มโนทัศนท์ างการพยาบาล ทัศนีย์ ตรศิ ายลักษณ์
รายวชิ ากระบวนการพยาบาล รหัสวชิ า 4171202
มโนทัศน์และหลกั การกระบวนการพยาบาล วตั ถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบาย 1.1 ความหมายของกระบวนการพยาบาล 1.2 ความสัมพนั ธ์ของมโนทศั น์พืน้ ฐานทางการพยาบาลกบั กระบวนการพยาบาล 1.3 ความสาคญั ของกระบวนการพยาบาล 1.4 ข้นั ตอนของกระบวนการพยาบาล 1.5 กรอบแนวคดิ ท่ีใช้ในกระบวนการพยาบาล
Florence Nightingale, 1860 “เมอ่ื ไหรก่ ็ตามทผ่ี ปู ้ ่ วยมอี าการหนาว กระสบั กระสา่ ยเพราะไข ้ เจ็บป่ วยหลงั รับประทานอาหาร หรอื มแี ผลกดทบั นัน้ ไมใ่ ช่ สาเหตจุ ากโรคแตเ่ ป็ นเพราะการพยาบาล ” “จะใชค้ าวา่ การพยาบาลเมอื่ ตอ้ งการใหผ้ ปู้ ่ วยสขุ สบายขน้ึ และการพยาบาลใหค้ วามสาคญั กบั การบรหิ ารยานอ้ ย .. ในขณะทใี่ หค้ วามสาคญั กบั สงิ่ แวดลอ้ ม ”
“การพยาบาลทใ่ี หแ้ กผ่ ปู้ ่ วยตอ้ งมเี หตผุ ล รองรบั และอยบู่ นหลกั วชิ าการทส่ี ามารถ ตรวจสอบ วจิ ยั ทดลอง ปฏบิ ตั แิ ละอธบิ ายได้ ดว้ ยหลกั การทางวทิ ยาศาสตร”์ “การพยาบาลเป็ นศลิ ปะของการปฏบิ ตั ิ ทต่ี อ้ งอาศยั ศลิ ปะของการปฏบิ ตั ิ โดยมคี วามเขา้ ใจ เห็นใจ มี ความสมั พนั ธอ์ นั ดตี อ่ ผปู้ ่ วยและญาติ มกี ารสมั ผสั ท่ี นมุ่ นวล การดแู ลทเี่ ออ้ื อาทรและปฏบิ ตั ติ อ่ ผปู้ ่ วยดว้ ย หลกั จรยิ ธรรมทดี่ งี าม เป็ นตน้ ”
ความหมาย การพยาบาล\" หมายความว่า การกระทาต่อมนุษย์เกย่ี วกบั การดูแล และการช่วยเหลือเม่ือเจบ็ ป่ วย การฟื้ นฟูสภาพ การป้องกนั โรค และการส่งเสริมสุขภาพ รวมท้งั การช่วยเหลือแพทย์กระทาในการ รักษาโรค ท้งั นี้ โดยอาศัยหลกั วทิ ยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล (พระราชบญั ญตั ิการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 2540)
กระบวนการพยาบาล เป็นการแกป้ ัญหาตามหลกั วทิ ยาศาสตร์ท่ีมีระบบ เป็นข้นั ตอนและมี ความต่อเนื่อง ทาใหก้ ารนาความรู้ทางทฤษฎีไปสู่การปฏิบตั ิการ พยาบาลที่มีประสิทธิภาพ (Gordon,2007) กระบวนการพยาบาล คือ กระบวนการแกป้ ัญหาที่นามาใชใ้ หเ้ ฉพาะเจาะจงสาหรับศาสตร์สาขา พยาบาล ประยกุ ตใ์ ชไ้ ดใ้ นทุกสถานการณ์ของพยาบาล เป็นกระบวนการ ทางสติปัญญาที่ใหว้ ธิ ีคิดและแนวทางในการปฏิบตั ิการพยาบาลอยา่ งมี ระบบ (สมจิต หนุเจริญกลุ ,2540)
มโนทศั นพ์ น้ื ฐานทางการพยาบาล บคุ คล (person) การ มโนทศั น์ สงิ่ แวดลอ้ ม พยาบาล พนื้ ฐาน (nursing) ทางการ (environ พยาบาล ment) สขุ ภาพ (health) 1.2 ความสัมพนั ธ์ของมโนทศั น์พืน้ ฐานทางการพยาบาลกบั กระบวนการพยาบาล
องคป์ ระกอบของมโนทศั นพ์ น้ื ฐานทางการพยาบาล • ปจั เจกบคุ คล • ทางดา้ นกายภาพ กลมุ่ บคุ คลหรอื ทางดา้ นสงั คมและ ชุมชน ทางดา้ นวฒั นธรรม บคุ คล สง่ิ แวด- ลอ้ ม การ สขุ ภาพ พยาบาล • การพยาบาลแบบ • สขุ ภาพดแี ละ องคร์ วม (กาย ความเจ็บป่ วย จติ ใจ สงั คม และการปรบั ตวั จติ วญิ ญาน) ของบคุ คล
คณุ ลกั ษณะ บคุ คลเป็ นองคร์ วม ของบคุ คล บคุ คลเป็ นระบบเปิด บคุ คลมคี วาม ตอ้ งการ
1. บคุ คลเป็ นองคร์ วม รา่ งกาย “โครงสรา้ งรา่ งกาย” (physical) “อยภู่ ายในแตม่ ี อทิ ธพิ ลตอ่ การ แสดงออก, รา่ งกาย” “เหมอื น/แตกตา่ ง” จติ ใจ/อารมณ์ บคุ คล จติ วญิ ญาณ “ความเชอ่ื และศรัทธา, สงิ่ ที่ (emotion) (spirituality/ มคี วามหมายตอ่ ชวี ติ , มผี ล ตอ่ การดาเนนิ ชวี ติ ” wisdom) “เป็ นเรอื่ งความสมั พันธ,์ “ปัญญา: ความรทู ้ ว่ั รเู ้ ทา่ ทนั วัฒนธรรมในสงั คมใด ๆ มผี ล แยกเหตผุ ลด/ี ชวั่ ประโยชน/์ ตอ่ คา่ นยิ ม และวถิ ดี าเนนิ ชวี ติ ” โทษ นาไปสจู่ ติ ทดี่ งี าม ” สงั คม(social)
2. บคุ คลเป็ นระบบเปิ ด บคุ คลเป็ นระบบเปิ ด“บคุ คลประกอบดว้ ยระบบยอ่ ย ๆ เชน่ ระบบไหลเวยี นเลอื ด ระบบหายใจ ระบบทางเดนิ อาหาร ฯลฯ ..ทกุ ระบบทางานสมั พันธก์ นั มกี ารแลกเปลยี่ น สาร พลงั งาน ขา่ วสารกบั ผอู ้ นื่ ” รา่ งกาย จติ ใจ/ บคุ คล จติ อารมณ์ วญิ ญาน ถา้ ไมถ่ กู รบกวนใหเ้ สยี สมดลุ ระบบกลไก ในรา่ งกายจะเป็ นปกติ สงั คม
3. บคุ คลมคี วามตอ้ งการ Abraham Maslow “ความตอ้ งการของมนุษย์ เป็นแรงจูงใจหรอื ผลกั ดนั ให้ มนุษยแ์ สดงพฤตกิ รรมเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของ ตนเองเป็นลาดบั ขน้ั ” องคป์ ระกอบของมโนทศั นพ์ น้ื ฐานทางการพยาบาล
Maslow’s hierarchy of Needs “ทฤษฎคี วามตอ้ งการตามลาดบั ขน้ั ของมาสโลว”์ ความประจกั ษใ์ นคณุ คา่ แหง่ ตน self -ตระหนักในศักยภาพ ใชศ้ กั ยภาพและเป็ นจรงิ actualiz “คนทวั่ ไปพยายาม แตไ่ มถ่ งึ ตลอดเวลา” “ความรสู ้ กึ ในความสาเร็จ” ation ความตอ้ งการความภาคภมู ใิ จ self ขาด—ดอ้ ยคณุ คา่ ออ่ นแอ esteem Non-assertiveness ดา้ นความรกั และการเป็ นเจา้ ของ love and ขาด—Hopeless, belonging สญู เสยี ความเชอื่ มน่ั ดา้ นความปลอดภยั safety and ขาด—-ขาดความรัก+ปรารถนาดตี อ่ ผอู ้ น่ื security needs Anti-social ดา้ นรา่ งกาย basic physical needs ขาด—-รา่ งกายไมส่ มดลุ ความเจ็บป่ วย ทางดา้ นรา่ งกาย
“ทกุ สงิ่ ทแี่ วดลอ้ มมนุษย์ มผี ลกระทบตอ่ รา่ งกาย จติ ใจ/อารมณ์ สงั คม หรอื จติ วญิ ญาณ” สง่ิ แวดลอ้ มทางภายภาพ (physical environment) สงิ่ แวดลอ้ มทางสงั คม (social environment) สง่ิ แวดลอ้ มทางวฒั นธรรม (cultural environment)
ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล ให้ “บุคคลเป็ นระบบเปิ ด” ความสาคญั ต่อส่ิงแวดล้อม* 2. ส่ิงแวดล้อม บุคคลมกี ารปรับตวั 1. สิ่งแวดล้อม ทางสังคม เข้ากบั สิ่งแวดล้อมหรือ ทางกายภาพ ปรับส่ิงแวดล้อมให้เข้ากบั ตน อยู่ตลอดเวลา เพื่อรักษาดุลยภาพ ความเจบ็ ป่ วย สุขภาพดี (การปรับตวั ล้มเหลว) (ปรับตวั ได้) 3. สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม
“ภาวะสมบรู ณส์ งู สดุ ของรา่ งกาย จติ ใจและสงั คมและไม่ ปรากฏความพกิ ารหรอื บกพรอ่ งทางกาย” (WHO, 2006) “สภาวะสงู สดุ ของความสามารถสว่ นบคุ คลในการทาตาม บทบาทหนา้ ทข่ี องตนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ” (Parsons)
Env. Env. รา่ งกาย จติ ใจ “ภาวะของมนุษย์ จติ ความ ทส่ี มบรู ณ์ทงั้ ทาง วญิ ญาน สมดลุ กาย ทางจติ ทาง ปัญญาและทาง สงั คม สงั คม เชอ่ื มโยง Env. กนั เป็ นองคร์ วม อยา่ งสมดลุ ” “ไมแ่ ยกออกเป็ นสว่ น ๆ ” Env.
“สภาพรา่ งกายดี อวยั วะปกต/ิ สมบรู ณ์ สขุ ภาพ Env. สมสว่ น แข็งแรง ทางานและนอนหลบั ทางกาย ไดเ้ ป็ นปกติ ” Env. สขุ ภาพ สุขภาพ สขุ ภาพ “สภาพจติ ใจทดี่ ี ควบคมุ ทางจติ ทางจติ อารมณ์และปรับตวั ไดอ้ ยา่ งมี “การรแู ้ ละเขา้ ถงึ ความจรงิ วญิ ญาณ สขุ ภาพ ความสขุ มี EQ มอี ารมณข์ ัน จนลดละความเหน็ แกต่ วั ทาง ตน่ื ตัว มองโลกในแงด่ ี เป็ นจติ ทเ่ี ห็นแกผ่ อู ้ นื่ สงั คม ตดั สนิ ใจไดเ้ ร็ว/ไมพ่ ลาด มศี รัทธา มปี ัญญาเขา้ ถงึ Env. เชอ่ื ม่นั ในตนเองอยา่ งมี ความดสี งู สดุ ” เหตผุ ลและเขา้ ใจผอู ้ น่ื “ปรับตวั และ ดารงชวี ติ ในสงั คมได ้ เป็ นปกติ มคี วามสขุ ”
ความบกพรอ่ งหรอื โรคทางจติ วญิ ญาณ “ขาดความสมบรู ณ์ในตวั เองและตอ้ งการการเตมิ เต็มอยเู่ สมอ จงึ มกั แสดงออกใน 3 ทางคอื .... ..ตดิ สงิ่ เสพตดิ .. ..ฟ่ มุ เฟือย .. ..แสดงความรนุ แรง.. ” (ประเวศ วะสี อา้ งในสปรส., 2545) “ตวั อยา่ งอนื่ ๆ เชน่ ความอจิ ฉารษิ ยา ความเกลยี ด ความ กลวั ความโกรธ เป็ นตน้ ” (พทุ ธทาสภกิ ข,ุ 2541)
ความตอ่ เนอ่ื งของภาวะสขุ ภาพกบั ความเจ็บป่ วย (health-illness continuum) “สขุ ภาพไมใ่ ชภ่ าวะสมั บรู ณ์(absolute state) หรอื เป็ น ภาวะทคี่ งทอี่ ยู่ ณ จดุ ใดจดุ หนงึ่ เสมอไป แต.่ .” สขุ ภาพดสี งู สดุ สขุ ภาพดี สขุ ภาพปกติ เจ็บป่ วย ตาย “พลวตั ร(Dynamic)” “เปลย่ี นแปลงขน้ึ กบั ความสามารถในการปรับตวั ”
“ภาวะทบ่ี คุ คลมคี วามสมดลุ ของรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม และจติ วญิ ญาณ สามารถปรับตวั เขา้ กบั สง่ิ แวดลอ้ มและ ดารงชวี ติ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ”
“กระบวนการเปลยี่ นแปลงของเนอ้ื เยอื่ หรอื อวยั วะใน การทาหนา้ ทข่ี องรา่ งกายซง่ึ มผี ลทาใหศ้ กั ยภาพของ บคุ คลลดลงและอาจทาใหช้ วี ติ ของมนุษยส์ นั้ ลง ” (Chitty, 2007; Leddy & Pepper, 1989)
“ภาวะทบี่ คุ คลเสยี สมดลุ เนอื่ งจากไมส่ ามารถปรับตวั ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ได ้ ซงึ่ อาจเกยี่ วขอ้ งหรอื ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การเกดิ โรคกไ็ ด”้ หรอื “ประสบการณห์ รอื ความรสู ้ กึ สว่ นบคุ คลวา่ ตนเองสขุ ภาพไมแ่ ข็งแรง สมบรู ณห์ รอื เสยี สมดลุ ”
ความเจบ็ ป่วย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ความเจบ็ ป่วยเฉียบพลนั ความเจบ็ ป่วยเร้อื รงั (acute illness) (chronic illness) -เกดิ รวดเร็ว ทนั ที ทนั ใด อาจ -นานกวา่ 3 เดอื น ตอ้ งรักษา หาย หรอื ตายได ้ ตอ่ เนอ่ื ง อาจตลอดชวี ติ
บคุ คลมรี ปู แบบการ อาจไมส่ มั พันธก์ บั ขน้ึ อยกู่ บั ความอดทน ตอบสนองตอ่ การ อาการและระยะเวลา และประสบการณ์ เจ็บป่ วยเฉพาะของตน ของโรค ปฏกิ รยิ าโดยทั่วไป วติ กกงั วล กลวั รสู ้ กึ ถงึ มองโลกในแงร่ า้ ย ไดแ้ ก่ การพงึ่ พาบคุ คล สง่ิ คกุ คามตอ่ ชวี ติ กา้ วรา้ ว อารมณ์ ซมึ เศรา้ ทอ้ ถอย แปรปรวน ฯลฯ อน่ื ละอายทไี่ ม่ ออ่ นไหว สามารถทาหนา้ ท่ี ตามปกติ
มโนทศั นพ์ น้ื ฐานทางการพยาบาล บคุ คล (person) การ มโนทศั น์ สง่ิ แวดลอ้ ม พยาบาล พน้ื ฐาน (nursing) ทางการ (environ พยาบาล ment) สขุ ภาพ (health)
กระบวนการพยาบาล กระบวนการพยาบาล เริ่มใชแ้ ละวางแนวคิด ในปี ค.ศ. 1967 – 1987 โดย ยรู าและวอลซ์ (Yura and Walsh) เป็นเคร่ืองมือและวิธีการที่สาคญั ของวชิ าชีพ การพยาบาลในการรวบรวมขอ้ มูลของผรู้ ับบริการ เพอ่ื นาไปสู่การวนิ ิจฉยั การ พยาบาล การวางแผนการพยาบาล การปฏิบตั ิการพยาบาล และการประเมินผล การพยาบาล ซ่ึงเป็นระบบการแกป้ ัญหาที่มีข้นั ตอน โดยแต่ละข้นั ตอนจะมี ความสมั พนั ธ์และพ่งึ พาอาศยั ซ่ึงกนั และกนั เพอ่ื นาไปสู่การตอบสนองความ ตอ้ งการของผรู้ ับบริการ (http://thainurseclub.blogspot.com/2013/10/nursing-process.html)
1.3 ความสาคญั ของกระบวนการพยาบาล • แสดงเอกลกั ษณ์ เอกสิทธ์ิ ศาสตร์แห่งวชิ าชีพ • เป็นแกนในการปฏิบตั ิการพยาบาล ทาใหเ้ ป็นระบบ มีข้นั ตอน ต่อเน่ือง • ช่วยใหพ้ ยาบาลไดใ้ ชท้ กั ษะพ้ืนฐานต่างๆและส่งเสริมทกั ษะการคิดอยา่ งมี วจิ ารณญาณ • ทาใหม้ ีการบนั ทึกขอ้ มูล ช่วยในการสื่อสารของทีมพยาบาลท่ีมี ประสิทธิภาพ ควบคุมคุณภาพการพยาบาลได้ • สร้างมาตรฐานการพยาบาลแก่ผปู้ ่ วยแต่ละประเภท พฒั นามาตรฐาน วชิ าชีพได้
คุณลกั ษณะของกระบวนการพยาบาล มี 6 ประการคือ 1. มเี ป้าหมาย (Purposeful) กระบวนการพยาบาลมีเป้าหมายเป็นตวั ช้ีนาการปฏิบตั ิ ผใู้ ชก้ ระบวนการพยาบาลจะตอ้ งกาหนดวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมของผรู้ ับบริการ ใหช้ ดั เจน 2. เป็ นระบบ (System) กระบวนการพยาบาลมีวธิ ีการและข้นั ตอนที่ชดั เจนในการ จดั การเพือ่ ใหบ้ รรลุเป้าหมาย และหลีกเล่ียงปัญหาท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การดูแลท่ีบอกต่อ กนั มาหรือการดูแลเฉพาะสถาบนั
3. เป็ นพลวตั ร (Dynamic) กระบวนการพยาบาลไม่หยดุ น่ิงอยกู่ บั ท่ี มีการปรับเปล่ียน ตลอดเวลา และมีความต่อเนื่อง เหมาะสมกบั ความตอ้ งการหรือปัญหาของ ผรู้ ับบริการ กล่าวคือ กระบวนการพยาบาลไม่หยดุ นิ่งอยทู่ ่ีการวางแผนเท่าน้นั แต่ ตอ้ งมีการปฏิบตั ิการพยาบาลและการประเมินผลการพยาบาลเม่ือประเมินผลแลว้ ถา้ พบวา่ ยงั มีปัญหาทางการพยาบาลอยู่ กต็ อ้ งเริ่มตน้ กระบวนการพยาบาลใหม่ดว้ ยการ ประเมินภาวะสุขภาพใหม่ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาลใหม่และวางแผนการพยาบาล ใหม่ เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับบริการไดร้ ับการแกป้ ัญหาน้นั ๆ ใหห้ มดไป คือมีปฏิสมั พนั ธ์ ระหวา่ งพยาบาลและผรู้ ับบริการตลอดเวลา
4. มปี ฏิสัมพนั ธ์ (Interactive) ตลอดกระบวนการพยาบาล พยาบาลตอ้ งมี ปฏิสมั พนั ธ์กบั ผรู้ ับบริการ ครอบครัว ชุมชน และบุคลากรอ่ืน ๆ ในทีมสุขภาพ เพื่อใหเ้ กิดการดูแลผรู้ ับบริการเฉพาะบุคคล 5. มีความยืดหย่นุ (Flexible) กระบวนการพยาบาลสามารถนา ไปปรับใชไ้ ดท้ ุก สถานการณ์ท้งั รายบุคคล รายกลุ่ม หรือ ชุมชน ปฏิบตั ิที่ละข้นั ตอนหรือปฏิบตั ิ พร้อม ๆ กนั ไปในหลายข้นั ตอนกไ็ ด้ 6. อยู่บนพืน้ ฐานของทฤษฏี (Theoretically base) กระบวนการพยาบาลไดร้ ับ การออกแบบจากพ้นื ฐานความรู้ท่ีกวา้ งขวางท้งั ทางวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และประยกุ ตใ์ ชไ้ ดก้ บั ทุก ๆ กรอบแนวคิดทฤษฏีทางการพยาบาล
1.4 ข้นั ตอนของกระบวนการพยาบาล 5 ข้นั ตอน 1.การประเมนิ ภาวะสุขภาพ (Health Assessment) 2. การวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing Diagnosis) 3. วางแผนการพยาบาล (Planning) 4. การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล (Implementation) 5. การประเมนิ ผลการพยาบาล (Evaluation )
(พรศิริ พนั ธสี,2560) (อารี ชีวเกษมสุข,2551)
1.5 กรอบแนวคดิ ที่ใช้ในกระบวนการพยาบาล https://www.google.com/search?q=กรอบแนวคิดที่ใชใ้ นกระบวนการพยาบาล
“ความรเู ้ ฉพาะทางการพยาบาลทอ่ี าศยั ความรจู ้ ากทฤษฎพี น้ื ฐานทางดา้ น วทิ ยาศาสตร์ พฤตกิ รรมศาสตร์ จติ วทิ ยา และทฤษฎอี น่ื ๆ เพอื่ อธบิ าย ความสมั พนั ธข์ องมโนทศั นพ์ น้ื ฐาน ทง้ั 4 ประการและนาไปใชใ้ นการ แกป้ ญั หาสขุ ภาพอนามยั ของบคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน”
1.ทฤษฎสี ง่ิ แวดลอ้ มของไนตงิ เกล (1860) • การพยาบาลเป็ นการชว่ ยเหลอื ใหบ้ คุ คลสามารถตอ่ สกู ้ บั โรคและ ความเจ็บป่ วย โดยอาศยั การจัดสงิ่ แวดลอ้ มทเี่ หมาะสม • “การพยาบาลคอื การจดั สง่ิ แวดลอ้ มทด่ี ที สี่ ดุ ใหแ้ กผ่ ปู้ ่ วย เพอื่ ใหธ้ รรมชาตเิ ยยี วยารกั ษาผปู้ ่ วยไดอ้ ยา่ งเต็มท”่ี
ทฤษฎกี ารดแู ลของโอเร็ม (Orem, 1995) • การพยาบาลเป็ นการชว่ ยใหบ้ คุ คลสามารถดแู ลตนเองได ้ ทัง้ การ ดแู ลตนเองโดยท่วั ไป การดแู ลตนเองตามพัฒนาการและการดแู ล ตนเองตามภาวะเบย่ี งเบนทางสขุ ภาพ • บทบาทพยาบาลคอื การตดั สนิ ใจวา่ ควรใหก้ ารชว่ ยเหลอื ตามความ เหมาะสมของสถานการณ์
ทฤษฎกี ารบรรลเุ ป้ าหมายของคงิ (King, 1981) • เป้าหมายของการพยาบาลคอื การชว่ ยเหลอื บคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลใหด้ ารงไวห้ รอื ฟื้นฟซู งึ่ สขุ ภาพทดี่ ี • ตอ้ งอาศยั การมปี ฏสิ มั พนั ธโ์ ดยการตงั้ เป้ าหมายรว่ มกนั ระหวา่ งพยาบาลและผปู้ ่ วย
ทฤษฎกี ารปรบั ตวั ของนวิ แมน (1995) • การพยาบาลเป็ นการป้ องกนั มใิ หบ้ คุ คลเกดิ ภาวะเครยี ด (ใน ตวั บคุ คล ระหวา่ งบคุ คล และภายนอกบคุ คล) ตลอดจน ชว่ ย ใหผ้ ปู้ ่ วยปรบั ตวั ตอ่ ความเครยี ดไดเ้ พอื่ รกั ษาระบบความสมดลุ
ทฤษฎกี ารปรบั ตวั ของรอย (Roy,1991) • การพยาบาลคอื การชว่ ยใหบ้ คุ คลปรบั ตวั ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปเพราะบคุ คลเป็ นระบบชวี -จติ -สงั คม (จงึ ตอ้ งมกี ารปรับตวั ทงั้ ดา้ นสรรี ะ ดา้ นอตั มโนทศั น์ ดา้ นบทบาท หนา้ ท่ี และดา้ นการพงึ่ พาซงึ่ กนั และกนั )
ทฤษฎกี ารดแู ลทเี่ ออื้ อาทรของวตั สนั (1988) • เป้าหมายของการพยาบาลเป็ นการฟื้ นคนื สภาพ ความผสมผสานสอดคลอ้ งภายในบคุ คล • การพยาบาลเป็ นการพยายามปกป้อง ปรับปรงุ หรอื รักษาความเป็ นมนุษยโ์ ดยชว่ ยบคุ คลคน้ หา ความหมายของความเจ็บป่ วย ความเจ็บปวด ทกุ ข์ ทรมาน และชว่ ยใหค้ น้ หาความรใู้ นตวั เอง พรอ้ ม ทงั้ ควบคมุ และเยยี วยาตนเอง
ทฤษฎกี ารดแู ลขา้ มวฒั นธรรม ของไลนนิ เจอร์ (Leininger, 1991) • การพยาบาลเป็ นการใหก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื บคุ คลที่ มคี วามแตกตา่ งกนั ทงั้ กาย จติ และวฒั นธรรม พยาบาลจงึ ตอ้ งประเมนิ วัฒนธรรม ความเชอื่ และวถิ กี าร ดาเนนิ ชวี ติ เพอ่ื ใหก้ ารพยาบาลไดต้ รงกบั ปัญหาและ ความตอ้ งการของผปู ้ ่ วย “Paplau, Henderson, Roger, Orando, Johnson, Levin, etc. ”
การพยาบาลแบบองคร์ วม (Holistic care) • บรรเทาความ การ การ • เขา้ ใจ เจ็บป่ วย/ พยาบาล พยาบาล ประคบั ประคอง ความทกุ ข์ ทางดา้ น อารมณ์ ชว่ ย ทรมาน ทาง อารมณ์ ใหป้ รบั ตวั รา่ งกาย • ใหค้ วามรกั เขา้ ใจ • ใหค้ าแนะนา การ เออื้ อาทร กาลงั ใจ สขุ วทิ ยา, การ พยาบาล ชว่ ยใหป้ ฏบิ ตั กิ จิ พยาบาล ทางดา้ น ศาสนา.... • พฤตกิ รรมการ ดา้ นสงั คม ดแู ลสขุ ภาพ จติ วญิ ญาน • ชว่ ยเหลอื ประสานความ เขา้ ใจระหวา่ ง ฝ่ ายตา่ ง ๆ
วนิ ิจฉัยทางการพยาบาลที่เป็ นสากล - NANDA (North American Nursing Diagnosis Association)โดย สมาคม วนิ ิจฉัยการพยาบาลของอเมริกาเหนือแบ่งเป็ น 9 แบบแผน - NIC (The Nursing Intervention Classification) โดย กล่มุ พยาบาลจาก มหาวทิ ยาลยั ไอโอวา จดั กล่มุ การบาบัดทางการพยาบาลเป็ น 6 หมวด - NOC (Nursing Outcome Classification) โดย กล่มุ พยาบาลจาก มหาวทิ ยาลยั ไอโอวา จดั กล่มุ ตามผลลพั ธ์ทางการพยาบาลเป็ น 7 หมวด
วนิ ิจฉัยทางการพยาบาลทเ่ี ป็ นสากล - ICNP (International Classification of Nursing Practice) โดยสภาการพยาบาล ระหว่างประเทศ จดั กลุ่มข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล กจิ กรรมการพยาบาล และ ผลลพั ธ์ทางการพยาบาล เพ่ืออธิบายปรากฏการณ์พยาบาล - The Omaha System ประกอบดวยการจาแนกปัญหา กจิ กรรมการพยาบาลและ ผลลพั ธ์ทางการพยาบาล - แบบแผนสุขภาพ 11 แบบแผนของกอร์ดอน
Search
Read the Text Version
- 1 - 47
Pages: