Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore best practice ด้วง 63 ล่าสุด E-book

best practice ด้วง 63 ล่าสุด E-book

Published by บุญเรือน ด้ามทอง, 2021-04-28 07:08:29

Description: best practice ด้วง 63 ล่าสุด E-book

Search

Read the Text Version

ส่วนท่ี ๑ สภาพทั่วไป และขอ้ มลู พ้ืนฐาน ๑. สภาพทางกายภาพของชุมชน ประวตั ิตาบลคลองแห ในสมยั ทีก่ ่อสร้างพระบรมธาตุ ท่ีนครศรธี รรมราช เมื่อก่อสร้างเสร็จกจ็ ะมีพิธบี รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ และมกี ารเฉลมิ ฉลอง ไดม้ กี ารส่งขา่ วไปยังหัวเมืองต่างๆ เช่นกลนั ตัน ไทรบรุ ี ตรงั กานูเปอริสกไ็ ดจ้ ัดขบวน มารว่ มพิธีมหาบุญ บางกไ็ ปทางน้าใชเ้ รอื ทางบกใช้มา้ ใช้เกวยี นเดนิ เท้าฯลฯ หัวเมอื งกลนั ตนั เดินทางทางเรอื พรอ้ มดว้ ยแกว้ แหวนเงินทองของมคี า่ ทผี่ ู้มีจติ ศรทั ธารว่ มบริจาคเพ่ือนา้ ไปบรรจุในเจดีย์เพือ่ ถวายเป็นพุทธ บชู า สิ่งของมคี ่าได้บรรจุไว้ในไหบา้ ง หีบบา้ งที่มคี า่ มากบรรจุในนกคมุ่ เงนิ นกคุ่มทอง มีความเชื่อว่านกค่มุ เป็น บอ่ เกิดแห่งโชคลาภและเพื่อพรางตาจากโจรผูร้ า้ ยเพราะดคู ล้ายเครอ่ื งประดับสวยงามบนเรอื ตลอดทางไดต้ ี ฆ้องร้องเป่าให้ผู้คนได้รว่ มโมทนาบุญ เมอ่ื ลอ่ งเรือมาถึงทางแยกส้าคญั ผิดคิดว่าเปน็ เสน้ ทางทีใ่ กล้ทสี่ ุด พอล่องเรือมายิ่งไกลคลองย่ิงแคบจึงรู้ ว่าหลงทิศผิดทาง จึงหาท่ีหยุดพักค้างคืน มาเจอพืนที่เหมาะเป็นเกาะแก่งอยู่กลาง มีแม่น้าสามสาย สายหนึง่ มาจากทิศใต้สายหน่ึงมาจากทิศตะวันตก มาบรรจบกันเป็นสายน้าไปทางทิศตะวันออก รุ่งเช้าเตรียมเดินทาง ต่อ บังเอิญมีขบวนม้าผ่านมาและทราบว่าเขากลับจากนครศรีฯลฯ พิธีเสร็จสินแล้ว ไม่สามารถน้าทรัพย์ สมบัติบรรจุในองค์พระธาตุได้อีก สร้างความเสียอกเสียใจให้กับนักบุญได้มีการประชุมกันเร่ืองทรัพย์สมบัติว่า จะท้าอย่างไร บ้างก็ให้คืนเจ้าของ บ้างก็ว่าแบ่งกัน เสียงส่วนใหญ่จะไม่น้าทรัพย์สนิ กลับ จึงสมมติที่ตรงนีเปน็ ประหนึ่งเจดียแ์ ละฝังส่ิงของมีค่าทุกอย่างไวเ้ พื่อถวายเป็นพุทธบูชา ในไหเต็มไปด้วยของมีค่า นกคุ่มเงินนกคุ่ม ทองบรรจุแก้วแหวนเงินทอง มีการบูชาพระรัตนตรัย สวดสรรเสริญพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณเพื่อระลึกถึง คุณของพระพุทธเจ้าหลังจากนันมีการชุมนุมเทวดาเพื่อเชิญเทพเทวามาปกปักรักษาสิ่งของมีค่าอย่าให้มีใคร น้าไปใช้ส่วนตวั เพราะทุกอย่างถวายเปน็ ของสงฆ์แลว้ คุณยายคนหนึ่งหยิบผ้าม้วนทูนขึนมาอธิษฐานและจิตเพ่งไปท่ีผ้าม้วนทูนประหน่ึงจะให้ผ้าม้วนทูนปิด ปากไหเพ่ือปอ้ งกนั ส่งิ ของท่ีอยใู่ นไห มีชายคนหนึ่งน้าข้าวสารมาเสกแล้วหวา่ นไปรอบๆ หลมุ มีผูค้ งแกเ่ รยี นคน หนึ่งเสกน้ามนต์แล้วประพรมไปรอบๆ หลังจากฝังสิ่งของทังหมดก็กรวดน้าอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ร่วมปกปัก รักษาทรัพย์ เช่นทวดขุนพิทักษ์ ณ เชียงใหม่ ทวดชี ทวดด้า ทวดโจรหลังจากนันได้น้าฆ้องท่ีชีเป็นสัญญาณ บอกบุญ มาอธิษฐานเป็นพุทธบูชาแล้วก็จมฆ้องลงในแม่น้านัน ชาวบ้านจึงเรียกช่ือตรงนันว่า “คลองฆ้องแห่” บริเวณท่ีฝังนกคุ่มเงิน นกคุ่มทอง ด้านบนมีสุมทุมพุ่มไม้ปกคลุมหนาแน่น คล้ายนกคุ่มชาวบ้านจึงว่า “โคก นกคุ่ม”ต่อมาข่าวการฝังทรัพย์สมบัติ ได้ทราบไปถึงฝร่ังนักล่าสมบัติ โดยใช้ลายแทงในการสืบค้น เมื่อมาถึง บริเวณท่ีบ่งบอกก็ลงมือขุดพอขุดได้พักหนึ่งก็เจอมดคันตัวใหญ่ออกมาเต็มไปหมดไม่สามารถขุดต่อได้ จึงให้ หมอมาท้าพิธี มดท่เี หน็ กลับกลายเป็นข้าวสาร เม่อื ขดุ ตอ่ ก็เจองูมว้ นตวั อยู่ที่ปากไห เมื่อหมอมาแกง้ กู ลายเป็น ผ้าม้วนทูน ชาวบ้านเรียกผ้าม้วนทูนยาย หลังจากนันท้าการขุดต่ออีกปรากฏว่าฟ้ามืด ลมกรรโชคแรงเกิดฝน ห่าแก้วตกลงใส่พวกฝรั่งท้าให้เกิดการเจ็บปวดน้าฝนได้ชะเอาดินท่ีขุดขึนมาไหลกลับไปในหลุมตามเดิม หมอ พยายามแก้ฝนห่าแล้วแต่ไม่สา้ เรจ็ จึงล้มเลิกการขุดและกลับไป ต่อมา พ.ศ. ๒๒๖๐ มีการสร้างวัดบริเวณใกล้กับสถานท่ีฝังทรัพย์สมบัติ คือบริเวณแม่น้าท่ีมาจากทิศ ใต้ (คลองเตย) มาประจบกับแม่น้าท่ีมาจากทิศตะวันตก (คลองลาน) ไปทิศตะวันออก (คลองแห)หลังจากท่ี ชาวบ้านอาศัยอยู่กันเป็นจ้านวนมาก ทางอ้าเภอให้มีการส้ารวจเพ่ือให้ตังช่ือหมู่บ้าน โดยผู้ท่ีมาส้ารวจมาจาก เมืองกรุงพูดภาษากลาง เมื่อสอบถามชาวบ้านๆ พูดส้าเนียงปักใต้ว่า “คลองฆ้องแห่”จึงเขียนตามค้าพูดว่า การปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๑

คลองฆ้องแห”นานวันเข้าคนใต้พูดเร็ว ท้าให้เสียงคลองกับฆ้อง กล้ากัน เมื่อพูดเร็วจะได้ยินว่า “คลองแห” ตอ่ มามีการตงั ชอ่ื วา่ หม่บู า้ น คลองแห มาจนปัจจบุ นั เขตการปกครอง “พระราชกฤษฎีกาจัดตังเทศบาลต้าบลคลองแห อ้าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ. ๒๕๕๖” เมื่อ วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๖ รวมเนือที่ทังหมด ๒๔.๕๐ ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองต้าบลคลองแหทัง ตา้ บล จ้านวน ๑๑หมู่บ้าน (๓๕ ชุมชน) ท่ีต้ังและอาณาเขต ทศิ เหนอื ติดต่อกับเขตตา้ บลคเู ต่า อ้าเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา ทิศใต้ ติดตอ่ กับเขตตา้ บลหาดใหญ่ และตา้ บลคอหงส์ อา้ เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตตา้ บลน้าน้อย อ้าเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกับเขตอ้าเภอบางกล่้า จงั หวดั สงขลา เน้ือท่ี มเี นอื ทโ่ี ดยประมาณ ๒๔.๕๐ ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ ๑๕,๓๑๒ไร่ ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน จานวน ตาราง แสดงข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน และสาธารณปู โภค ๘๘ สาย ๒๓ สาย ประเภท ๑๑๐ สาย ๑. ถนนคอนกรีต ๑๔ สาย ๒. ถนนลาดยาง ๓. ถนนลกู รงั หน้า ๒ ๔. ห้วย/หนอง/คลอง/บึง ๔.๑ คลองล้าห้วย ๔.๒ คลองลาน ๔.๓ คลองดว้ น การปฏิบัติทเี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

๔.๔ คลองเตย ๔.๕ คลองแห ๔.๖ คลองอูต่ ะเภา ๔.๗ หนองหาร ๔.๘ หนองทราย ๔.๙ หนองยไี ร ๔.๑๐ หนองโอน ๔.๑๑ หนองแกน ๔.๑๒ หนองยงู ๔.๑๓ หนองมูล ๔.๑๔ หนองโพรง ทม่ี า : กองช่าง เทศบาลเมืองคลองแห (เมษายน ๒๕๕๖) ๒. สภาพทางสังคม – ประชากร หม่ทู ่ี ๒ บ้านหนองบัว หมทู่ ่ี ๔ บ้านคลองเตย ด้านสงั คม หมู่ท่ี ๖ บ้านหนองนายขุ้ย จานวนหมู่บา้ นและชุมชน มีท้งั หมด ๑๑หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี ๘ บา้ นท่าชา้ ง หมูท่ ี่ ๑๐ บา้ นหนองทราย หมู่ที่ ๑ บา้ นทา่ ไทร หมทู่ ี่ ๓ บา้ นคลองแห หมทู่ ่ี ๕ บ้านปา่ กนั หมทู่ ่ี ๗ บา้ นทุ่งปาบ หมทู่ ี่ ๙ บ้านท่งุ น้า หมทู่ ี่ ๑๑ บ้านเกาะหมี ตาราง แสดงขอ้ มูลทั่วไปของชมุ ชนในเขตเทศบาลเมอื งคลองแห ท่ี ชมุ ชน ประธานชุมชน พืน้ ท่ี จานวนประชากร จานวน (ตารางกิโลเมตร) (คน) ครวั เรอื น ๑,๗๖๐ ๑ ท่าไทร ร.ต.ต.สวง ทะสะระ ๐.๙๒๒ ๑,๐๗๘ ๘๔๔ ๑,๔๘๗ ๔๘๕ ๒ สะพานดา้ นายใหหยดั หมะหวเี อ็น ๐.๑๓๖ ๔๖๐ ๖๔๕ ๑,๑๔๕ ๑๙๔ ๓ สา้ ราญสุข นางอมั พร ชอบงาม ๐.๒๙๐ ๑๐๗ ๓๓๗ ๕๖๖ ๓๔ ๔ สัจจกุล นายเกษม โต๊ะหมาน ๐.๑๑๐ ๘๒๘ ๒๐๔ ๑,๗๑๐ ๑๖๑ ๕ คลองลาน นายอรรถสทิ ธ์ิ ดา้ ชมุ ๐.๒๒๓ ๕๕๙ ๗๙๑ ๒๖๖ ๖ มสุ ลมิ บ้านหนองบวั นายสะมะแอ หมัดอาดมั ๐.๑๐๙ ๗ หนองบวั นายประจวบ บุรีเรอื ง ๑.๓๗๔ ๘ เมอื งใหม่ ๖นรนิ ทรธ์ ร นายวชิ ยั ศริ ริ ักษ์ ๐.๑๕๙ ๙ บ้านคลองแห นายสวัสดิ์ ชา้ นาญศิลป์ ๑.๒๘๒ ๑๐ อมั พวัน นายมนญู เลก็ สุทธิ์ ๐.๗๔๑ การปฏิบตั ิทเ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓

๑๑ บางมวง นายสมาน หมัดหมัน ๐.๐๖๔ ๔๓๑ ๒๕๐ ๑๒ วัดคลองแห นายยุทธศกั ด์ิ ดวงสุวรรณ ๐.๗๘๖ ๗๗๖ ๙๒๖ ๑๓ หลงั บกิ๊ ซี นายนติ นิ ยั ไชยภมู ิ ๐.๔๕๔ ๑,๑๗๖ ๘๘๐ ๑๔ สขุ โขทยั นายวรพนั ธ์ ยอ่ งลนั่ ๐.๐๖๘ ๔๓๖ ๓๕๓ ๑๕ เพลนิ จติ -เมืองใหม่ ๕ นายประทีป ทบั ทอง ๐.๑๔๘ ๗๖๕ ๔๑๕ ๑๖ เมืองใหม่ ร.ต.ต.โกวทิ วลิ าการ ๐.๔๔๑ ๑,๑๐๕ ๗๘๐ ๑๗ คลองเปล นางโสภา สังขาชาติ ๐.๔๔๓ ๓๙๔ ๑๕๔ ๑๘ ป่ากัน นายสมคดิ อรนพ ๑.๖๙๖ ๑,๖๒๑ ๖๔๖ ๑๙ หนองนายขุ้ย นายส้าราญ บุญรัตน์ ๒.๔๔๕ ๑,๔๖๒ ๕๑๐ ๒๐ ท่งุ ปาบ นางอ้ามร ศรแก้ว ๑.๑๓๑ ๓๒๕ ๑๘๐ ๒๑ ทา่ ชา้ ง นางอารีนา บิลโตะเตะ ๐.๙๒๗ ๕๑๑ ๑๔๕ ๒๒ ทงุ่ น้า นายชานนท์ เหมมา ทวีโสะ๊ ๐.๖๒๑ ๖๙๖ ๒๓ หนองทราย นายเลาะ โหดหมาน บิลกอ่ เดม็ ๑.๘๒๐ ๖๙๐ ๒๔ คลองควาย นายเจะดา่ โอะ๊ บิลแหละ ๖๓๒ ๒๐๘ ๒๕ บ้านเก่า ร.ต.อทิ ธพิ ล ขนุ รงค์ ๑.๓๒๐ ๖๓๘ ๑๘๒ ๒๖ มัสยดิ เกาะหมี นายนพดล บริรกั ษ์ ๑.๓๙๙ ๕๘๐ ๑๖๘ ๒๗ เกาะหมี นายสะการิยา ผดงุ เดช ๑.๐๔๔ ๑,๑๒๖ ๓๓๗ ๒๘ ป่ายาง นายสุระพงศ์ ลคั นทินพร ๑.๐๑๐ ๒๘๖ ๘๑ ๒๙ แกว้ สวา่ ง ร.ต.ต.ผดุ อนิ ทมะโน ๐.๑๒๖ ๑,๐๕๐ ๔๙๑ ๓๐ ปรดี ิ์เปรม-ศิริวรรณ นายพงษศ์ ักดิ์ หมุยจินดา ๐.๑๙๔ ๓๓๙ ๑๓๕ ๓๑ อนสุ รณ์อาจารย์ทอง นายมนัส ๐.๖๐๙ ๑,๒๐๙ ๖๓๐ ๓๒ ทงุ่ ทอง นางอุดมรตั น์ ๐.๖๕๔ ๑,๑๔๒ ๖๔๒ ๐.๓๖๒ จานวนประชากร จานวน ท่ี ชมุ ชน ประธานชุมชน พน้ื ท่ี (คน) ครวั เรอื น ๑,๓๖๑ ๓๓ ประชาสรรค์ นายเมธา มิ่งคา้ เลศิ (ตารางกโิ ลเมตร) ๖๒๒ ๘๘๗ ๐.๓๘๕ ๙๕๑ ๑๘๗ ๓๔ ทรายทอง นายสุพัฒน์ จนั ทมณี ๐.๖๙๘ ๑,๔๙๔ ๑.๓๐๙ ๓๕ เอืออาทร นางชอ้อน ดษิ โร ที่มา : กองสวัสดิการสงั คม เทศบาลเมอื งคลองแห (พฤษภาคม ๒๕๕๖) จานวนประชากร จ้านวนหลังคาเรือนในเขตพืนทีร่ บั ผดิ ชอบ ๑๔,๙๐๐ คน จ้านวนประชากรทงั หมดในพนื ทต่ี ามฐานทะเบยี นราษฎร ๓๒,๐๔๐ คน ตาราง แสดงจานวนประชากรของเทศบาลเมืองคลองแห อายุ (ป)ี เพศ รวม ๔๗๑ ชาย (คน) หญิง (คน) ๒๒๘ หน้า ๔ น้อยกว่า ๑ ปี ๒๔๓ การปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

๑-๖ ๑,๔๖๘ ๑,๓๘๔ ๒,๘๕๒ ๗-๑๒ ๑,๒๗๕ ๑,๑๗๒ ๒,๔๔๗ ๑๓-๑๗ ๑,๑๙๕ ๑,๑๐๗ ๒,๓๐๒ ๑๘-๖๐ ๙,๗๕๕ ๑๑,๔๖๕ ๒๑,๒๒๐ ๖๐ ขนึ ไป ๑,๑๘๖ ๑,๕๖๒ ๒,๗๔๘ รวม ๑๕,๑๒๒ ๑๖,๙๑๘ ๓๒,๐๔๐ ท่มี า : งานทะเบยี นราษฎร สานกั ปลัดเทศบาล เทศบาลเมอื งคลองแห (เมษายน ๒๕๕๖) การศึกษา ตาราง แสดงสถานศกึ ษาในสังกดั ของเทศบาลเมอื งคลองแห ชื่อสถานศกึ ษา/ชั้น จานวนห้องเรยี น จานวนเด็กนักเรยี น (คน) โรงเรยี นเทศบาล ๑ (อนุบาลอัจฉริยะ) ๗๗ ๖๔ อนบุ าล ๑ ๓ ๗๐ ๔๓ อนบุ าล ๒ ๒ ๔๑ ๓๔ อนุบาล ๓ ๒ ๓๒๙ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๑ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑ รวม ๑๐ ทม่ี า : งานสง่ เสรมิ คณุ ภาพและมาตรฐานหลักสตู ร กองการศึกษา เทศบาลเมืองคลองแห (มิถนุ ายน ๒๕๕๖) ตาราง แสดงศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ในสังกัดของเทศบาลเมืองคลองแห ชอ่ื ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก จานวน จานวน จานวน จานวน ๑. ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านท่าไทร หอ้ งเรียน เด็กนกั เรียน ครผู ดู้ ูแลเดก็ ผู้ดแู ลเดก็ ๙ ๒๐๘ ๓ ๑๓ ๒. ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นทุ่งนา้ ๑ ๔๕ ๑ ๑ ๓. ศูนยอ์ บรมเด็กกอ่ นเกณฑ์ในวดั คลองแห ๓ ๖๖ ๑ ๓ ๔. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะหมี ๑ ๒๖ ๑ ๑ ๕. ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นหนองนายข้ยุ ๑ ๑๘ ๑ ๑ รวม ๑๕ ๓๖๓ ๗ ๑๙ ที่มา : งานโรงเรียน กองการศึกษา เทศบาลเมอื งคลองแห (มถิ นุ ายน ๒๕๕๖) ตาราง แสดงสถานศกึ ษาในสังกัดของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ช่ือโรงเรียน จานวนเดก็ นักเรยี น (คน) ๑. โรงเรยี นบา้ นท่งุ น้า ๑๑๑ ๒. โรงเรียนบ้านหนองนายขยุ้ ๘๖ ๓. โรงเรยี นบ้านเกาะหมี ๒๖๘ ๔. โรงเรียนวดั คลองแห ๒๘๐ ๕. โรงเรยี นบา้ นทา่ ไทร ๖๘ รวม ๘๑๓ ท่ีมา : งานสง่ เสริมคณุ ภาพและมาตรฐานหลักสตู ร กองการศกึ ษา เทศบาลเมืองคลองแห (มิถุนายน ๒๕๕๖) สถานศกึ ษา/ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ ของเอกชน ๑. โรงเรียนสวัสดบิ์ วร (ชุมชนหลังบ๊ิกซ)ี การปฏิบัติทเี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๕

๒.โรงเรียนสง่ เสริมศาสนาวิทยามูลนธิ ิ (ชมุ ชนคลองควาย) ๓.โรงเรยี นสอนศาสนา อิบตดี าอหี ยะฮ์ (ชมุ ชนสะพานด้า) ๔.โรงเรียนนูรลู มฮู มั มะดยี ะ (สอนศาสนา) (ชุมชนส้าราญสขุ ) ๕.ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ บ้านองครักษ์ (ชมุ ชนสา้ ราญสขุ ) ๖.โรงเรียนฟตั ฮลู มบู นี (ชมุ ชนบา้ นคลองแห) ๗. สถานรับเลียงเด็กฤทธ์ิศริ ิ (ชุมชนบ้านคลองแห) ๘.สถานรบั เลียงเด็กบา้ นคุณครฉู ลวย (ชุมชนบ้านคลองแห) ๙.สถานรับเลียงเดก็ สามพี่น้องเนริ สเ์ ซอร่ี (ชมุ ชนบ้านคลองแห) ๑๐.โรงเรียนฟรั ดอู นี มัสยดิ อนั ซอรุดดีน (ชุมชนบางมวง) ๑๑.โรงเรยี นฟัรดูอนี ๑๒.โรงเรียนฟัรดอู นี (ชมุ ชนท่าชา้ ง) ๑๓. โรงเรียนฟัรดูอนี มัสยดิ ดนิ ยี าตุลอสิ ลาม (หนองบอ่ ) (ชมุ ชนท่งุ นา้ ) ๑๔.โรงเรียนฟัรดูอีนมัสยดิ บา้ นหนองทราย (ชมุ ชนหนองทราย) ๑๕. โรงเรยี นฟรั ดอู นี มสั ยดิ นูรูลกอมารียะฮ์ (ชมุ ชนหนองทราย) ๑๖.โรงเรียนสอนกีรอตสิ ้าหรบั เยาวชน (ชุมชนมสั ยิดเกาะหม)ี (ชมุ ชนบ้านเก่า) ศาสนา (ชมุ ชนสะพานด้า) วดั / สานักสงฆ์ ๕ แห่งไดแ้ ก่ (ชมุ ชนส้าราญสุข) ๑. วัดคลองแห (ชมุ ชนทุง่ น้า) ๒. วัดอัมพวนั (ชมุ ชนบ้านเก่า) ๓. ส้านักสงฆ์โตนดแสงทอง (ชุมชนมุสลิมหนองบัว) ๔. สา้ นกั สงฆท์ รายทอง (ชมุ ชนหนองทราย) ๕. สา้ นักสงฆแ์ ก้วสว่างวราราม (ชมุ ชนหนองทราย) มัสยดิ /บาลาย ๑๔ แห่ง ได้แก่ (ชมุ ชนหนองทราย) ๑. มัสยดิ สลามัด (ชมุ ชนบ้านคลองแห) ๒. มัสยิดส้าราญสุข (ชุมชนมสั ยิดเกาะหมี) ๓. มสั ยดิ บ้านทงุ่ น้า (ชมุ ชนบางมวง) ๔. มัสยิดอลั ซอริสสนุ นะฮ์ (ชมุ ชนท่าช้าง) ๕. มสั ยิดนูร (ชมุ ชนสัจจกุล) ๖. มสั ยิดดินยี าตลุ อิสลาม (หนองบอ่ ) (ชุมชนคลองควาย) ๗. มัสยิดบา้ นหนองทราย ๘.มสั ยิดกลางประจา้ จงั หวัดสงขลา หน้า ๖ ๙. มัสยดิ ฟตั ฮ้ลู มบู นี ๑๐. มสั ยดิ นูรลู กอมารยี ะฮ์ ๑๑.มัสยดิ อันซอรดุ ดีน ๑๒. มสั ยดิ อาลมั ซะห์ ๑๓.บาลายเซาะมฮู า้ มาดี ๑๔.มัสยดิ คลองควาย อ่ืนๆ ๑.สา้ นักงานท่ีดนิ จังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ๒.โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตา้ บลคลองแห ๓.ศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ เทศบาลเมืองคลองแห ๓. สภาพทางเศรษฐกจิ การปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

การพาณิชย์ ๑.ธนาคาร จานวน ๙แหง่ ๑.๑ ธนาคารกรงุ เทพ สาขาตลาดพงษ์เจรญิ ๑.๒ ธนาคารออมสนิ ถนนลพบรุ ีราเมศวร์ ๑.๓ ธนาคารกสิกรไทย ถนนลพบรุ รี าเมศวร์ ๑.๔ ธนาคารกรุงเทพ ถนนลพบรุ รี าเมศวร์ ๑.๕ ธนาคารกรุงเทพ สาขาบกิ๊ ซีหาดใหญ่ ๑.๖ ธนาคารกรุงไทย สาขาบ๊กิ ซหี าดใหญ่ ๑.๗ ธนาคารกรงุ ศรีอยธุ ยา สาขาบิ๊กซหี าดใหญ่ ๑.๘ ธนาคารทหารไทย สาขาบ๊กิ ซหี าดใหญ่ ๑.๙ ธนาคารไทยพาณชิ ย์ สาขาบก๊ิ ซหี าดใหญ่ ๒.บริษทั จานวน ๑๙๖ แหง่ ๓.ห้างหุ้นสว่ นจากดั จานวน ๕๒ แหง่ ๔.สถานบี รกิ ารน้ามัน จานวน ๗ แห่ง ๕.ห้างคา้ ปลกี ขนาดใหญ่/หา้ งค้าปลีกขนาดเลก็ /ร้านสะดวกซื้อ จานวน ๖ แหง่ ๕.๑บ๊ิกซี ซปุ เปอรเ์ ซน็ เตอร์ ๕.๒เคแอนดเ์ ค ซปุ เปอรค์ า้ ส่ง ๕.๓ เคแอนด์เค คา้ สง่ ๕.๔ ซี พี ออลล์ (เซเว่นอีเลฟเวน่ ) ๒ แหง่ ๕.๕ โลตสั เอ็กเพรส ๖.ตลาดสด จานวน ๑ แหง่ ๖.๑ ตลาดเกาะหมี ถนนลพบรุ รี าเมศวร์ สถานบรกิ าร รสี อรท์ จานวน ๑๑ แห่ง ๑.๑ เกาะหมรี ีสอร์ท ๑.๒ คันทรี่รสี อรท์ ๑.๓ คณุ นายรสี อร์ท ๑.๔ ท่าไทรรสี อรท์ ๑.๕ บ้านตน้ ไม้รสี อรท์ ๑.๖ บ้านรีสอร์ท ๑.๗ บมู ฟอเรสท์รีสอร์ท ๑.๘ ลพบรุ ีรสี อรท์ ๑.๙ วนิ รสี อร์ท ๑.๑๐ ส้าราญสขุ รสี อรท์ ๑.๑๑ เหมือนฝนั รสี อร์ท ๔. แหลง่ วทิ ยาการชุมชน และทนุ ดา้ นงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพอ่ื การจดั การศึกษา แหลง่ เรยี นรู้ตาบลคลองแห ลาดบั ที่ ชอ่ื แหล่งเรยี นรู้ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ ที่ต้ัง ๑. นายสวัสดิ์ ศิริเพญ็ การศึกษา ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๒. กลุม่ สจั จะวันละ ๑ บาท การเงนิ ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๓. สหกรณร์ ้านคา้ การเงนิ ม.๓ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๔. อาสาพฒั นาป้องกันรกั ษาความปลอดภยั การศึกษา ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๕. สถานอี นามยั ด้านสขุ ภาพ ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๖. งานป้องกนั สาธารณภยั การศกึ ษา ม.๕ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๗

๗. สา้ นักงานปราบปรามยาเสพติด การศกึ ษา ม.๕ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศกึ ษา ม.๗ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๘. เทศบาลเมอื งคลองแห การศกึ ษา ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ดา้ นอาชีพ ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๙. กรงนกเขาชวา ดา้ นอาชพี ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ดา้ นชุมชน ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๐. นายอาโรน บลิ ละหมิ ด้านชุมชน ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ด้านอาชีพ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๑. นางทาสาหนี บิลละหิม การเงิน ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๒. กลมุ่ อสม. การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๓. ประธานชุมชน การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๔. กลมุ่ แมบ่ า้ น การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๕. กองทุนหมูบ่ า้ น การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๖. บา้ นหนังสืออัจฉรยิ ะ ชมุ ชนปา่ ยาง การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๗. บ้านหนังสืออจั ฉรยิ ะ ชุมชนคลองแห ประเภทแหล่งเรยี นรู้ การศกึ ษา ทตี่ ้ัง ๑๘. บ้านหนังสอื อัจฉรยิ ะ ชุมชนบ้านหนองบัว การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๙. บา้ นหนงั สืออัจฉรยิ ะ ชมุ ชนเออื อาทร ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๒๐. บา้ นหนงั สอื อัจฉริยะ สหกรณร์ ้านคา้ ๒๑. บ้านหนังสอื อัจฉรยิ ะ ชุมชนวัดคลองแห ๒๒. บา้ นหนังสอื อจั ฉริยะ ชมุ ชนคลองเปล ๒๓. บา้ นหนังสอื อัจฉรยิ ะ ชมุ ชนทรายทอง ๒๔. บ้านหนังสอื อัจฉริยะ ชุมชนทุง่ ปาบ ๒๕. บ้านหนังสืออจั ฉรยิ ะ ชุมชนบ้านเก่า ๒๖. บ้านหนงั สืออัจฉรยิ ะ ชุมชนทา่ ช้าง ลาดับท่ี ชือ่ แหลง่ เรียนรู้ ๒๗. บ้านหนังสืออัจฉริยะ ชมุ ชนทุ่งน้า ๒๘. บ้านหนังสืออจั ฉริยะ สจั จกลุ ๒๙. บ้านหนังสอื อจั ฉรยิ ะ ชมุ ชนบ้านเกาะหมี ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ตาบลคลองแห ลาดับที่ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ความรู้ความสามารถ ท่ตี ้ัง ๑. นายมี ช่วยกลู นวดแผนโบราณ ๒๗ ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๒. นายธวชั ชาตวิ ฒั นา ผกั พืนเมือง,เศรษฐกจิ พอเพียง ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๓. นายอ่ิม สาสธุ รรม การท้าดอกไมป้ ระดิษฐ์ ๔๔/๒ ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๔. สบิ โทอดุ ม เพ็ชรธนู สงิ่ แวดลอ้ ม ๑๑๔/๒ ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๕. นายห้าสนั บลิ หมดั สานกรงนก ๔๐ ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๖. นางสาวลซี า เอส เอ ขนมไทย ๔๑๖ ม.๑๑ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ภาคีเครอื ข่ายตาบลคลองแห หน้า ๘ การปฏิบตั ิทเ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

ลาดับท่ี ภาคเี ครือข่าย ที่ตงั้ ๑. กล่มุ ออมทรัพยเ์ พอื่ การผลติ ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๒. กลมุ่ กองทนุ หม่บู ้าน ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๓. กลุ่มสจั จะวันละ ๑ บาท ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๔. สหกรณ์รา้ นคา้ ๖๗ ม.๓ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๕. รพ.สต.คลองแห ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๖. กลุ่ม อสม. ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๗. วดั คลองแห ๑๒๓ ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๘. งานป้องกันสาธารณภยั ม.๕ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๙. โรงเรียนอัจฉริยะ ม.๗ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๐. เทศบาลเมืองคลองแห ม.๗ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๑. กล่มุ OTOP ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๒. ประธานชมุ ชน ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๓. กล่มุ แมบ่ ้าน ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๕. ปัญหาและความตอ้ งการทางการศกึ ษาของประชาชนทจ่ี าแนกตามลักษณะของกลุ่มเปา้ หมาย กศน.ต้าบลคลองแห ตงั อย่ทู ีอ่ าคารเอนกประสงค์ ซ.ล้าเหมือง ถ. ประชาอุทศิ ม.๒ บา้ นหนองบัว ต.คลองแห อ. หาดใหญ่ จ.สงขลา เป็นสถานที่จัดการเรียนการสอนชั่วคราว ไม่เป็นเอกเทศ จัดการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับ มธั ยมศึกษาตอนต้น และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จ้านวน ๒๑๕ คน การจดั การศึกษา กลุ่มเป้าหมาย ปญั หาและความต้องการทางการศกึ ษา การศกึ ษาขันพืนฐาน กล่มุ ประชากรวยั แรงงาน (อายุ - ประชากรในพืนที่ส่วนใหญ่มีอาชพี รับจา้ ง มภี าระตอ้ งทางาน การศึกษาตามอัธยาศยั ๑๕-๕๙ ปี ) หาเลียงครอบครัวส่งผลใหข้ าดโอกาสในการเขา้ ถึงการศกึ ษา แรงงานมกี ารย้ายถิ่นฐานบอ่ ย การศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คม กลมุ่ ผสู้ งู อายุ - ผูส้ ูงอายุในชมุ ชนสว่ นใหญ่มอี าชพี การเกษตร รับจ้างทว่ั ไป และชมุ ชน ,เศรษฐกิจ (อายุ ๖๐ ปี ขึนไป) และไม่มีงานทา้ มภี าระตอ้ งเลยี งดบู ุตรหลาน ไม่มีอาชีพที่ม่ันคง พอเพยี ง และมีคณุ ภาพชวี ิตไมด่ เี ท่าทค่ี วร การศกึ ษาขนั พืนฐาน, กลุ่มผู้พลาดโอกาส - ชมุ ชนมสี ภาพวถิ กี ารดา้ เนินชีวติ ท่หี ลากหลาย มคี วามเสย่ี งต่อ การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะ (เด็กและเยาวชน) ปัญหาตา่ งๆ เชน่ ปญั หายาเสพตดิ ตังครรภก์ อ่ นวยั อนั ควร ไม่ ชวี ิต จบการศกึ ษาภาคบังคบั เปน็ ตน้ จานวนนกั ศึกษาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ระดับการศกึ ษา จานวนนักศึกษา ประถมศกึ ษา ๔ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ๕๔ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๕๔ ผไู้ มร่ ้หู นงั สือ ๓ ๒๑๕ รวม การปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๙

บรรยากาศภายนอก หอ้ งเรยี นที่ ๑ ห้องเรยี นที่ ๒ จุดเชค็ อิน กศน.ตา้ บล ห้องสมุด กศน.ตา้ บล หอ้ งบริการอนิ เตอรเ์ น็ต กศน. คณะกรรมการดาเนินงาน กศน.ตาบลคลองแห 1.นายวรี ะ ฤทธิ์เทวา ประธานกรรมการ 2.นายธวัช ชาติวฒั นา รองประธาน 3.ร.ต.ท.สวง ทะสะระ กรรมการ 4.นายอรณุ บุญรศั มี กรรมการ 5.นายวิทยา พงษ์สวสั ดิ์ กรรมการ 6.นายวลิ าส วุน่ แกว้ กรรมการ 7.นางปทิตตา ซนุ่ ซ่มิ กรรมการ 8.นายประจวบ บรุ ีเรือง กรรมการ 9.นายยทุ ธศักดิ์ ดวงสุวรรณ กรรมการ 10.นางสาวจริ า อสิ ระโร กรรมการ 11.นายปรีชา กาลพันธ์ กรรมการ 12.นายประทีป ปรางยมิ กรรมการ 13.นายโฆษติ ดเี มฆ กรรมการ 14. นายกฤตภาส บลิ สุอาหวา กรรมการ 15.นายสมพร เสรมราษฎร์ กรรมการ 16.นางไพจติ ร เภาทอง กรรมการ 17.นางละอองสิน ศรสี วสั ดิ์ กรรมการ 18.นายสญชยั กาญจนเพญ็ กรรมการ 19. นางสาวนิชนันท์ ชุมปถมั ภ์ กรรมการ 20.นางบญุ เรือน ด้ามทอง กรรมการและเลขานุการ ท่ปี รกึ ษา ๑. ผอ.กศน.อ้าเภอหาดใหญ่ ๒. นายกเทศบาลเมืองคลองแห การปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๑๐

ส่วนท่ี 2 ผลงานท่ีประสบผลสาเรจ็ ๑.ช่ือผลงาน แหลง่ เรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง “การเพาะเห็ดครบวงจรและการแปรรปู ชมุ ชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ยงั่ ยนื ระดบั ตาบล ของสานักงาน กศน” ๒.ช่ือเจ้าผลงาน ชอื่ -สกลุ นางบญุ เรอื น ดา้ มทอง ต้าแหนง่ ครู กศน.คลองแห ๓. ความเปน็ มา ทอ่ี ยู่ กศน.ต้าบลคลองแห หมู่ที่ ๒ บา้ นหนองบวั ต้าบลคลองแห อ้าเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา โทรศัพท์ 084 - 7484598 e-mail : [email protected] เน่อื งจากปจั จุบันนีประเทศไทยของเรากา้ ลงั ประสบกับปญั หาข้าวยากหมากแพง ทา้ ใหป้ ระชาชน หลายคนต้องมีความเป็นอยู่อย่างยากล้าบาก แต่ส่ิงหนึ่งที่ช่วยให้คนไทยทุกคนนันหลุดพ้นจากความ ยากล้าบาก คือ เศรษฐกิจพอเพียง ค้าว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นโครงการของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยหู่ วั ที่ทรงจัดตังโครงการขนึ เพ่ือชว่ ยเหลือคนไทยท่ีเดือดร้อน อาทิเชน่ ของแพง ราคาสนิ คา้ ขนึ ราคา ทา้ ใหป้ ระชาชนท่ีมีรายได้น้อยต้องใช้จ่ายแบบประหยัด บางครังจา้ เปน็ ต้องใช้จา่ ยเงินก็อาจจะหมดไปและท้าให้ไม่มี เงินเก็บออม จนประชาชนบางกลุ่มต้องเดือดร้อนเพราะรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย แต่ถ้าประชาชนชาวไทย รู้จักหันมาใช้จ่ายอย่างพอเพียง รู้จักเก็บออมมากขึน รู้จักการท้ามาหากินท่ีสุจริต และด้ารงชีวิตตามแบบ เศรษฐกจิ พอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทกุ คนกจ็ ะอยูภ่ ายใต้ความพอเพียงได้อย่างมีความสุข ดงั นัน ข้าพเจ้าจึงจัดท้าเรื่องเหด็ นางฟ้า ซ่ึงได้จัดท้าโดยการศกึ ษาค้นคว้าหาข้อมูลมาใชป้ ระกอบในการท้าโครงงาน และ ด้าเนินงานตามขันตอนอย่างถูกต้อง เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีท่ีสุด การท้าโครงงานเกี่ยวกับการเพาะเห็ด นางฟ้า สามารถให้อะไรหลายส่ิงแก่เรา เช่น ถ้าน้ามาเพาะเพ่ือใช้เป็นอาหาร สามารถน้ามาจ้าหน่ายได้ เพราะ เป็นผักสวนครัวท่ีได้รับความนิยมมาก มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่ามากมาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงเห็ดมีสารโปรตีน สูง และโปรตีนของเห็ดจะไม่มีสารคอเรสเตอรอลท่ีเป็นอันตรายต่อระบบไหลเวียนของโลหิต ประกอบกับเห็ดมี ปรมิ าณธาตุโซเดยี มค่อนขา้ งต่า้ จึงเป็นอาหารทเ่ี หมาะส้าหรบั ผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็นโรคตับ โรคไต โรคหัวใจ และโรคความ ดันโลหติ สูง สามารถสรา้ งรายได้ให้แกค่ รอบครัวเป็นจา้ นวนมาก และท่ีสา้ คัญดแู ลรกั ษาง่าย ไมย่ งุ่ ยาก การเพาะเห็ดในชุมชนหนองบัวในเขตเทศบาลเมืองคลองแห ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็นชุมชนกึ่งเมืองก่ึง ชนบท เมื่อบ้านเมืองเจริญขึนพืนที่การเกษตรลดลง จึงท้าให้เกิดแนวคิดว่า ควรจะปลูกพืชชนิดใดท่ีสามารถใช้ พืนที่ให้คุ้มค่าที่สุด ซึ่งไม่มีทางเลือกมากนัก จึงได้เริ่มก่อตัง แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง “การเพาะเห็ดครบ วงจรและการแปรรูป” ขนึ เมอ่ื เดือนตุลาคม ๒๕๕๙ และได้มีน้าออกส้ตู ลาดครงั แรก เดอื นพฤศจิกายน ๒๕๕๙ ราคาแรกเริ่มทังปลีก-ส่งกิโลละ ๖๐ บาท ปัจจุบันกิโลละ ๘๐ บาท ขณะนีสามารถเก็บผลผลิตได้ 25-30 กิโลกรัม ต่อวัน ขนาดโรงเรือนสามารถเก็บก้อนเห็ดได้ ๑๐,๐๐๐ ก้อน และก้าลังพัฒนาการก่อสร้างโรงเรือน เพ่ิมเติม อีก ๕ โรงเรือน ๆ ละ ๑๐,๐๐๐ ก้อน เพ่ือให้ได้ ๕๐,๐๐๐ ก้อน เพ่ือเปิดดอกจ้าหน่าย และพัฒนา เคร่ืองมือท่ีสามารถลดแรงงานจากคน ได้ดีเลยทีเดียว โดยการน้าเคร่ืองจักรมาท้าขันต้อนการอัดก้อน ขันตอน การผสมคลกุ เคลา้ กอ้ นเห็ดสามารถผลิตไดร้ วดเร็ว และมปี ระสทิ ธิภาพดเี ยยี่ มเลยทเี ดียว การปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๑๑

ปัจจุบันกลุ่มการเพาะเห็ดนางฟ้าได้มีการขยายไปสชู้ ุมชนใกล้เคียงทังหมด 5 หมู่บ้าน ประกอบด้วยหม่ทู ่ี 3 หมู่ท่ี 4 หมู่ท่ี 6 หมู่ท่ี 8 และหมู่ท่ี 9 และได้มีการพัฒนาไปสู้วิสาหกิจชุมชนของชุมชนหนองบัวได้มีการจด ทะเบียนวิสาหกิจชุมชนเรียบร้อยแล้วเพ่ือจัดตังกลุ่มวิสาหกิจในชุมชน กลุ่มมีความเข้มแข็งสามารถสร้างร้ายได้ สร้างอาชีพให้กับคนในชุมชนได้เป็นอย่างดีและมีโครงการท่ีจะท้าการผลิตปุ๋ยจากก้อนเชือเห็ ดเก่าเพ่ือลดปัญหา สิง่ แวดล้อมที่เกดิ ขนึ จากกอ้ นเชือ่ เห็ดทหี่ มดอายุ สามารถน้ากลับมาท้าปุ๋ยหมักชีวภาพได้ดที เี ดยี ว ๔. วตั ถุประสงคข์ องการดาเนนิ งาน ๔.๑ เพือ่ ให้นักเรยี นลงมือฝึกปฏิบตั ิการเพาะเห็ดนางฟ้า จนเกดิ ทักษะ ความชา้ นาญ อยู่ในระดับที่ สามารถ นา้ ผลงานไปประกอบอาชีพได้ในโอกาสต่อไป ๔.๒ เพือ่ สร้างอาชพี และเพมิ่ รายได้ให้กับคนในชมุ ชน ๔.๓ เพอื่ แปรรปู ผลผลติ จากเหด็ และการผลิตปุย๋ อนิ ทรียเ์ พ่ือใชแ้ ละจา้ หนา่ ย ๕. ขน้ั ตอนวธิ กี ารและนวตั กรรมทเ่ี ปน็ เลิศ (Flowchart ดงั แนบ) เตรียมนกั เรียนที่มที ักษะในการเพาะเห็ดฝึกปฏิบตั ิหลาย ๆ ครังจนเกดิ ความชา้ นาญ ตามขันตอนและ กระบวนการในการท้างาน โดยพัฒนาตาม Flow Chart ดงั นี 3.1 ข้ันตอนการดาเนนิการตาม Flow Chart หน้า ๑๒ การปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

1. วางแผน โดยเตรยี มนักเรียนทีจ่ ะนา้ มาฝึกทักษะในการเพาะเหด็ นางฟา้ 2. คน้ ควา้ โดยคน้ คว้าหาขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลตา่ งๆ เก่ยี วกับการเพาะเหด็ นางฟ้า 3. ศกึ ษาตัวอย่าง ให้นักเรยี นได้ศึกษาตวั อย่างจากข้อมลู ต่างๆท่ผี า่ นนมา 4. ฝึกปฏิบตั ตาิ มตวั อย่าง โดยให้นกั เรียนฝกึ ตามตัวอยา่ งจนเกดิ ทักษะความชา้ นาญ 5. สรา้ งแนวคิดใหม่ ใหน้ ักเรียนสร้างแนวคดิ ใหมเ่ ปน็ ของตัวเอง แลว้ ท้าตามแนวคิดใหม่จน เกิด ทักษะ 6. ประเมินผล ผ่าน / ไมผา่ น / ปรบั ปรุง 7. สรปุ / รายงานผล 3.2 การดาเนินงานตามกจิ กรรม (ตามวง PDCA) 1. ข้ันเตรียมการ (Plan) 1.1 ประชุมปรึกษาหารือชีแจงในกลุม่ สาระการศึกษานอกโรงเรียนเพือ่ คดั เลือกนกั เรียน ฝึก ปฏบิ ัติในการเพาะเห็ด 1.2 แจ้งจุดมุ่งหมายในการพัฒนานกั เรยี นสู่ความเป็นเลศิ 1.3 เตรยี มวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเคร่ืองใช้ในการสรา้ งโรงเรือนเพาะเห็ดใหพ้ ร้อม 2. ขัน้ ดาเนนิ การ (Do) ใหน้ ักเรยี นลงมือปฏบิ ัตจิ ริงตามรูปแบบขนั ตอนทุกรายการที่เข้ารว่ มหลายๆครงั จนไดผ้ ลเปน็ ที่ พัฒนาขนึ อยา่ งต่อเนื่อง 3. ข้นั ตรวจสอบและประเมินผลการพฒั นา (Check) 3.1 ตงั คณะกรรมการเพ่อื ตรวจสอบผลการปฏบิ ตั งิ านของนักเรียน 3.2 ดูผลงานที่ปรากฏ และประเมินผลงาน 4. ขั้นสรุปและรายงาน (Action) 4.1 สรปุ อภิปรายปญั หาและอุปสรรคในการพฒั นา 4.2 ปรบั ปรุงและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง 4.3 สรปุ และรายงานผลเปน็ ระยะ 3.3 ประสทิ ธิภาพของการดาเนนิ งาน ดา้ เนินกจิ กรรมตามรูปแบบ PDCA นกั เรยี นมผี ลงานทีป่ รากฎอยา่ งนอ้ ย 2-3 ครงั / สปั ดาห์ 3.4 ข้นั ประเมนิ ผล ชินงานทป่ี รากฏ / ประเมินผลจากรางวัลและเกียรติบตั รทน่ี ักเรียนไดร้ ับ 4. ผลการดาเนินการ 4.1 ผลทีเ่ กิดข้ึนกับผเู้ รียน - นกั เรียนมีแรงจูงใจในการเรียนรกู้ ารเพาะเห็ดมากขึนร้อยละ 80 - นักเรยี นได้รับการพฒั นาดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสู่ความเป็นเลิศ - นกั เรยี นสามารถนา้ ความร้ทู ี่ด้รบั ไปประกอบอาชีพได้ในโอกาสตอ่ ไป 4.2 ผลทีเ่ กดิ ข้นึ กบั ครู หน้า ๑๓ การปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

- ครมู ีความรู้ความเขา้ ใจและตระหนักในการพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียนตามมาตรฐานและ พัฒนา ตนเองสคู่ รูมืออาชพี - ครูได้พฒั นาความรู้และทักษะการจัดการเรยี นการสอนเพ่ิมขนึ ทงั ด้านปริมาณและคณุ ภาพ 4.3 ผลท่เี กิดข้ึนกับโรงเรียน - ท้าให้โรงเรยี นเปน็ ทย่ี อมรบั และศรทั ธาต่อผปู้ กครองและชุมชน - โรงเรยี นเป็นแหล่งเรียนร้ดู ้านวชิ าชพี ใหก้ ับชุมชนมากขึน 4.4 ผลทีเ่ กดิ ข้ึนกับชุมชน - ชุมชนมคี วามมน่ั ใจในการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียน - ชุมชนมคี วามภาคภูมใิ จ ศรัทธาตอ่ โรงเรียนและช่วยกนั พัฒนาโรงเรยี นเพ่ิมขนึ - ชุมชนสามารถเขา้ ร่วมกับโรงเรยี นในการฝึกวิชาชีพให้กับนกั เรยี น 5. ปจั จัยความสาเรจ็ 1. โรงเรยี นมีนโยบายท่ีชดั เจนในการปฏิรปู การเรยี นรู้ มคี วามพรอ้ มในด้านอาคารสถานท่ี และสื่อ อุปกรณ์การเรยี นการสอน 2. ผูบ้ ริหารให้การสนบั สนนุ ด้านงบประมาณในการด้าเนนิ การ 3. ผู้ปกครองใหก้ ารสนับสนุนในการแสวงหาความรู้ของนักเรียน 6. บทเรยี นทไี่ ด้รับ 1. โรงเรียนได้รบั การยอมรบั จากชุมชนมากยิ่งขนึ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ใหเ้ กดิ ทักษะ การเรียนรู้ หลาย ๆ ดา้ นอย่างหลากหลาย 2. โรงเรยี นได้พฒั นาส่งเสรมิ คณุ ลักษณะนสิ ัยใหน้ ักเรยี นมีคณุธรรม – จริยธรรม มากยงิ่ ขนึ 3. นักเรียนมคี วามภาคภูมิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณวี ฒั นธรรมไทยมากยิง่ ขนึ 7. การเผยแพร่ / การไดร้ บั การยอมรับ / รางวัลทไ่ี ด้รับ ๗.๑ การเผยแพร่ แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง “การเพาะเห็ดครบวงจรและการแปรรูป” จะมี วิธีการประชาสัมพันธ์ท่ีหลากหลายวิถี โดยวิธีการขายผ่านช่องทางส่ือออนไลน์ การค้าออนไลน์ ผ่านทาง facebook ช่องทาง แฟนเพจ กศน.ต้าบลคลองแห ทางเครือข่ายในต้าบลทุกมุมเมือง รู้จักแหล่งเรียนรู้และ ต้องการสินค้าเข้าสู้ตลาดจ้านวนมาก จนไม่สามารถผลิตได้ทันกับความต้องการของลูกค้า ร้านค้า มากมาย ต้องการสินค้าจ้านวนมากเพราะเป็นสนิ ค้าคุณภาพ และมีราคาไม่แพง ของดีมีคุณภาพ ราคาไม่แพง ท้าให้เป็น ที่ตอ้ งการของตลาดอย่างมากมาย ได้รับการยอมรับ จากลกู คา้ และผ้ทู ่มี คี วามสนใจอย่างมากมายจริง ๆ ๗.๒ การยอมรบั / รางวลั ทีไ่ ด้ จากการก่อตัง แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง “การเพาะเห็ดครบวงจรและการแปรรูป”จนเป็น ยอมรับของตลาดและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ได้น้าไปสู่ โครงการเพิ่มความ เข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐ ของชุมชนหนองบัว หมู่ท่ี ๒ ต้าบลคลองแห อ้าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดย คณะรัฐมนตรี มีมติเม่ือวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๙ เห็นชอบให้ด้าเนิน โครงการเพ่ิมความเข็มของเศรษฐกิจฐานรกตามแนวทางประชารัฐ เนอื่ งจากในชว่ งหลายปที ี่ผ่านมาภาคเกษตร ของประเทศไทยประสบปญั หาหลายประการ ไดแ้ ก่ ปญั หาภัยพิบัติทางธรรมชาติ ปัญหาต้นทุนการผลติ สูง และ ปัญหาราคาสินค้าตกต่้า เป็นต้น โดยสาเหตุประการหน่ึงมาจากระบบโครงสร้างพืนฐานในชุมชนไม่ได้รับการ พัฒนา ตลอดจนยังขาดปัจจัยการผลิตที่จ้าเป็น ดังนัน การลงทุนด้านโครงสร้างพืนฐานเพื่อส่งเสริมความ การปฏบิ ตั ิทเี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๑๔

เข็มแข็ง ของเศรษฐกิจในระดับฐานราก ซ่ึงครอบคลุมทังกระบวนการ ตังแต่กิจกรรมด้านการผลิต การเพ่ิม มูลค่าสินค้าและการตลาด จะส่งผลให้ชุมชนพัฒนาอย่างมั่นคง แข็งแรง ต่อไป ดังนัน ขอให้ประชุมสมาชิกได้ เสนอปญั หา ความตอ้ งการและโครงการทจ่ี ะขอรับการสนับสนุนงบ ประมาณ โครงการ เพาะเห็ดครบวงจรและ การแปรรูป งบประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ บาท เร่ิมต้นวันท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๐ โดยมีวัตถุประสงค์หลักของ โครงการคือ การสร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชนและสามาชิกกองทุน การแปรรูปผลผลิตจากเห็ด และการทา้ ปุย๋ อินทรียเ์ พ่อื ใชแ้ ละจ้าหนา่ ย ปัจจบุ ันกลมุ่ การเพาะเห็ดนางฟา้ ได้มีการขยายไปสชู้ ุมชนใกล้เคียงทงั หมด 5 หมูบ่ า้ น ประกอบดว้ ยหมู่ ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 9 และได้มีการพัฒนาไปสู้วิสาหกิจชุมชนของชุมชนหนองบัวได้มีการจด ทะเบียนวิสาหกิจชุมชนเรียบร้อยแล้วเพ่ือจัดตังกลุ่มวิสาหกิจในชุมชน กลุ่มมีความเข้มแข็งสามารถสร้างร้ายได้ สร้างอาชีพให้กับคนในชุมชนได้เป็นอย่างดีและมีโครงการที่จะท้าการผลิตปุ๋ยจากก้อนเชือเห็ดเก่าเพ่ือลดปัญหา สง่ิ แวดล้อมทเ่ี กิดขึนจากกอ้ นเชื่อเหด็ ท่หี มดอายุ สามารถนา้ กลบั มาท้าปุ๋ยหมักชวี ภาพไดด้ ีทเี ดยี ว รางวัลที่ได้รับ ในปีงบประมาณ 2562 ได้รับการประกาศเป็นชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ยั่งยนื ระดับต้าบล ของสา้ นักงาน กศน. นอกจากนี เจ้าของแหล่งเรียนรู้ ได้รบั วุฒบิ ัตร ไดผ้ า่ นการอบรม โครงการ Smart ONIE เพื่อสรา้ ง Smart Farmer การอบรมเกษตรต้นแบบ (Master Trainer) การปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๑๕

สว่ นที่ 3 การดาเนินงานสู่ความเปน็ เลิศ การเพาะเหด็ นางฟา้ สูค่ วามเปน็ เลศิ  การดา้ เนนิ การของการเพาะเหด็ ขั้นตอนที่ 1. การเตรยี มโรงเรอื นสาหรบั เพาะเหด็ นางฟา้ ส้าหรับโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้านันควรมีขนาด 2 x 15 x 2 (กว้าง x ยาว x สูง) ซึ่งจะวางก้อน เชือเห็ดนางรม และเห็ดนางฟ้าได้ประมาณ 4,000 ก้อน โรงเรือนควรเป็นแบบท่ีสร้างง่าย ลงทุนน้อย และวัสดุท่ีจะน้ามาสร้างเป็นโรงเรือนนันจะต้องหาง่ายที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นวัสดุที่มาจากธรรมชาติ เช่น ฟาง, หญ้าแฝก, ไม้ไผ่ เป็นต้น ส้าหรับการสร้างโรงเรือนให้เหมาะสมนันควรสร้างในที่เย็นชืนและสะอาด ปราศจากศัตรูของเห็ดท่ีจะเข้ามารบกวน หลังคามุงจากหรือแฝก แล้วคลุมทับด้วยสะแลนอีก 1 ชิน การคลุมหลังคาขึนอยู่กับชนิดของเห็ดด้วย เพื่อป้องกันลม ลมแรง ลมค่อย ลมหนาว ลมแห้งแล้ง สภาพลม สภาพอากาศ มีผลกระทบต่อการออกดอกของเห็ดได้เช่นเดียวกัน ปิดประตูด้วยกระสอบป่านหรือแผ่นยาง ปูพืนด้วยทราย เพื่อเก็บความชืน ทิศทางลม ก้อมีส่วนส้าคัญในการโรงเพาะเห็ด ต้องดูทิศทางของลมเหนือลม ใต้ เพ่ือป้องกันการพดั พาเชอื โรค ท่ีจะมีผลต่อก้อนเห็ด และการออกดอกของเห็ด การสรา้ งโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้าขนาด 2 x 15 x 2 มีทงั หมด 4 ดา้ นดว้ ยกนั ซง่ึ แตล่ ะด้านสามารถเก็บก้อน เชอื เห็ดนางรม และเห็ดนางฟ้าไดถ้ ึง 1,000 กอ้ น ซึง่ การท้าโรงเรือนในลักษณะนี ใช้พนื ท่ีรวมแลว้ แค่ประมาณ 60 ตารางเมตรเท่านนั วสั ดุในการท้างานกใ็ ช้ท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น ไม้ไผ่ ไมย้ ูคา หรือ อ่ืน ๆ ตัวเสาก็ อาจจะใช้ไม้ท่ีมีขนาดใหญเ่ พ่ือความแขง็ แรงของโรงเรือน หลังคากใ็ ช้หญ้าแฝก ซงึ่ เป็นวัสดุท่เี หมาะกับการท้า โรงเรอื นเป็นอยา่ งดี เน่ืองจากสามารถกักเกบ็ ความรอ้ นชนื ไดด้ ี เป็นภูมอิ ากาศทเ่ี หด็ นางรม และเหด็ นางฟ้าชอบ ข้นั ตอนที่ 1. การเตรยี มโรงเรือนสาหรับเพาะเหด็ นางฟา้ หนา้ ๑๖ การปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

ข้นั ตอนท่ี 2 การทากอ้ นเชื้อเพาะเห็ดนางฟา้ หนา้ ๑๗ การปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

ข้นั ตอนท่ี 2 การทากอ้ นเชื้อเพาะเห็ดนางฟา้ หนา้ ๑๘ การปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

วธิ กี ารทากอ้ นเชอ้ื เพาะเห็ดนางรม และเห็ดนางฟ้า การทา้ กอ้ นเชือเพาะเห็ดนางฟา้ นนั จ้าเปน็ ต้องหาวัสดุอุปกรณ์ท่ีต้องเตรียมดังนี ได้แก่ขีเล่ือยยางพารา หรอื ขเี ลอ่ื ยไมเ้ นืออ่อน แต่ในทางปฏบิ ตั ินนั ขเี ลื่อยยางพาราจะใหผ้ ลดที สี่ ดุ จากนนั กห็ าส่วนผสมตา่ งๆเพื่อให้ได้ คุณค่าทางอาหารมากยิ่งขนึ และสตู รการท้าก้อนเชือเหด็ นางรม และเหด็ นางฟา้ มสี ว่ นผสมหลกั ๆดงั นี * ขีเลื่อยยางพาราแห้งสนิท 100 กิโลกรัม * ร้าละเอยี ด 6 – 8 กโิ ลกรมั * ข้าวโพดปน่ 3 – 5 กิโลกรัม * ปนู ยบิ ซมั 1 กโิ ลกรมั * หินปูนหรอื ผงชอลก์ 1 กิโลกรัม * ดเี กลือ 0.2 กิโลกรมั * น้า 80 กิโลกรมั * EM 1 ลิตร เมื่อหาส่วนผสมมาครบแลว้ กท็ า้ การตากและกองขเี ล่ือยยางพาราไว้ประมาณ 7 วัน จากนันค่อยท้าการ การปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๑๙

ผสมโดยการเตมิ นา้ ลงประมาณ 70 เปอรเ์ ซนต์ ทดสอบโดยการกา้ สว่ นผสมถา้ มีน้าซมึ ตามง่ามมือแสดงว่าการ ผสมนีผสมนา้ มากเกนิ ไปแต่ถ้าเมอื่ บีบแล้วขเี ล่อื ยแตกเป็น 3 กอ้ นแสดงว่าการผสมใช้ไดเ้ รียกว่าพอดีแล้วแตถ่ ้า วา่ ถ้าก้าแล้วแบมือออกแลว้ ขีเล่อื ยจับตวั ไม่เปน็ กอ้ นแสดงว่าเติมนา้ น้อยจนเกนิ ไป เมื่อผสมเขา้ กันได้ท่ีแล้วก็ท้า การกรอกใส่ถุงเพาะเหด็ ใสใ่ ห้ไดน้ า้ หนักประมาณ 800 – 900 กรมั หลังจากนนั กท็ า้ การรวบปากถงุ กระทุ้ง กบั พนื ให้แน่นพอประมาณหลังจากนนั ก็ทา้ การใส่คอขวด ขน้ั ตอนท่ี 3 การหยอดเช้ือและบ่มเช้อื เห็ดนางฟ้า การหยอด เช้อื และบ่ม เชอื้ เห็ดนางฟา้ เม่อื ทา้ ก้อนเชือเสร็จแลว้ เราก็จะน้ากอ้ นเชือท่ีไดท้ ้าการหยอดเชอื และบ่มเชือเห็ดนางรม และเหด็ นางฟ้า ตามล้าดบั โดยก่อนอื่นก้อนเชือท่ีได้นนั เรากจ็ ะน้ามาท้าการนึ่งเพ่ือฆา่ เชือ ถา้ มีหม้อน่ึงความดันอยู่แลว้ ก็ให้น่ึงท่ี ความดัน 25 ปอนด์ต่อตารางนิว โดยท้าการนึ่งท่ีระยะเวลาประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง ถ้าไม่มีหม้อนึ่งความดัน อาจใช้หมอ้ น่ึงจากถังนา้ มัน 200 ลิตร แทนกไ็ ด้ แต่จะตอ้ งท้าการนง่ึ ประมาณ 3 ครงั โดยทา้ การน่ึงท่ีอุณหภูมิ 100 อาศาเซลเซียส น่ึงท่ีระยะเวลาประมาณ 2-3 ช่ัวโมง และท้าการนึ่งทังหมด 3 ครัง เมื่อผ่านขันตอนการ น่ึงฆ่าเชือเรียบร้อยแล้ว เราก็จะท้าการหยอดเชือเห็ดลงสู่ก้อนเชือ เชือเห็ดจากเมล็ดข้าวฟ่างควรหยอดเชือลง ประมาณ 20 – 25 เมล็ด เมื่อหยอดเชือลงสู่ก้อนเชือเห็ดเสร็จแล้ว ให้ท้าการปิดปากถุงก้อนเชือให้เรียบร้อย หลังจากท้าการหยอดเชือลงในก้อนเชือเสร็จ เราก็จะท้าการบ่มเชือเห็ดในอีกขันตอนหน่ึง โดยการบ่มเชือนัน ตอ้ งนา้ ก้อนไปบ่มไว้ท่ีระยะเวลาประมาณ 20-25 วัน กรรมวิธกี ารบ่มก็ไม่ยุ่งยากอะไร เพียงแตต่ ้องเก็บให้เป็น ระเบียบ ไม่ถกู แดด ไมถ่ กู ฝน ลมไม่โกรกไมม่ แี มลง ไมม่ หี นู อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๐

ขน้ั ตอนท่ี 4 การเก็บเก่ยี วผลผลิตเห็ดนางฟา้ การเกบ็ เกย่ี วผลผลิตเหด็ นางรม และเห็ดนางฟา้ การปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๒๑

หลงั จากที่ไดเ้ ราท้าการบ่มเชอื เห็ดนางรม และเห็ดนางฟา้ เรียบร้อยแลว้ กเ็ ปน็ ชว่ งระยะเวลาของการเปิด ดอกและท้าการเก็บเกยี่ วผลผลิตเหด็ นางรม และเหด็ นางฟา้ จะออกดอกเม่ือมี ความชืนสูงพออากาศไม่ร้อนมาก เมื่อ ถกู เหน่ยี วน้าดว้ ยอากาศเยน็ ตอน กลางคืนกจ็ ะออกดอกได้ดี เทคนคิ ท่ีทา้ ให้ออกดอกสมา้่ เสมอและดอก ใหญ่สามารถท้าได้ดังนี เมอ่ื เกบ็ ดอกเสร็จต้องทา้ ความสะอาดหน้า กอ้ นเชอื โดยเขย่ี เศษเหด็ ออกให้ หมด งดใหน้ า้ สัก 3 วนั เพอื่ ให้ เชอื ฟกั ตัวแล้วก็กลับมาใหน้ ้าอีก ตามปกตเิ ห็ดกจ็ ะเกดิ เยอะ เหมอื นเดิมหรือเมื่อเกบ็ ดอกเห็ด เสรจ็ กท็ า้ ความสะอาดหนา้ ก้อน เชอื เหมอื นเดิม แลว้ รดั ปากถงุ ไมใ่ ห้อากาศเขา้ ทงิ ระยะเวลา ประมาณ 2 – 3 วัน ให้น้าปกติ หลงั จากนันกเ็ ปดิ ปากถุงกจ็ ะเกิด ดอกท่สี ม้า่ เสมอเปน็ การเหน่ยี วน้า ใหอ้ อกดอกพรอ้ มกนั เม่ือเหด็ ออก ดอกและบานจนไดข้ นาดทต่ี ้องการ แล้ว ใหเ้ กบ็ ดอกโดยจบั ที่โคนดอกทงั ช่อ โยกซ้ายขวาแลว้ ดงึ ออก บนลา่ ง- ระวังอย่าให้ปากถุงเหด็ บาน จากถงุ เห็ด ถ้าดอกเห็นโคนขาดติดอยู่ให้แคะออกทงิ ให้ เปน็ สาเหตทุ ้า สะอาดเพื่อป้องกันการเนา่ เสีย ให้เกดิ หนอนจากการวางไข่ของแมลงได้ การดลู กั ษณะดอกเหด็ ที่ควรเกบ็ คือดอกไมแ่ ก่ หรืออ่อนจนเกินไป ดูที่ ขอบดอกยังงุม้ อยคู่ ือดอกที่เหมาะแก่การเก็บเก่ียว ถา้ ขอบยกขนึ แสดงว่าแก่แลว้ ดอกเห็ดท่ีแก่จดั และออก สปอร์เป็นผงขาวด้านหลังดอกเห็ด ต้องรบี เก็บออก เพราะสปอร์จะเป็นตวั ชักนา้ ใหแ้ มลงเขา้ มาในโรงเรือนเพาะ เห็ดนางรม และเหด็ นางฟ้าได้ ข้ันตอนท่ี 5 ปัญหาที่พบในการเพาะเหด็ นางฟา้ ปญั หาท่ีพบในการเพาะเห็ดนางรม และเห็ดนางฟา้ เราสามารถวิเคราะหป์ ัญหาในการเพาะเห็ดนางรม และเห็ดนางฟ้าออกมาได้ 7 ขอ้ หลัก ๆ ดังนี 1. เช้อื ในถงุ ไม่เดนิ สาเหตุ ขณะหยอดเชอื ถุงก้อนเชือรอ้ นเกิน เชืออ่อนแอเกินไป และลืมหยอดเชือ วธิ แี ก้ไข ตงั กอ้ นเชือใหเ้ ยน็ อย่างน้อย 24 ช่งั โมง คัดเชือออ่ นแอทงิ กอ่ นหยอดเชือ ขณะหยอดเชอื ต้องมีสติ และสมาธิแนน่ แน่ การปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๒

2. หนอนแมลงหวีก่ นิ เส้นใย สาเหตุ แมลงหวี่ไข่ไว้ทฝี่ าจกุ หรือส้าลี วิธแี กไ้ ข ตรวจสอบสุขภาพอนามยั ของโรงเรอื น จกุ สา้ ลี ต้องนง่ึ ฆ่าเชอื ส้าลตี ้องอุดให้แน่น ปดิ กระดาษใหส้ นทิ อยา่ ให้มีช่อง 3. เชื้อเดิน แต่หยุด มีกลิน่ บูด มีนา้ เมือก มสี ีเหลอื ง เขียว หรือสีดา สาเหตุ มีราหรอื แบคทเี รยี ปนเปอื้ น น่งึ ฆ่าเชือไมห่ มด นงึ่ ฆ่าเชือดแี ตก่ ระบวนการลดความร้อนและเปดิ หมอ้ น่ึง ไมถ่ ูกต้อง เชอื เห็ดที่ใชไ้ มม่ ีคุณภาพ วธิ กี ารหยอดเชือไม่ดี บม่ ถงุ ก้อนเชือหนาแนน่ เกนิ ไปทา้ ใหก้ ารระบาย อากาศไมด่ ี มีคารบ์ อนไดออกไซคม์ าก วิธแี ก้ไข ให้ทบทวนสาเหตหุ ลกั ของการปนเป้ือน ตรวจกระบวนการนงึ่ เรื่อง เวลา อุณหภูมิ จ้านวนก้อน ไล่ อากาศในหม้อนึง่ ค่อยๆลดความรอ้ น อย่าเปิดหม้อนง่ึ อยา่ รวดเร็ว ตรวจดูจุกส้าลีว่าแนน่ หรือไม่ ใช้เชอื เห็ดที่ บรสิ ทุ ธ์ิ อบรมวธิ กี ารปลอดเชือ และปรบั ปรงุ วิธีทา้ งาน ห้องบม่ เชือควรมีอุณหภมู ิ 25 – 30 องศาเซลเซียส ปรับปรงุ เรื่องสุขอนามัยฟารม์ 4. เช้อื เดนิ เตม็ กอ้ น แตไ่ ม่ออกดอก สาเหตุ เชือเปน็ หมนั เชอื ไม่ดี สภาพแวดลอ้ มในโรงเรือนไมเ่ หมาะสม มสี ง่ิ ปนเป้อื น เชน่ รา ไร แบคทเี รีย หนอน และมีการใชส้ ารเคมีมากเกินไป วธิ แี ก้ไข จดั หาเชอื ใหม่ จดั สภาพในโรงเรือนใหเ้ หมาะสม จัดสขุ อนามัยฟารม์ แสง อุณหภูมิ ความชนื การ ถ่ายเทอากาศ และไมค่ วรใชส้ ารเคมกี า้ จัดแมลง 5. เกดิ ดอกเห็ดแต่ก้านยาวหมวกดอกไม่แผ่ออก สาเหตุ แสงไมเ่ พียงพอและมีคาร์บอนไดออกไซค์มากเกินไป วธิ แี กไ้ ข ปรับแสงให้มากขนึ จัดใหอ้ ากาศถ่ายเทไดด้ ขี ึน 6. เกิดหน่อมากแต่ดอกกลับเติบโตนอ้ ย สาเหตุ เชืออ่อนแอ เงื่อนไขเหมาะแกก่ ารเกิดหน่อ ไมเ่ หมาะแกก่ ารพัฒนาของดอก ขาดออกซิเจนและแสง อาหารในก้อนเชือไม่เพยี งพอหรือไม่มีคุณภาพ เชือที่ใช้ไมด่ ี มีคุณภาพต่้า มจี ุลินทรีย์ต่างๆรบกวน การถ่ายเท อากาศไมด่ ี ความชืนสงู เกนิ ไปและรดน้ามากเกนิ ไป เกดิ จากการใช้สารเคมีในช่วงเปิดดอก การแก้ไข เปลี่ยนเชอื ใหม่ ปรับเงอื่ นไขของการเกิดดอก เพิ่มการถ่ายเทอากาศ เพ่ิมช่องแสง ตรวจสอบคุณภาพของวัตถดุ ิบ ใช้เชือทม่ี อี ัตราการเดนิ เสน้ ใยดี ปรับโรงเรอื นไม่ใหเ้ หมาะกับจุลินทรยี ์ เพมิ่ การ ถ่ายเทอากาศ ลดความชืนลง ควรเลิกใชส้ ารเคมใี นชว่ งเปดิ ดอก 7. เกิดดอกเพยี งร่นุ เดยี วรนุ่ ตอ่ ไปไม่เกิด สาเหตุ อาหารในก้อนเชอื ไมเ่ พยี งพอ เกดิ การปนเป้ือน การจัดโรงเรือนไม่ดี เชือไม่ดี การแก้ไข ปรบั สตู รอาหารใหม่ จดั การเร่อื งสขุ อนามยั ฟาร์ม ปรับเร่อื งแสง อุณหภมู ิ ความชนื ขดู ลอกผิวสว่ นท่ี ปากถงุ ออก ปรับปรงุ วธิ กี ารจัดการและเอาใจใส่มากขนึ เปลี่ยนเชอื ใหม่ การปฏบิ ตั ทิ เี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๓

สว่ นที่ 4 บทสรุปการดาเนนิ งานมุง่ สคู่ วามเป็นเลิศ  การสง่ เสรมิ สนับสนนุ มงุ่ สู่ความเป็นเลศิ Best Practice เป็นวิธีการปฏิบัติงานท่ีดี ไมวาจะน้าไป ปฏิบัติท่ีไหน อยางไร ซ่ึงผลงานท่ีปฏิบัตินัน ไดน้าไปสูผลส้าเร็จ หนวยงานจ้าเป็นตองมีการ แลกเปล่ียนวิธีการปฏิบัติงานที่ดีกับหนวยงานยอย และมีการ แลกเปล่ียนระหว่างหน่วยงานตาง ๆ ทังภายในและภายนอก ผลสุดท้าย คือ การน้า Best Practice นันไปใช จนเปนมาตรฐาน  สรปุ Best Practice เปนวิธกี ารท้างานทด่ี ีที่สดุ ในแตละเร่ือง ซ่ึงสามารถเกิดขึนไดในทุก หนว่ ยงานจากหลายชองทาง ทงั ตัว ผู้น้าและผูรวมงาน ผูมีสวนไดสวนเสีย หรือภาวะปญหา และการ ริเร่ิมสรางสรรคพัฒนาที่มีขันตอน เม่ือมี วิธีการท้างานที่ดีตองท้าผ่านการเล่าเร่ืองท่ีเป็นการท้างานของตนเองมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในลักษณะของการ แลกเปล่ียนขามสายงาน ขามหนวยงานโดย เกิดขึนในระดับบุคคล ระดับกลุมคน และระดับหน่วยงานย่อย Best Practice ทไ่ี ดควรมกี ารบันทกึ เขยี นรายงานเพื่อการศกึ ษาพฒั นาและเผยแพรไดซ่งึ จะเกิดประโยชน์อย่าง ย่งิ การสง่ เสริม สนับสนนุ ใหก้ บั กลุ่ม โดยทาง กศน.ตา้ บลคลองแห ไดด้ า้ เนนิ การต่อยอดความรูใ้ หแ้ ก่กลุ่ม เรอ่ื ย ๆ จนทางกล่มุ พัฒนาฝีมือให้ดีย่งิ ขนึ เมื่อผ่านประสบการณ์ต่าง ๆ ทางดา้ นการรับงานจนเปน็ ทย่ี อมรับของ คนในชุมชน และกลุ่มหน่วยงานต่าง ๆ ทาง กศน.ต้าบลคลองแห ได้สนับสนุน ส่งเสริมด้านการตลาด โดยการ ฝึกอบรมให้ความรู้ดา้ นดิจิทัลชุมชน โดยการฝึกท้าเวปเพจของกลุ่ม และได้มีการสอนประชาสมั พันธส์ นิ คา้ ผ่าน Facebook และ ไลน์ จึงท้าใหเ้ ปน็ ที่รจู้ กั ของลูกคา้ กศน.อ้าเภอหาดใหญ่ โดยทา่ น ผอ.คณนิ ทองเอยี ด ไดใ้ ห้ความส้าคัญกบั กล่มุ อาชีพในชุมชนทุก ชุมชน โดยไดจ้ ดั ให้มกี ารสง่ เสริมการตลาดสินคา้ ในชุมชนให้เปน็ รจู้ กั และยอมรบั ของคนท่ัวไป โดยมีการจัด “โครงการมหกรรมวิชาการและการพัฒนาทกั ษะชีวติ ทางการศกึ ษา” ในวันที่ 30 มีนาคม 2561 ณ หอประชุมวทิ ยาลยั เทคนิคหาดใหญ่ ตา้ บลคอหงส์ อา้ เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา บรรยากาศในงานมีความ ครึกครืนมากเพราะเปน็ งานมหกรรมวิชาการ มี กศน.ตา้ บลเข้ารว่ ม 13 ต้าบล มีสินค้าและผลิตภณั ฑ์มา นา้ เสนอกันอยา่ งมากมายและหลากหลาย ท้าให้มีการซอื สนิ ค้ากนั อยา่ งสนุกสนาน การปฏบิ ตั ิทเี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๒๔

บรรยากาศในงานมหกรรมวชิ าการ กศน.อาเภอหาดใหญ่ ผลิตภณั ฑส์ นิ คา้ จากตาบลคลองแห การปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๒๕

การต่อยอดกลุม่ การเพาะเห็ดนางฟ้าครบวงจร โดยการจดั ทาโครงการตอ่ เน่ือง ช่อื โครงการ การอบรมทาปยุ๋ หมักชีวภาพจากกอ้ นเช้ือเหด็ หลักการและเหตุผล กศน.อ้าเภอหาดใหญ่ ได้รบั การจดั สรรงบประมาณ จากส้านกั งาน กศน.จังหวดั สงขลาแผนงานพืนฐาน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบด้าเนินงาน การศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความส้าคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนา คุณภาพของประชาชนกลมุ่ เป้าหมายกระบวนการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ มีความส้าคัญต่อการเรียนรูข้ อง ผูเ้ รยี นและพัฒนาคุณภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายกระบวนการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการในรูปแบบการ ให้ความรฝู้ ึกอบรม การจดั กจิ กรรมเศรษฐกจิ พอเพยี ง ถือวา่ เป็นปรัชญาการดา้ เนินชวี ิตเศรษฐกิจทจ่ี ะตอ้ ง เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนรู้จัก การ ประมาณตน มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน บนฐานความรู้คู่ คุณธรรม เพื่อการด้ารงชีพอย่างยั่งยืน ในหลากหลายอาชีพ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง และเก่ียวข้องกับปัจจัย ต่างๆ เป็นอนั มาก อาทิ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติสง่ิ แวดล้อม การเกษตร การศกึ ษา การสาธารณสุข การ พัฒนาชุมชน เพ่อื เปน็ เคร่ืองก้ากับการดา้ รงชวี ิตทุกชวี ิตอย่างมีความสขุ และการจดั ท้าโครงการอย่างพอเพียง เพื่อเป็นการสร้างอาชีพเสริมส้าหรับเกษตรกรซ่ึงสามารถท้ารายได้ให้กับเกษตรกรได้มากส้าหรบั การเพาะเลยี ง เห็ดก้อนแตป่ ัญหาทต่ี อ้ งพบหลงั จากการเพาะเห็ดทต่ี ้องตามมาหลังจากก้อนเหด็ หมดอายุ เปน็ จ้านวนมากท่ตี ้อง น้าไปท้าลายทิง อาจเป็นปัญหาต่อสภาพแวดล้อม วิธีท่ีดีคือการน้าก้อนเห็ดไปท้าลายท่ีมีประโยชน์โดยท้าให้ ย่อยสลายเปน็ ปุ๋ยหมกั ส้าหรบั บ้ารุงดินและบ้ารุงพืช ทางการเกษตร เป็นปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพดี จะได้ธาตุอาหาร ท่ีเหลือตกค้างในก้อนเห็ดเก่าใชบ้ ้ารงุ อาหารใหก้ ับต้นพืช ธาตุอาหารได้จากโปรตนี จากเนือเยือในเส้นใยเห็ด ซ่ึง เป็นกระบวนการเรยี นรู้ ท่เี ราจะเรยี นรู้ และนา้ องคค์ วามรู้ท่ีไดข้ ยายสู่การปฏิบัตริ ่วมกันอย่างแทจ้ รงิ การปฏิบัติทเี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๖

กศน.อ้าเภอหาดใหญ่จากการท่ีได้จัดเวทีประชาคม และสรุปแผนประจ้าต้าบล ในพืนที่อ้าเภอ หาดใหญ่แล้วพบว่า กิจกรรมท่ีประชาชน สนใจและควรได้รับการส่งเสริมการศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ในรูปแบบดังกล่าวโดยนา้ แนวทางการจดั กิจกรรมมาสนับสนนุ สง่ เสรมิ จัดกิจกรรมการศกึ ษา เพื่อเรียนร้หู ลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ใหแ้ กป่ ระชาชนกลมุ่ เปา้ หมายนา้ ปรับไปใช้ในการดา้ เนนิ ชวี ติ ตอ่ ไป วัตถุประสงค์ ๑ เพ่อื ใหม้ ีความรู้และทักษะทีจ่ ้าเปน็ สา้ หรบั การดา้ รงชวี ิตในสังคมปจั จบุ นั ๒. เพ่อื ปลูกจติ ส้านึก ในการลดรายจา่ ย สร้างรายได้ การปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๗

กระบวนการจัดโครงการต่อเนอื่ งเพือ่ ส่งเสรมิ สนบั สนุนกลุ่มใหม้ ีความเขม้ แข็งและเพ่มิ ช่อง ทางการสร้างรายไดเ้ สรมิ ใหช้ ุมชน การปฏิบตั ิทเี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๘

๑. ชื่อโครงการ การอบรมใหค้ วามรู้การแปรรูปผลติ ภณั ฑเ์ หด็ ๒. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้น สอดคล้องกับนโยบายของส้านักงาน กศน.จุดเน้นการด้าเนินงานตามยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ 6 จัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตร ธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน 6.1 พัฒนาบุคลากรและแกนน้าเกษตรกรในการเผยแพร่ และจดั กระบวนการเรยี นร้ตู ามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ กู่ ารพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม ๓. หลกั การและเหตุผล กศน.อา้ เภอหาดใหญ่ ได้รับการจดั สรรงบประมาณ จากสา้ นกั งาน กศน.จังหวดั สงขลาแผนงานพืนฐาน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตท่ี 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบด้าเนินงาน การศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความส้าคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนา คุณภาพของประชาชนกลมุ่ เป้าหมายกระบวนการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ มีความส้าคัญต่อการเรียนรูข้ อง ผู้เรยี นและพฒั นาคุณภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายกระบวนการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในรปู แบบการ ให้ความรู้ฝึกอบรม การจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ถือว่าเป็นปรัชญาการด้าเนินชีวิตเศรษฐกิจที่จะต้อง เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนรู้จัก การประมาณตน มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน บนฐานความรู้คู่ คุณธรรม เพ่ือการด้ารงชีพอย่างย่ังยืน ในหลากหลายอาชีพ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง และเกี่ยวข้องกับปัจจัย ต่างๆ เปน็ อันมาก อาทิ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม การเกษตร การศึกษา การสาธารณสุข การ พฒั นาชุมชน เพอ่ื เป็นเครื่องก้ากบั การด้ารงชีวิตทุกชีวิตอย่างมคี วามสขุ และการจัดท้าโครงการอย่างพอเพียง เพ่ือเป็นการสร้างอาชีพเสริมส้าหรับเกษตรกรซ่ึงสามารถท้ารายได้ให้กับเกษตรกรได้มาก ทังนี เห็ดเป็นอาหาร ประเภทโปรตีนท่ดี ีเห็ดยังสามารถใช้แทนเนือสัตว์ต่าง ๆ สาหรบั คนที่งดกินเนือสตั ว์ นอกจากนันเห็ดยังมีคุณค่า ทางอาหารในดา้ นอื่นๆอีกมากมาย การปอ้ งกันโรคมะเร็ง,โรคหัวใจ,ลดคลอเรสเตอรอลในเส้นเลือด หรอื ยังช่วย ในระบบขับถ่าย เพราะเห็ดมีสารอาหารที่พบได้สูงกว่าเนือสัตว์บางชนิดเช่น สารเบต้า -กลูแคน,ไฟเบอร์, กรดอะมิโน จึงท้าให้เห็ดเป็นท่ีต้องการของผูบ้ ริโภค เนื่องจากเห็ดเป็นผลผลิตท่ีมีอายุค่อนข้างสนั ท้าใหก้ ารเกบ็ รักษาเป็นสิ่งที่จ้าเป็น ดังนันจึงต้องมีการจัดการในเรื่องของการเก็บเก่ียวการเก็บรักษาร่วมไปถึงการถนอมเห็ด ใหส้ ามารถใชป้ ระโยชน์ไดส้ ูงสุดในกรณีท่ีเห็ดมีปริมาณมากเกินกวา่ ตลาดจะรบั ได้การเก็บรักษาและการถนอมไว้ อย่างเดียวคงไม่พอจึงจ้าเป็นท่ีจะต้องน้าเห็ดมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเป็นการเพ่ิมมูลค่าให้แก่เห็ด กศน.อา้ เภอหาดใหญ่จากการท่ีได้จัดเวทีประชาคม และสรุปแผนประจ้าตา้ บล ในพืนทอี่ ้าเภอหาดใหญ่ แล้วพบว่า กิจกรรมท่ีประชาชน สนใจและควรได้รับการส่งเสริมการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ในรูปแบบดังกล่าวโดยน้าแนวทางการจัดกิจกรรมมาสนับสนุน ส่งเสริมจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือ เรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ให้แกป่ ระชาชนกล่มุ เป้าหมายน้าปรบั ไปใช้ในการด้าเนนิ ชวี ิตตอ่ ไป ๔.วตั ถุประสงค์ ๑ เพ่อื นา้ เสนอทางเลือกในการประกอบอาชีพส้าหรบั ผทู้ ีต่ ้องการอาชีพเสริมรายได้ ๒.เพื่อเพ่ิมมลู ค่าให้กบั สินค้าทางการเกษตร การปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๙

กระบวนการจัดโครงการต่อเนื่องเพอื่ ส่งเสริมสนบั สนุนกลุม่ ใหม้ ีความเข้มแขง็ และเพม่ิ ช่อง ทางการสร้างรายได้เสรมิ ให้ชมุ ชน การอบรมใหค้ วามรู้การแปรรูปผลติ ภณั ฑเ์ ห็ด การปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๓๐

1.ช่ือโครงการ การอบรมให้ความร้เู รื่องการจัดต้ังวิสาหกิจชุมชนเห็ดนางฟา้ 2.ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจดุ เนน้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพคนใหม้ ีคณุ ภาพ ขอ้ ที่ ๖ จัด กระบวนการเรียนรตู้ ามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ ู่การพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมอย่างย่ังยืน ๖.๑ พฒั นา บุคลากรและแกนนา้ เกษตรกรในการเผยแพร่และจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามแนวทางเกษตรธรรมชาติสูก่ าร พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม 3. หลักการและเหตุผล กศน.อ้าเภอหาดใหญ่ รับการจัดสรรงบประมาณ แผนงาน : พืนฐานด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตท่ี ๔ ผู้รับบริการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบ งบ ด้าเนินงาน การจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ 256๒ เพ่ือ ดา้ เนินการจัดกจิ กรรม ไตรมาส ๒ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ นัน กศน.อ้าเภอหาดใหญ่ เห็นความส้าคัญและเน้นการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม แนวทางของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความส้าคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาคุณภาพ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายกระบวนการจัดการศึกษาแบบบูรณการในรูปแบบการฝึกอบรม การจัดกิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง ถือวา่ เปน็ ปรัชญาการด้าเนินชวี ิตเศรษฐกจิ ท่ีจะต้องเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ให้ประชาชนรู้จัก การประมาณตน การมีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน บนฐานความรู้คู่คุณธรรม เพ่ือการด้ารงชีพอย่างยั่งยืน ใน หลากหลายอาชีพ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง และเกี่ยวข้องกับปัจจัย ต่าง ๆ เป็นอันมาก อาทิ การจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม การเกษตร การศึกษา การพฒั นาชมุ ชน เพอ่ื เปน็ เครื่องก้ากับด้ารงชวี ติ ทุกชีวิต อย่างมคี วามสุข และการจดั โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดตงั วสิ าหกจิ ชมุ ชนเห็ดนางฟ้า เพอ่ื เปน็ การสร้าง อาชีพเสริมส้าหรับเกษตรกรซึ่งสามารถท้ารายได้ให้กับเกษตรกรได้มาก ทังนีเพ่ือสร้างความมั่นคงให้กับชุมชน จากการจ้าหน่ายผลผลิต และเพื่อสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง และได้จัดตังกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชนเป็นกิจกรรมทาง เศรษฐกิจในการผลิตสินค้าและบริการ ท่ีเกิดจากการร่วมกันคิดร่วมกันท้า ของคนในชุมชนบนพืนฐานของ ความรู้ ทนุ ทรัพยากร ประสบการณ์ ตลอดจนศกั ยภาพของชุมชนโดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างรายได้และให้ชุมชน พ่ึงตนเองได้มากกว่ามุ่งหาก้าไรสูงสุด โดยใช้งบประมาณ แผนงาน : พืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพคน ผลผลิตที่ ๔ ผู้รับบริการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบ งบด้าเนินงาน การจัดการศกึ ษาเพ่อื เรียนร้หู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปีงบประมาณ 25๖๒ กศน.อ้าเภอหาดใหญจ่ ากการที่ได้จัดเวทปี ระชาชาคมและสรปุ แผนประจา้ ต้าบล พบวา่ กิจกรรม ที่ประชาชนสนใจและควรได้รับการส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใน รูปแบบการให้ความรูใ้ ห้ประชาชนกลุม่ เป้าหมายนา้ ประโยชน์ทีไ่ ด้รับไปปรับใช้ในการดา้ เนนิ ชวี ิต 4. วตั ถุประสงค์ 1 เพื่อใหผ้ ู้เข้าร่วมอบรมทกุ คนในกลุม่ ไดป้ ระกอบอาชีพอสิ ระ ๒ เพือ่ สรา้ งความม่ันคงใหก้ บั ชุมชนจากการจ้าหน่ายผลผลิต และเพ่ือสร้างใหช้ ุมชนเข้มแข็ง การปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๓๑

กระบวนการจดั โครงการตอ่ เน่อื งเพอ่ื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กลุ่มใหม้ คี วามเข้มแขง็ และเพม่ิ ช่อง ทางการสร้างรายไดเ้ สรมิ ให้ชุมชน การอบรมให้ความรเู้ รื่องการจัดตงั้ วสิ าหกจิ ชุมชนเหด็ นางฟ้า การปฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๓๒

การออกบู๊ธ แสดงสินคา้ งานประชารัฐ การปฏิบัตทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๓

การออกบู๊ธ แสดงสินคา้ งานประชารัฐ การปฏิบัตทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๔

การทาปยุ๋ หมักจากก้อนเช่ือเหด็ ตอ่ ยอดกบั กลมุ่ อาชีพเกษตรกร การปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๕

แหล่งเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียง “การเพาะเห็ดครบวงจรและการปลูกผักยกแคร่ ชมุ ชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ย่ังยนื ระดับตาบล ของสานกั งาน กศน” ข้นั ตอนการเตรยี มดินและการสร้างโรงเรือน เพ่ือปลูกผักยกแคร่ การปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๓๖

เอกสารการปฏิบตทัิ ี่เป็นเลิศ Best Practice การส่งเสริมสนบั สนุน เพ่อื มงุ่ สู่ความเป็ นเลศิ แหลง่ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง (ชุมชนตน้ แบบคลองแห) กศน.ต าบลคลองแห หมทู่ ่ี 2 บา้ นหนองบวั ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา นางบุญเรือน ดา้ มทอง ครู กศน.ต าบลคลองแห ศูนยก์ ารศกึษานอกระบบและการศึกษาตามอธยั าศยอั าเภอหาดใหญ่ ส านกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั จงั หวดสั งขลา ส านกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ส านกั งานปลดกั ระทรวง ศึกษาธิการ กศน.ต ำาบลคลองแ การปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook