ประวตั ิความเป็นมาของดนตรีไทย สมัยกรุงสุโขทยั สมยั กรุงศรีอยุธยา สมยั กรุงรัตนโกสินทร์
ดนตรีสมยั กรุงสุโขทยั• พอ่ ขนุ รามคาแหงได้ประดษิ ฐ์อกั ษรไทยและจารึกเร่ืองราวตา่ งๆ ลงใน ศลิ า• หลกั ศลิ าจารึก “ เสียงพาทย์ เสียงพณิ เสียงเลอื ้ น เสยี งขบั ”• เสียงพาทย์ หมายถงึ การบรรเลงวงป่ีพาทย์• เสยี งพิณ หมายถงึ วงเคร่ืองสาย
เคร่ืองดนตรี• 1.1 เคร่ืองดีด ได้แก่ กระจบั ป่ี พิณน้า้ เต้า พิณเพียะ• 1.2 เครื่องสี ได้แก่ ซอสามสาย (ซอพงุ ตอ)• 1.3 เคร่ืองตี ได้แก่• 1.3.1 ประเภทโลหะ ได้แก่ มโหระทกึ ฆ้อง ฉิ่ง ฉาบ ระฆงั กงั สดาล• 1.3.2 ประเภทไม้ ได้แก่ กรับคู่ กรับพวง• 1.3.3ประเภทเคร่ืองหนงั ได้แก่ กลองทดั กลองตะโพน กลองต๊กุ กลองแอว์ บณั เฑาะว์ กลองมลายู• 1.4 เครื่องเป่า ได้แก่ พสิ เพญชยั (แตร เขาควาย) แตรงอน แตรสงั ข์ ปี่ไฉนหรือปี่ใน (ป่ีสรไนย)
การผสมวงดนตรีไทยกรุงสโุ ขทยั มีการประสมวงดนตรีอยู่ 4 แบบ คอื1 วงปี่พาทย์เครื่อง ห้า2 การบรรเลงพณิ นา้ เต้าผสมการขบั ร้อง3 วงขบั ไม้4 วงมโหรีเคร่ือง 4
ป่ี พาทยเ์ ครื่อง หา้เป็นวงดนตรีที่ใช้บรรเลงพิธีกรรม และประกอบการแสดงประกอบด้วย เครื่องดนตรี 5 ชิน้คอื ปี่ในหรือปี่นอก ฆ้องวง กลองทดั ตะโพน ฉ่ิง
การบรรเลงพิณน้าเตา้ ผสมการขบั ร้องเป็นการดีดพิณประกอบการขบัร้องเพยี งคนเดยี ว เนือ้ ร้องมีทานองไปในเชิง แสดงความรักใคร่ บรรเลงเพ่ือเกีย้ วสาว เพื่อความรักเสียเป็นสว่ นใหญ่
วงขบั ไม้มีคนเลน่ 3 คน คือ คนสีซอสามสายคลอเสียงร้อง คนขบั ลานาคนไกวบณั เฑาะว์เพื่อให้จงั หวะ วงขบั ไม้ใช้บรรเลงประกอบพิธีสาคญั เช่น สมโภชพระมหาเศวตฉตั ร พิธีขนึ ้ พระอู่ เป็นต้น วงขบั ไม้ยงั ใช้อยจู่ นถงึ ปัจจบุ นั
วงมโหรีเคร่ือง 4มีผ้บู รรเลง 4 คน ประกอบด้วย1.คนขบั ลานาและตีกรับพวง 2.คนสีซอสามสาย3.คนดดี กระจบั ป่ี 4.คนตีทบั (โทน)
3. บทเพลงสมยั สุโขทยั• บทเพลงในสมยั นีย้ งั ไมม่ กี ารบนั ทกึ โน้ตไว้เป็น หลกั ฐาน จงึ ไมท่ ราบวา่ บทเพลงสมยั กรุงสโุ ขทยั เป็น อย่างไร• เพลงที่เชื่อกนั วา่ เป็นเพลงในสมยั กรุงสโุ ขทยั เชน่ เพลงเทพทอง ซงึ่ ถือวา่ เป็นเพลงที่เกา่ แก่ที่สดุ มอี ายุ กวา่ 700 ปี• เพลงนางนาคและเพลงขบั ไม้บณั เฑาะว์
ดนตรีสมยั กรุงศรีอยธุ ยา• กฏมณเฑียรบาล ในรัชสมยั ของพระบรมไตรโลกนารถวา่ “…ห้ามขบั ร้องเพลงเรือ เป่ าขลยุ่ เป่ าป่ี สซี อดีดกระจบั ป่ี ตีโทนทบั ในเขตพระราชฐาน”• ดนตรีเจริญรุ่งเรืองเพราะประชาชนนิยมเลน่ ดนตรีกนั มาก• เคร่ืองดนตรีในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา สว่ นใหญ่ได้รับมาจาก กรุงสโุ ขทยั แตพ่ ฒั นาคิดค้นเรื่องดนตรีเพิม่ เติม เชน่ จะเข้
เครื่องดนตรี ตามหลกั ฐานท่ีปรากฏพบวา่ มีเครื่องดนตรีเกือบครบทกุ ชนดิ ท่ีปรากฏอยใู่ นปัจจบุ นั ดงั นี ้• เครื่องดดี ได้แก่ จะเข้ กระจบั ปี่ พณิ เป๊ียะ พณิ น้า้ เต้า• เครื่องสี ได้แก่ ซอสามสาย ซออู้ ซอด้วง• เคร่ืองตไี ม้ ได้แก่ กรับพวง กรับคู่ กรับเสภา ระนาด• เครื่องตโี ลหะ ได้แก่ ฆ้องวง ฆ้องคู่ ฆ้องชยั ฆ้องโหม่ง ฉ่ิง ฉาบ มโหระทกึ• เครื่องตีหนงั ได้แก่ ตะโพน กลองทดั โทน รามะนา• เครื่องเป่า ได้แก่ ป่ีใน แตรงอน แตรสงั ข์ ป่ีกลาง ขลยุ่
วงดนตรีไทยสมยั อยธุ ยา แบ่งได้ 3 ประเภทหลกัวงป่ีพาทย์ ในสมยั นี ้กย็ งั คงเป็นวงป่ีพาทย์เคร่ืองห้า เช่นเดียวกบัในสมยั สโุ ขทยั แตม่ ี ระนาดเพิ่มขนึ ้ ดงั นนั้ วงป่ีพาทย์เครื่องห้า ในสมยั นีป้ ระกอบด้วย เครื่องดนตรี ดงั ตอ่ ไปนี ้คือ- ระนาด- ปี่ใน- ฆ้องวง (ใหญ่)- กลองทดั ตะโพน- ฉ่ิง
มโหรีเครื่อง หกในสมยั นีพ้ ฒั นามาจาก วงมโหรีเคร่ืองสี่ ในสมยั สโุ ขทยั เป็น วงมโหรีเคร่ืองหกเพราะได้เพ่ิม เครื่องดนตรี เข้าไปอกี 2 ชิน้ คือ ขลยุ่ และ รามะนา ทาให้ วงมโหรี ในสมยั นี ้ประกอบด้วย เครื่องดนตรี จานวน 6 ชิน้ คือ- ซอสามสาย - กระจบั ปี่ (แทนพิณ) - ทบั (โทน)- รามะนา - ขลยุ่ - กรับพวง
วงเคร่ืองสาย• นยิ มเลน่ กนั อยา่ งมาก ประกอบไปด้วย ซอ จะเข้ กระจบั ป่ี ขลยุ่
ดนตรีสมยั กรุงรัตนโกสินทร์• บ้านเมืองผ่านพ้นจากภาวะศกึ สงคราม มีการกอ่ สร้างเมืองให้ มน่ั คงเป็นปึกแผน่ เกิดความสงบร่มเย็น โดยทว่ั ไป• ศลิ ปะ วฒั นธรรมของชาติก็ได้รับการฟืน้ ฟทู ะนบุ ารุง และ สง่ เสริมให้เจริญรุ่งเรืองขนึ ้• ด้านดนตรีไทย มีการพฒั นาเปลยี่ นแปลงเจริญขนึ ้ เป็นลาดบั ดงั นี ้
สมยั รัชกาลท่ี 1• ดนตรีไทย ในสมัยนีม้ ีลักษณะและรูปแบบตามสมัยกรุงศรีอยุธยา ท่พี ัฒนาคอื การเพ่มิ กลองทดัอกี 1ลูก ในวงป่ี พาทย์ เสียงสูง (ตวั ผู้) และ เสียงต่า(ตวั เมีย)และเป็ นท่นี ิยมจนกระท่งั ปัจจุบัน
สมยั รัชกาลท่ี 2• ยุคทองของ ดนตรีไทย• พระมหากษัตริย์ ทรงดนตรีไทย• ซอสามสาย ซอคู่พระหตั ถ์ช่ือว่า \"ซอสายฟ้าฟาด\"• พระราชนิพนธ์ เพลงไทย ช่ือ\"บุหลันลอยเล่ือน\"• การพัฒนา วงป่ี พาทย์บรรเลง ประกอบการขับเสภา เป็ นครัง้ แรก• เกดิ กลอง\"สองหน้า\" ดัดแปลงจาก \"เปิ งมาง\" ของมอญ ใช้ตีกากบั จงั หวะแทนเสียงตะโพนในวงป่ี พาทย์ ประกอบการขับเสภา• กลองสองหน้าปัจจุบนั นิยมใช้ในวงป่ี พาทย์ไม้แข็ง
สมัยรัชกาลท่ี 3• วงป่ี พาทย์ได้พัฒนาขนึ้ เป็ นวงป่ี พาทย์ เคร่ืองคู่ เพราะได้มีการประดษิ ฐ์ระนาดท้มุ มาคู่กับระนาดเอก และประดษิ ฐ์ฆ้องวงเล็ก มาคู่กับ ฆ้องวงใหญ่
สมยั รัชกาลท่ี 4• วงป่ี พาทย์เคร่ืองใหญ่ เพ่มิ ระนาดเอกเหลก็และระนาดท้มุ เหล็ก• นิยมการร้องเพลงส่งให้ดนตรีรับ หรือท่เี รียกว่า“การร้ องส่ ง”• การร้องส่งกเ็ ป็ นแนวทางให้มีผู้คดิ แต่งขยายเพลง 2 ชัน้ ของเดมิ ให้เป็ นเพลง 3 ชัน้ และตดั ลง เป็ นชัน้ เดยี ว จนกระท่งั กลายเป็ น เพลงเถาในท่สี ุด (นับว่าเพลงเถาเกิดขึน้ มากมายในสมยั นี)้• การขับเสภาซ่งึ เคยนิยมกันมาก่อนค่อย ๆ หายไป• วงเคร่ืองสาย ก็เกดิ ขึน้ ในสมัยรัชกาลนี้
ป่ี พาทยเ์ คร่ืองใหญ่
สมยั รัชกาลท่ี 5• ปรับปรุงวงป่ี พาทย์ขนึ้ เรียกว่า“วงป่ี พาทย์ดกึ ดาบรรพ์”โดยสมเดจ็ กรมพระยานริศรานุวดั ตวิ งศ์• สาหรับใช้บรรเลงประกอบการแสดง \"ละครดกึ ดาบรรพ์“ละครท่เี พ่งิ ปรับปรุงขนึ้ ในสมัยรัชกาลนี้• หลกั การปรับปรุงของท่านกโ็ ดยการตัดเคร่ืองดนตรีชนิดเสียงเล็ก แหลม หรือดังเกนิ ไปออก คงไว้แต่เคร่ืองดนตรีท่มี ีเสียงท้มุ นุ่มนวล กับเพ่มิ เคร่ืองดนตรีบางอย่างเข้ามาใหม่• เคร่ืองดนตรี ในวงป่ี พาทย์ดกึ ดาบรรพ์ ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ระนาดท้มุ ระนาดทุ้มเหลก็ ขลุ่ย ซออู้ ฆ้องหุ่ย (ฆ้อง 7 ใบ) ตะโพน กลองตะโพน และเคร่ืองกากบั จงั หวะ
ป่ี พาทยด์ ึกดาบรรพ์
สมยั รัชกาลท่ี 6• \"วงป่ี พาทย์มอญ“ นาวงดนตรีของมอญมาผสมกบั วงป่ี พาทย์ของไทย นิยมใช้บรรเลงประโคมในงานศพ มาจนกระท่งั บดั นี้• หลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) นาเคร่ืองดนตรีของชวา หรืออินโดนีเซยี คือ \"อังกะลุง\" มาเผยแพร่ในเมืองไทยเป็ นครัง้ แรก• ดดั แปลง ปรับปรุงขนึ้ ใหม่ให้มีเสียงครบ 7 เสียง (เดมิ มี 5 เสียง) ปรับปรุงวิธีการเล่น โดยถือเขย่าคนละ 2 เสียง• \"วงเคร่ืองสาย ผสม“ นาเคร่ืองดนตรีของต่างชาตเิ ข้ามาบรรเลงผสม ในวงเคร่ืองสายไทย
วงป่ี พาทยม์ อญ
หลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง) วงองั กะลุง
เคร่ืองสายผสม
สมยั รัชกาลท่ี 7ก่อนเปล่ียนแปลงการปกครอง• พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงสนพระทยั ทางด้าน ดนตรีไทย• ดนตรีไทยเจริญเฟ่ื องฟูมาก มีการประกวดประชันกัน• ทรงพระราชนิพนธ์เพลงราตรีประดบั ดาวเถา,โหมโรงคล่ืนกระทบฝ่ัง และเขมรลออองค์เถา
สมยั รัชกาลท่ี 7หลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475• ดนตรีไทยเร่ิมซบเซาลง เป็ นสมยั หวั เลีย้ วหวั ต่อท่ดี นตรีไทยเกือบจะถงึ จุดจบ• รัฐบาลมนี โยบายท่เี รียกว่า \"รัฐนิยม“- ห้ามบรรเลง ดนตรีไทย เพราะเหน็ ว่า ไม่สอดคล้องกับการพฒั นาประเทศ ให้ทดั เทยี มอารยประเทศ-ใครจะจดั ให้มกี ารบรรเลง ดนตรีไทย ต้องขออนุญาต จากทางราชการก่อน-นักดนตรีไทยจะต้องมีบัตรนักดนตรีท่ที างราชการออกให้เม่อื มี การส่ังยกเลกิ \"รัฐนิยม“ ดนตรีไทยกไ็ ม่รุ่งเรืองเท่าแต่ก่อน วัฒนธรรมทางดนตรีของต่างชาติเข้ามามบี ทบาทในชีวติ ประจาวัน ดนตรีท่ไี ด้ยนิ ได้ฟัง และได้เหน็ กันทางวทิ ยุโทรทศั น์ หรือท่ีบรรเลงตามงานต่างๆ โดยมากก็เป็ นดนตรีของต่างชาติ หาใช่ \"เสียงพาทย์ เสียงพณิ \" ดงั แต่ก่อน ถงึ แม้ว่าจะเป็ นท่นี ่ายนิ ดที ่เี ราได้มโี อกาสฟังดนตรีนานาชาตินานาชนิด แต่ถ้าดนตรีไทยถกู ทอดทงิ้ และไม่มีใครรู้จกั คุณค่าก็นับว่าเสียดายท่จี ะต้องสูญเสียส่งิ ท่ดี ีงาม
สมยั รัชกาลท่ี 8• สมยั หลงั การเปลีย่ นแปลงการปกครอง “เป็นระยะท่ีดนตรีไทย เข้าสสู่ ภาวะมืดมน เพราะรัฐบาลไมส่ ง่ เสริมดนตรีไทย และยงั พยายามให้คนไทยหนั ไปเลน่ ดนตรีสากลแบบตะวนั ตก”• เห็นวา่ ดนตรีไทยไม่เหมาะสมกบั ชาตทิ ่ีกาลงั พฒั นาให้ทดั เทียมกบั อารยประเทศ จงึ มีการห้ามโดยเคร่งครัด แตย่ งั อนญุ าตให้บรรเลงในงานพธิ ี หรือในบางประเพณี แตจ่ ะต้องไปขออนญุ าตท่ีกรมศลิ ปากรหรืออาเภอก่อน และต้องมีบตั รนกั ดนตรี• ที่ทางราชการออกให้ บางคนถงึ กบั ขายเครื่องดนตรีอนั วจิ ติ รงดงาม เพราะถงึ เก็บไว้ก็เปลา่ ประโยชน์ เคร่ืองดนตรีอนั งดงามวิจิตร หลายชิน้ ท่ีถกู ขายไปใน รูปแบบของเก่า หรือขายตอ่ ให้ตา่ งประเทศไปอยา่ งน่าเสียดายโชคดีที่ยดุ นี ้ สนั้ มาก มีการเปล่ียนแปลงรัฐบาลกนั บอ่ ยในท่ีสดุ
สมยั รัชกาลท่ี 9
รัชกาลที่ 9• การดนตรีมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นอยา่ งยิ่ง• พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระองค์ทรงโปรดการดนตรีทกุ ประเภท จนเป็นท่ียกยอ่ งสรรเสริญจากชาวโลก พระองค์ยงั ทรงพระราชนิพนธ์เพลงไว้ จานวน 47 เพลง• สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้ทรงโปรดเพลงไทยและดนตรี ไทยเป็นอยา่ งยงิ่ ทรงบรรเลงดนตรีไทยได้ทกุ ชนดิ ทรงใฝ่พระราชหฤทยั อยา่ งจริงจงั ดงั ท่ี เสรี หวงั ในธรรม กลา่ ววา่ “ดนตรีไทยไมส่ นิ ้ แล้ว เพราะพระทลู กระหมอ่ มแก้วเอา ใจใส”่• ดนตรีไทยในปัจจบุ นั ขยายวงกว้างเข้าไปอยใู่ นสถานศกึ ษา โดยบรรจวุ ชิ าดนตรีไว้ใน หลกั สตู รทกุ ระดบั• เกิดวงมหาดรุ ิยางค์
วงมหาดุริยางคไ์ ทย
• ทฤษฎีดนตรีสากล• ขลยุ่ รีคอร์ดเดอร์
วิชาศิลปะ ศ21101,ศ21102 ดนตรีไทย ดนตรีสากล งาน/วัดผล1ประวตั ิความเป็นมา 1 22 33 44 55 66
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: