเดยี วกัน และผลเสยี ของ การเสพติดสอื ดจิ ทิ ัลสาํ นกั วจิ ยั สยามเทคโนโลยอี ินเทอรเ์ นต็ โพลล์ระบุวา่ วยั รนุ่ ไทยเกือบ 40 % อยากใชเ้ วลาหนา้ จอมากกวา่ ออกกําลังกาย และผลการสาํ รวจ จาก We are social พบวา่ ในแต่ละวนั คนไทยใชเ้ วลาหนา้ จอ ดงั นี

6. ทักษะในการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลทีผใู้ ชง้ าน มกี ารทิงไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ วี ติ ในโลกดจิ ทิ ัลวา่ จะหลงเหลือรอ่ ย รอยขอ้ มูลทิงไวเ้ สมอ รวมไปถึงเขา้ ใจผลลัพธท์ ีอาจเกิดขนึ เพอื การดแู ลสงิ เหล่านอี ยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ รอยเท้าดิจทิ ัล (Digital Footprints) คืออะไร รอยเท้าดจิ ทิ ัลคือ คําทีใชเ้ รยี กรอ่ งรอยการกระทําต่างๆ ทีผใู้ ชง้ านทิง รอยเอาไวใ้ นโลกออนไลน์ โซเชยี ลมเี ดยี เวบ็ ไซต์หรอื โปรแกรมสนทนา เชน่ เดยี วกับรอยเท้าของคนเดนิ ทาง ขอ้ มูลดจิ ทิ ัล เชน่ การลงทะเบยี นอีเมล การ โพสต์ขอ้ ความหรอื รปู ภาพ เมอื ถกู สง่ เขา้ โลกไซเบอรแ์ ล้วจะทิงรอ่ ยรอยขอ้ มูล สว่ นตัวของผใู้ ชง้ านไวใ้ หผ้ อู้ ืนติดตามไดเ้ สมอ แมผ้ ใู้ ชง้ านจะลบไปแล้ว ดงั นนั หากเปนการกระทําทีผดิ กฎหมายหรอื ศีลธรรม ก็อาจมผี ลกระทบต่อชอื เสยี ง และภาพลักษณข์ องผกู้ ระทํา กล่าวง่ายๆ รอยเท้าดจิ ทิ ัลคือทกุ สงิ ทกุ อยา่ งใน โลกอินเทอรเ์ นต็ ทีบอกเรอื งของเรา เชน่

7. ทักษะในการรบั มอื กับการกลันแกล้งบนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกลันแกล้งบนโลกไซเบอรค์ ือ การใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ เปนเครอื งมอื หรอื ชอ่ งทางเพอื ก่อใหเ้ กิดการคกุ คามล่อลวงและการกลันแกล้งบนโลกอินเทอรเ์ นต็ และสอื สงั คมออนไลน์ โดยกล่มุ เปาหมายมกั จะเปนกล่มุ เดก็ จนถึงเดก็ วยั รนุ่ การกลันแกล้งบนโลกไซเบอรค์ ล้าย กันกับการกลันแกล้งในรปู แบบอืนหากแต่การกลันแกล้งประเภทนจี ะกระทําผา่ นสอื ออนไลนห์ รอื สอื ดจิ ทิ ัล เชน่ การสง่ ขอ้ ความทางโทรศัพท์ ผกู้ ลันแกล้งอาจจะเปนเพอื นรว่ ม ชนั คนรจู้ กั ในสอื สงั คมออนไลน์ หรอื อาจจะเปนคนแปลกหนา้ ก็ได้ แต่สว่ นใหญผ่ ทู้ ีกระทําจะ รจู้ กั ผทู้ ีถกู กลันแกล้ง รปู แบบของการกลันแกล้งมกั จะเปน ดงั เชน่ เคยมกี รณี เดก็ ผหู้ ญงิ อายุ 11 ป ไปเล่นอินเทอรเ์ นต็ ทีรา้ นแล้วลืมออกจาก บญั ชกี ารใชง้ านเฟซบุก๊ ทําใหม้ คี นสวมรอยใชเ้ ฟซบุก๊ ของเธอ ไปโพสต์ขอ้ มูลตามกล่มุ สนทนาทีขายบรกิ ารทางเพศมเี นอื หาเชงิ เชญิ ชวนวา่ ‘สาววยั ใสวยั ประถมยงั ไมเ่ คยเสยี สาว สนใจติดต่อผา่ นอินบอ็ กซเ์ ฟซบุก๊ น’ี ดว้ ยความทีเธอไมร่ เู้ รอื ง พอมคี นแอดเฟรนดม์ าก็รบั เลย เนอื งจากไมไ่ ดค้ ิดถึงอันตรายหรอื ภัยต่างๆคิดแค่อยากมเี พอื นเยอะๆ ต่อมาปรากฎวา่ สว่ นใหญจ่ ะเปนผชู้ ายสง่ ขอ้ ความมาหา ซงึ ตอนแรกก็คยุ ดๆี ปกติธรรมดา สกั พกั ก็ถามวา่ อยูท่ ีไหน เคยรยึ งั ขอเบอรโ์ ทรติดต่อหนอ่ ยจะนดั ขนึ หอ้ ง ทําให้ เธอกลัวมาก แต่โชคดที ีเธอ มสี มั พนั ธภาพกับพอ่ แมค่ ่อนขา้ งดี จงึ เล่าใหผ้ ปู้ กครองฟงวา่ เกิดอะไรขนึ แมก่ ็รบั ฟง และ ชว่ ยกันรบั มอื กับการกลันแกล้งบนโลกออนไลนน์ ี

8. ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมจี รยิ ธรรม (Digital Empathy) มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจ และสรา้ งความสมั พนั ธท์ ีดกี ับผอู้ ืนบนโลกออนไลน์ แม้ จะเปนการสอื สารทีไมไ่ ดเ้ หน็ หนา้ กัน มปี ฏิสมั พนั ธอ์ ันดตี ่อคนรอบขา้ ง ไมว่ า่ พอ่ แม่ ครู เพอื นทังในโลกออนไลนแ์ ละในชวี ติ จรงิ ไมด่ ว่ นตัดสนิ ผอู้ ืนจากขอ้ มูลออนไลน์ แต่เพยี งอยา่ งเดยี ว และจะเปนกระบอกเสยี งใหผ้ ทู้ ีต้องการความชว่ ยเหลือ คิดก่อนจะโพสต์ลงสงั คมออนไลน์ (Think Before You Post) ใครค่ รวญก่อนทีจะโพสต์รปู หรอื ขอ้ ความลงในสอื ออนไลน์ ไมโ่ พสต์ขณะ กําลังอยูใ่ นอารมณโ์ กรธสอื สารกับผอู้ ืนดว้ ยเจตนาดี ไมใ่ ชว้ าจาทีสรา้ งความเกลียด ชงั ทางออนไลน์ ไมน่ าํ ล้วงขอ้ มูลสว่ นตัวของผอู้ ืน ไมก่ ลันแกล้งผอู้ ืนผา่ นสอื ดจิ ทิ ัล โดยอาจตังความถามกับตัวเองก่อนโพสต์วา่

เอกสารอ้างอิง 6 เหตกุ ารณ์ สะเทือนใจ!! จากภัย Cyberbullying - จส. 100 [Online]. แหล่งทีมา http://www.js100.com/en/site/post_share/view/25700 9 ขอ้ ควรปฏิบตั ิของพลเมอื งดิจทิ ัลยุคใหม่ [Online]. แหล่งทีมา http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/digital-age/258/ ดีปาจบั มอื พนั ธมติ รขบั เคลือนความฉลาดทางดิจทิ ัลให้เด็กไทยเทียบเท่ามาตรฐาน [Online]. แหล่งทีมา http://www.ryt9.com/s/prg/2778991 โจไ๋ ทยเมนิ ออกกําลังกาย 40% อยากเล่นเนต็ -เกมมากกวา่ [Online]. แหล่งทีมา http://www.manager.co.th/qol/viewnews.aspxNewsID=9560000154824 ผลวจิ ยั ชวี ยั รุน่ อยู่ ‘หนา้ จอ’ นาน ยงิ ผกู พนั กับพอ่ แม-่ เพอื นลดลง [Online]. แหล่งทีมา http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspxNewsID=9530000030132 วทิ ยา ดํารงเกียรติศักดิ. พลเมอื งดิจทิ ัล [Online]. แหล่งทีมาhttp://www.infocommmju.com/carticle/images/stories/icarticles/ ajwittaya/digital/Digital_Citizenship.pdf ววิ รรณ ธาราหิรญั โชติ. ทักษะทางดิจติ อลทีจาํ เปนสาํ หรบั เด็กในอนาคต [Online]. แหล่งทีมา http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553 สาํ นกั งานคณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ.ค่มู อื Cyber Security สาํ หรบั ประชาชน [Online]. แหล่งทีมา https://www.nbtc.go.th/getattachment/News/รวมบทความ-(1)/ค่มู อื - Cyber-Security-สาํ หรบั ประชาชน/ค่มู อื -Cyber-Security-สาํ หรบั ประชาชน.pdf.aspx Digital Southeast Asia / Thailand In 2017 – An Overview [Online]. แหล่งทีมา http://my-thai.org/digital-southeast-asia-thailand-2017-overview/ Digital Intelligence (DQ) A Conceptual Framework & Methodology for Teachingand Measuring Digital Citizenship [Online]. แหล่งทีมา https://www.dqinstitute.org/wp-content/uploads/2017/08/DQ- Framework-White-Paper-Ver1-31Aug17.pdf ความฉลาดทางดิจทิ ัล (DQ Digital Intelligence) [Online]. แหล่งทีมา http://cclickthailand.com/wp- content/uploads/2020/04/dq_FINAL.pdf?fbclid=IwAR3sP- j6MS_MMn1Qv13h314GSUDF5z3Oq9KfC397jpGATe98HAvjmQ30BMo.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook