Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore best practice ด้วง 64 - e-book 5

best practice ด้วง 64 - e-book 5

Published by บุญเรือน ด้ามทอง, 2021-04-28 10:25:29

Description: best practice ด้วง 64 - e-book 5

Search

Read the Text Version

เอกสารการปฏิบติทีเ่ ป็นเลิศ Best Practice การส่งเสริมสนับสนุน เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลศิ แหล่งเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี งการเพาะเห็ดนางฟ้าครบวงจรและการแปรรูป กศน.ตาบลคลองแห หม่ทู ่ี๒ บ้านหนองบัว ตาบลคลองแห อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา นางบุญเรือน ด้ามทอง ครู กศน.ตาบลคลองแห ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหาดใหญ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสงขลา สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ เอกสารฉบับน้ี กศน.ตาบลคลองแห สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหาดใหญ่ จัดทาขึ้นเพือ่ ใช้ประกอบการจดั ทาการปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นเลศิ Best Practice ประจาปี 2564 ของ กศน.ตาบลคลองแห ข้าพเจ้า หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่และด้านการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice ประจาปี 2564 เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นางานในขน้ั ตอ่ ไป ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้ึน

สำรบัญ 1 11 คำนำ 16 สำรบัญ 27 สว่ นท่ี 1 สภำพทวั่ ไปและขอ้ มลู พน้ื ฐำน สว่ นท่ี 2 ผลงำนที่ประสบควำมสำเรจ็ สว่ นท่ี 3 กำรดำเนนิ งำนสคู่ วำมเปน็ เลิศ ส่วนที่ 4 บทสรปุ ส่คู วำมเป็นเลศิ

สว่ นท่ี ๑ สภำพท่ัวไป และข้อมลู พ้นื ฐำน ๑. สภำพทำงกำยภำพของชมุ ชน ประวตั ิตำบลคลองแห ในสมัยทีก่ อ่ สร้างพระบรมธาตุ ท่นี ครศรีธรรมราช เม่อื ก่อสรา้ งเสร็จกจ็ ะมีพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และมีการเฉลิมฉลอง ได้มีการส่งข่าวไปยังหัวเมืองต่างๆ เช่นกลันตัน ไทรบุรี ตรังกานูเปอริสก็ได้จัดขบวน มาร่วมพิธีมหาบุญ บางก็ไปทางน้าใชเ้ รือ ทางบกใช้ม้า ใช้เกวียนเดินเทา้ ฯลฯ หัวเมืองกลันตนั เดินทางทางเรอื พร้อมด้วยแก้วแหวนเงินทองของมีค่าท่ีผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคเพื่อนาไปบรรจุในเจดีย์เพ่ือถวายเป็นพุทธ บูชา ส่ิงของมีค่าได้บรรจุไวใ้ นไหบ้าง หีบบ้างท่ีมีค่ามากบรรจุในนกคุ่มเงิน นกคุ่มทอง มีความเช่ือวา่ นกคุ่มเปน็ บ่อเกิดแห่งโชคลาภและเพื่อพรางตาจากโจรผู้ร้ายเพราะดูคล้ายเคร่ืองประดับสวยงามบนเรือ ตลอดทางได้ตี ฆ้องร้องเปา่ ให้ผคู้ นได้รว่ มโมทนาบญุ เมือ่ ลอ่ งเรือมาถึงทางแยกสาคัญผิดคิดวา่ เป็นเสน้ ทางทใี่ กล้ท่สี ุด พอล่องเรอื มายงิ่ ไกลคลองยงิ่ แคบจึงรู้ ว่าหลงทิศผิดทาง จึงหาท่ีหยุดพักค้างคืน มาเจอพื้นที่เหมาะเป็นเกาะแก่งอยู่กลาง มีแม่น้าสามสาย สายหนงึ่ มาจากทิศใต้สายหนึ่งมาจากทิศตะวันตก มาบรรจบกันเป็นสายน้าไปทางทิศตะวันออก รุ่งเช้าเตรียมเดินทาง ต่อ บังเอิญมีขบวนม้าผ่านมาและทราบว่าเขากลับจากนครศรีฯลฯ พิธีเสร็จส้ินแล้ว ไม่สามารถนาทรัพย์ สมบัติบรรจุในองค์พระธาตุได้อีก สร้างความเสียอกเสียใจให้กับนักบุญได้มีการประชุมกันเร่ืองทรัพย์สมบัติว่า จะทาอย่างไร บ้างก็ให้คืนเจ้าของ บ้างก็ว่าแบ่งกัน เสียงส่วนใหญ่จะไม่นาทรัพย์สินกลับ จึงสมมติท่ีตรงน้ีเป็น ประหน่ึงเจดีย์และฝังสิ่งของมีค่าทุกอย่างไว้เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ในไหเต็มไปด้วยของมีค่า นกคุ่มเงินนกคมุ่ ทองบรรจุแก้วแหวนเงินทอง มีการบูชาพระรัตนตรัย สวดสรรเสริญพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณเพ่ือระลึกถึง คุณของพระพุทธเจ้าหลังจากนั้นมีการชุมนุมเทวดาเพื่อเชิญเทพเทวามาปกปักรักษาส่ิงของมีค่าอย่าให้มีใคร นาไปใช้ส่วนตวั เพราะทุกอยา่ งถวายเป็นของสงฆ์แลว้ คุณยายคนหนึ่งหยิบผ้าม้วนทูนข้ึนมาอธิษฐานและจิตเพ่งไปท่ีผ้าม้วนทูนประหน่ึงจะให้ผ้าม้วนทูนปิด ปากไหเพือ่ ป้องกนั ส่งิ ของท่ีอยู่ในไห มชี ายคนหน่ึงนาขา้ วสารมาเสกแลว้ หว่านไปรอบๆ หลมุ มีผูค้ งแกเ่ รยี นคน หน่ึงเสกน้ามนต์แล้วประพรมไปรอบๆ หลังจากฝังส่ิงของทั้งหมดก็กรวดน้าอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ร่วมปกปัก รักษาทรัพย์ เช่นทวดขุนพิทักษ์ ณ เชียงใหม่ ทวดชี ทวดดา ทวดโจรหลังจากนั้นได้นาฆ้องที่ชี้เป็นสัญญาณ บอกบุญ มาอธิษฐานเป็นพุทธบูชาแล้วก็จมฆ้องลงในแม่น้าน้ัน ชาวบ้านจึงเรียกชื่อตรงนั้นว่า “คลองฆ้องแห่” บริเวณที่ฝังนกคุ่มเงิน นกคุ่มทอง ด้านบนมีสุมทุมพุ่มไม้ปกคลุมหนาแน่น คล้ายนกคุ่มชาวบ้านจึงว่า “โคก นกคุ่ม”ต่อมาข่าวการฝังทรัพย์สมบัติ ได้ทราบไปถึงฝร่ังนักล่าสมบัติ โดยใช้ลายแทงในการสืบค้น เม่ือมาถึง บริเวณที่บ่งบอกก็ลงมือขุดพอขุดได้พักหน่ึงก็เจอมดคันตัวใหญ่ออกมาเต็มไปหมดไม่สามารถขุดต่อได้ จึงให้ หมอมาทาพิธี มดท่เี หน็ กลับกลายเป็นข้าวสาร เมือ่ ขุดตอ่ กเ็ จองูม้วนตวั อยู่ท่ีปากไห เม่ือหมอมาแกง้ กู ลายเป็น ผ้าม้วนทูน ชาวบ้านเรียกผ้าม้วนทูนยาย หลังจากนั้นทาการขุดต่ออีกปรากฏว่าฟ้ามืด ลมกรรโชคแรงเกิดฝน ห่าแก้วตกลงใส่พวกฝร่ังทาให้เกิดการเจ็บปวดน้าฝนได้ชะเอาดินท่ีขุดข้ึนมาไหลกลับไปในหลุมตามเดิม หมอ พยายามแกฝ้ นห่าแลว้ แตไ่ ม่สาเร็จจงึ ลม้ เลิกการขุดและกลบั ไป ต่อมา พ.ศ. ๒๒๖๐ มีการสร้างวัดบริเวณใกล้กับสถานท่ีฝังทรัพย์สมบัติ คือบริเวณแม่น้าท่ีมาจากทิศ ใต้ (คลองเตย) มาประจบกับแม่น้าท่ีมาจากทิศตะวันตก (คลองลาน) ไปทิศตะวันออก (คลองแห)หลังจากท่ี ชาวบ้านอาศัยอยู่กันเป็นจานวนมาก ทางอาเภอให้มีการสารวจเพื่อให้ตั้งช่ือหมู่บ้าน โดยผู้ที่มาสารวจมาจาก เมืองกรุงพูดภาษากลาง เม่ือสอบถามชาวบ้านๆ พูดสาเนียงปักใต้ว่า “คลองฆ้องแห่”จึงเขียนตามคาพูดว่า การปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๔

คลองฆ้องแห”นานวันเข้าคนใต้พูดเร็ว ทาให้เสียงคลองกับฆ้อง กล้ากัน เม่ือพูดเร็วจะได้ยินว่า “คลองแห” ต่อมามีการตัง้ ชอื่ วา่ หมู่บ้าน คลองแห มาจนปจั จุบนั เขตกำรปกครอง “พระราชกฤษฎีกาจัดต้ังเทศบาลตาบลคลองแห อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ. ๒๕๕๖” เมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๖ รวมเน้ือท่ีท้ังหมด ๒๔.๕๐ ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองตาบลคลองแหทั้ง ตาบล จานวน ๑๑หมู่บ้าน (๓๕ ชุมชน) ทตี่ ง้ั และอำณำเขต ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกับเขตตาบลคเู ต่า อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับเขตตาบลหาดใหญ่ และตาบลคอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับเขตตาบลนา้ น้อย อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับเขตอาเภอบางกลา่ จังหวดั สงขลา เนื้อท่ี มเี นอ้ื ทโ่ี ดยประมาณ ๒๔.๕๐ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ ๑๕,๓๑๒ไร่ การปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๕

ด้ำนโครงสรำ้ งพน้ื ฐำน จำนวน ตำรำง แสดงข้อมูลโครงสรำ้ งพืน้ ฐำน และสำธำรณปู โภค ๘๘ สาย ๒๓ สาย ประเภท ๑๑๐ สาย ๑. ถนนคอนกรตี ๑๔ สาย ๒. ถนนลาดยาง ๓. ถนนลกู รัง หมู่ที่ ๒ บ้านหนองบวั ๔. หว้ ย/หนอง/คลอง/บึง หมูท่ ่ี ๔ บ้านคลองเตย หมู่ท่ี ๖ บ้านหนองนายขุ้ย ๔.๑ คลองลาหว้ ย หมทู่ ่ี ๘ บ้านท่าช้าง ๔.๒ คลองลาน หมทู่ ี่ ๑๐ บา้ นหนองทราย ๔.๓ คลองด้วน ๔.๔ คลองเตย ๔.๕ คลองแห ๔.๖ คลองอู่ตะเภา ๔.๗ หนองหาร ๔.๘ หนองทราย ๔.๙ หนองยีไร ๔.๑๐ หนองโอน ๔.๑๑ หนองแกน ๔.๑๒ หนองยูง ๔.๑๓ หนองมูล ๔.๑๔ หนองโพรง ท่มี า : กองชา่ ง เทศบาลเมืองคลองแห ๒. สภำพทำงสังคม – ประชำกร ด้ำนสงั คม จำนวนหมบู่ ้ำนและชุมชน มที ัง้ หมด ๑๑หมู่บ้ำน ไดแ้ ก่ หมู่ที่ ๑ บ้านทา่ ไทร หมู่ท่ี ๓ บ้านคลองแห หมทู่ ี่ ๕ บา้ นป่ากัน หมทู่ ี่ ๗ บา้ นทงุ่ ปาบ หมู่ท่ี ๙ บา้ นทุง่ นา้ หมทู่ ี่ ๑๑ บา้ นเกาะหมี การปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๖

ตำรำง แสดงข้อมูลทัว่ ไปของชุมชนในเขตเทศบำลเมอื งคลองแห ท่ี ชมุ ชน ประธำนชมุ ชน พืน้ ที่ จำนวนประชำกร จำนวน (ตำรำงกิโลเมตร) (คน) ครัวเรอื น ๑,๗๖๐ ๑ ท่าไทร ร.ต.ต.สวง ทะสะระ ๐.๙๒๒ ๑,๐๗๘ ๘๔๔ ๑,๔๘๗ ๔๘๕ ๒ สะพานดา นายใหหยัด หมะหวีเอน็ ๐.๑๓๖ ๔๖๐ ๖๔๕ ๑,๑๔๕ ๑๙๔ ๓ สาราญสขุ นางอมั พร ชอบงาม ๐.๒๙๐ ๑๐๗ ๓๓๗ ๕๖๖ ๓๔ ๔ สจั จกุล นายเกษม โตะ๊ หมาน ๐.๑๑๐ ๘๒๘ ๒๐๔ ๑,๗๑๐ ๑๖๑ ๕ คลองลาน นายอรรถสิทธ์ิ ดาชุม ๐.๒๒๓ ๕๕๙ ๗๙๑ ๔๓๑ ๒๖๖ ๖ มสุ ลมิ บ้านหนองบัว นายสะมะแอ หมดั อาดม้ั ๐.๑๐๙ ๗๗๖ ๒๕๐ ๑,๑๗๖ ๙๒๖ ๗ หนองบวั นายประจวบ บรุ ีเรือง ๑.๓๗๔ ๔๓๖ ๘๘๐ ๗๖๕ ๓๕๓ ๘ เมอื งใหม่ ๖นรินทร์ธร นายวชิ ัย ศริ ริ ักษ์ ๐.๑๕๙ ๑,๑๐๕ ๔๑๕ ๓๙๔ ๗๘๐ ๙ บ้านคลองแห นายสวัสดิ์ ชานาญศิลป์ ๑.๒๘๒ ๑,๖๒๑ ๑๕๔ ๑,๔๖๒ ๖๔๖ ๑๐ อมั พวนั นายมนูญ เล็กสุทธิ์ ๐.๗๔๑ ๓๒๕ ๕๑๐ ๕๑๑ ๑๘๐ ๑๑ บางมวง นายสมาน หมัดหมัน ๐.๐๖๔ ๑๔๕ ๑๒ วัดคลองแห นายยุทธศักด์ิ ดวงสวุ รรณ ๐.๗๘๖ ๑๓ หลงั บิ๊กซี นายนิตนิ ัย ไชยภูมิ ๐.๔๕๔ ๑๔ สขุ โขทยั นายวรพนั ธ์ ย่องลัน่ ๐.๐๖๘ ๑๕ เพลนิ จิต-เมอื งใหม่ ๕ นายประทปี ทับทอง ๐.๑๔๘ ๑๖ เมืองใหม่ ร.ต.ต.โกวิท วิลาการ ๐.๔๔๑ ๑๗ คลองเปล นางโสภา สงั ขาชาติ ๐.๔๔๓ ๑๘ ป่ากนั นายสมคดิ อรนพ ๑.๖๙๖ ๑๙ หนองนายขุ้ย นายสาราญ บุญรตั น์ ๒.๔๔๕ ๒๐ ทงุ่ ปาบ นางอามร ศรแก้ว ๑.๑๓๑ ๒๑ ท่าช้าง นางอารนี า บิลโตะเตะ ๐.๙๒๗ ๒๒ ทุง่ นา้ นายชานนท์ เหมมา ทวโี ส๊ะ ๐.๖๒๑ ๖๙๖ ๒๓ หนองทราย นายเลาะ โหดหมาน บิลกอ่ เดม็ ๑.๘๒๐ ๖๙๐ ๒๔ คลองควาย นายเจะด่าโอ๊ะ บลิ แหละ ๖๓๒ ๒๐๘ ๒๕ บา้ นเกา่ ร.ต.อิทธพิ ล ขนุ รงค์ ๑.๓๒๐ ๖๓๘ ๑๘๒ ๒๖ มสั ยดิ เกาะหมี นายนพดล บริรกั ษ์ ๑.๓๙๙ ๕๘๐ ๑๖๘ ๒๗ เกาะหมี นายสะการยิ า ผดงุ เดช ๑.๐๔๔ ๑,๑๒๖ ๓๓๗ ๒๘ ปา่ ยาง นายสุระพงศ์ ลคั นทินพร ๑.๐๑๐ ๒๘๖ ๘๑ ๒๙ แก้วสวา่ ง ร.ต.ต.ผุด อนิ ทมะโน ๐.๑๒๖ ๑,๐๕๐ ๔๙๑ ๓๐ ปรีดเ์ิ ปรม-ศิริวรรณ นายพงษศ์ ักดิ์ หมุยจนิ ดา ๐.๑๙๔ ๓๓๙ ๑๓๕ ๓๑ อนสุ รณ์อาจารย์ทอง นายมนัส ๐.๖๐๙ ๑,๒๐๙ ๖๓๐ ๓๒ ทงุ่ ทอง นางอุดมรัตน์ ๐.๖๕๔ ๑,๑๔๒ ๖๔๒ ๐.๓๖๒ การปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๗

ที่ ชุมชน ประธำนชุมชน พน้ื ที่ จำนวนประชำกร จำนวน (คน) ครัวเรือน ๓๓ ประชาสรรค์ นายเมธา ม่ิงคาเลิศ (ตำรำงกโิ ลเมตร) ๑,๓๖๑ จนั ทมณี ๐.๓๘๕ ๖๒๒ ๘๘๗ ๓๔ ทรายทอง นายสพุ ฒั น์ ดิษโร ๐.๖๙๘ ๙๕๑ ๑๘๗ ๑.๓๐๙ ๑,๔๙๔ ๓๕ เอื้ออาทร นางชอ้อน ทมี่ า : กองสวสั ดิการสงั คม เทศบาลเมอื งคลองแห จำนวนประชำกร จานวนหลงั คาเรือนในเขตพ้นื ท่รี บั ผดิ ชอบ ๑๔,๙๐๐ คน จานวนประชากรทัง้ หมดในพ้ืนท่ีตามฐานทะเบยี นราษฎร ๓๒,๐๔๐ คน ตำรำง แสดงจำนวนประชำกรของเทศบำลเมืองคลองแห อำยุ (ป)ี เพศ รวม ชำย (คน) หญงิ (คน) ๔๗๑ ๒๒๘ ๒,๘๕๒ น้อยกวา่ ๑ ปี ๒๔๓ ๑,๓๘๔ ๒,๔๔๗ ๑,๑๗๒ ๒,๓๐๒ ๑-๖ ๑,๔๖๘ ๑,๑๐๗ ๒๑,๒๒๐ ๒,๗๔๘ ๗-๑๒ ๑,๒๗๕ ๑๑,๔๖๕ ๑,๕๖๒ ๓๒,๐๔๐ ๑๓-๑๗ ๑,๑๙๕ ๑๖,๙๑๘ ๑๘-๖๐ ๙,๗๕๕ ๖๐ ข้นึ ไป ๑,๑๘๖ รวม ๑๕,๑๒๒ ที่มา : งานทะเบียนราษฎร สานกั ปลดั เทศบาล เทศบาลเมอื งคลองแห กำรศึกษำ ตำรำง แสดงสถำนศึกษำในสงั กดั ของเทศบำลเมืองคลองแห ชือ่ สถำนศึกษำ/ช้นั จำนวนหอ้ งเรยี น จำนวนเด็กนักเรยี น (คน) โรงเรียนเทศบำล ๑ (อนบุ ำลอจั ฉริยะ) ๗๗ ๖๔ อนุบาล ๑ ๓ ๗๐ ๔๓ อนุบาล ๒ ๒ ๔๑ ๓๔ อนบุ าล ๓ ๒ ๓๒๙ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ๑ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ๑ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ๑ รวม ๑๐ ทีม่ า : งานสง่ เสริมคุณภาพและมาตรฐานหลกั สตู ร กองการศึกษา เทศบาลเมอื งคลองแห การปฏิบัตทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๘

ตำรำง แสดงศนู ย์พฒั นำเด็กเลก็ ในสงั กดั ของเทศบำลเมอื งคลองแห ชอ่ื ศูนยพ์ ฒั นำเดก็ เล็ก จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน หอ้ งเรยี น เด็กนักเรียน ครผู ้ดู แู ลเดก็ ผู้ดแู ลเด็ก ๑. ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านท่าไทร ๙ ๒๐๘ ๓ ๑๓ ๒. ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา้ นทงุ่ น้า ๑ ๔๕ ๑ ๑ ๓. ศนู ยอ์ บรมเดก็ กอ่ นเกณฑ์ในวดั คลองแห ๓ ๖๖ ๑ ๓ ๔. ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นเกาะหมี ๑ ๒๖ ๑ ๑ ๕. ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบา้ นหนองนายขยุ้ ๑ ๑๘ ๑ ๑ รวม ๑๕ ๓๖๓ ๗ ๑๙ ทีม่ า : งานโรงเรียน กองการศึกษา เทศบาลเมอื งคลองแห ตำรำง แสดงสถำนศึกษำในสงั กดั ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน (สพฐ.) กระทรวงศึกษำธกิ ำร ชอ่ื โรงเรยี น จำนวนเดก็ นักเรยี น (คน) ๑. โรงเรยี นบา้ นทงุ่ นา้ ๑๑๑ ๒. โรงเรยี นบ้านหนองนายขุ้ย ๘๖ ๓. โรงเรียนบ้านเกาะหมี ๒๖๘ ๔. โรงเรียนวดั คลองแห ๒๘๐ ๕. โรงเรียนบา้ นท่าไทร ๖๘ รวม ๘๑๓ ท่มี า : งานส่งเสริมคณุ ภาพและมาตรฐานหลกั สตู ร กองการศกึ ษา เทศบาลเมอื งคลองแห (มถิ ุนายน ๒๕๕๖) สถำนศกึ ษำ/ศนู ย์พฒั นำเดก็ เลก็ ของเอกชน ๑. โรงเรยี นสวสั ดบ์ิ วร (ชุมชนหลังบ๊ิกซี) ๒.โรงเรียนสง่ เสริมศาสนาวทิ ยามลู นิธิ (ชุมชนคลองควาย) ๓.โรงเรยี นสอนศาสนา อบิ ตดี าอหี ยะฮ์ (ชุมชนสะพานดา) ๔.โรงเรียนนูรลู มฮู ัมมะดียะ (สอนศาสนา) (ชุมชนสาราญสขุ ) ๕.ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านองครกั ษ์ (ชุมชนสาราญสุข) ๖.โรงเรียนฟตั ฮูลมบู นี (ชมุ ชนบ้านคลองแห) ๗. สถานรับเลี้ยงเดก็ ฤทธิ์ศิริ (ชมุ ชนบา้ นคลองแห) ๘.สถานรบั เล้ยี งเด็กบา้ นคณุ ครูฉลวย (ชมุ ชนบา้ นคลองแห) ๙.สถานรบั เลย้ี งเดก็ สามพีน่ ้องเนิรสเ์ ซอร่ี (ชุมชนบ้านคลองแห) ๑๐.โรงเรยี นฟรั ดูอีนมสั ยดิ อนั ซอรุดดีน (ชมุ ชนบางมวง) ๑๑.โรงเรียนฟรั ดูอีน (ชุมชนท่าชา้ ง) ๑๒.โรงเรยี นฟัรดูอนี (ชุมชนทุง่ นา้ ) ๑๓. โรงเรยี นฟัรดอู ีนมสั ยิดดนิ ยี าตุลอิสลาม (หนองบ่อ) (ชุมชนหนองทราย) ๑๔.โรงเรยี นฟัรดูอนี มัสยิดบา้ นหนองทราย (ชุมชนหนองทราย) ๑๕. โรงเรียนฟัรดอู ีนมัสยิดนูรลู กอมารียะฮ์ (ชมุ ชนมัสยิดเกาะหม)ี ๑๖.โรงเรียนสอนกีรอติสาหรับเยาวชน (ชุมชนบา้ นเกา่ ) ศำสนำ วดั / สำนักสงฆ์ ๕ แหง่ ไดแ้ ก่ ๑. วัดคลองแห ๒. วดั อมั พวัน ๓. สานกั สงฆ์โตนดแสงทอง ๔. สานกั สงฆ์ทรายทอง ๕. สานักสงฆแ์ ก้วสว่างวราราม การปฏบิ ตั ิทเี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๙

มัสยิด/บำลำย ๑๔ แห่ง ได้แก่ (ชมุ ชนสะพานดา) ๑. มัสยดิ สลามัด ๒. มัสยดิ สาราญสุข (ชมุ ชนสาราญสุข) ๓. มสั ยดิ บ้านท่งุ นา้ (ชุมชนทุ่งนา้ ) ๔. มัสยดิ อลั ซอรสิ สุนนะฮ์ (ชุมชนบ้านเกา่ ) ๕. มัสยดิ นูร (ชุมชนมุสลมิ หนองบวั ) ๖. มสั ยิดดนิ ยี าตลุ อิสลาม (หนองบ่อ) (ชุมชนหนองทราย) ๗. มสั ยิดบา้ นหนองทราย (ชุมชนหนองทราย) ๘.มสั ยดิ กลางประจาจงั หวดั สงขลา (ชุมชนหนองทราย) ๙. มัสยิดฟัตฮูล้ มูบนี (ชุมชนบ้านคลองแห) ๑๐. มสั ยดิ นูรลู กอมารยี ะฮ์ (ชุมชนมสั ยดิ เกาะหม)ี ๑๑.มสั ยดิ อันซอรดุ ดีน (ชมุ ชนบางมวง) ๑๒. มสั ยดิ อาลัมซะห์ (ชมุ ชนทา่ ชา้ ง) ๑๓.บาลายเซาะมูฮามาดี (ชุมชนสัจจกุล) ๑๔.มสั ยดิ คลองควาย (ชุมชนคลองควาย) อื่นๆ ๑.สานักงานที่ดินจงั หวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ๒.โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลคลองแห ๓.ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสุขเทศบาลเมอื งคลองแห ๓. สภำพทำงเศรษฐกิจ กำรพำณิชย์ ๑.ธนำคำร จำนวน ๙แหง่ ๑.๑ ธนาคารกรุงเทพ สาขาตลาดพงษเ์ จริญ ๑.๒ ธนาคารออมสนิ ถนนลพบุรีราเมศวร์ ๑.๓ ธนาคารกสิกรไทย ถนนลพบรุ ีราเมศวร์ ๑.๔ ธนาคารกรุงเทพ ถนนลพบรุ รี าเมศวร์ ๑.๕ ธนาคารกรุงเทพ สาขาบกิ๊ ซีหาดใหญ่ ๑.๖ ธนาคารกรุงไทย สาขาบ๊กิ ซหี าดใหญ่ ๑.๗ ธนาคารกรงุ ศรอี ยธุ ยา สาขาบกิ๊ ซหี าดใหญ่ ๑.๘ ธนาคารทหารไทย สาขาบ๊ิกซหี าดใหญ่ ๑.๙ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาบก๊ิ ซหี าดใหญ่ ๒.บริษัท จำนวน ๑๙๖ แห่ง ๓.ห้ำงหนุ้ สว่ นจำกดั จำนวน ๕๒ แหง่ ๔.สถำนบี รกิ ำรนำ้ มัน จำนวน ๗ แห่ง ๕.ห้ำงค้ำปลกี ขนำดใหญ่/ห้ำงค้ำปลกี ขนำดเลก็ /ร้ำนสะดวกซอ้ื จำนวน ๖ แห่ง ๕.๑บ๊กิ ซี ซปุ เปอรเ์ ซน็ เตอร์ ๕.๒เคแอนดเ์ ค ซปุ เปอรค์ า้ ส่ง ๕.๓ เคแอนดเ์ ค ค้าสง่ ๕.๔ ซี พี ออลล์ (เซเว่นอีเลฟเว่น) ๒ แหง่ ๕.๕ โลตสั เอก็ เพรส ๖.ตลำดสด จำนวน ๑ แห่ง ๖.๑ ตลาดเกาะหมี ถนนลพบุรรี าเมศวร์ สถำนบรกิ ำร รีสอร์ท จำนวน ๑๑ แหง่ ๑.๑ เกาะหมรี ีสอร์ท การปฏิบัติทเี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๑๐

๑.๒ คนั ทร่รี สี อรท์ ๑.๓ คณุ นายรสี อร์ท ๑.๔ ท่าไทรรสี อร์ท ๑.๕ บ้านต้นไมร้ สี อร์ท ๑.๖ บา้ นรีสอรท์ ๑.๗ บมู ฟอเรสท์รสี อรท์ ๑.๘ ลพบรุ ีรสี อรท์ ๑.๙ วิน รสี อรท์ ๑.๑๐ สาราญสขุ รสี อรท์ ๑.๑๑ เหมอื นฝนั รสี อรท์ ๔. แหลง่ วทิ ยำกำรชมุ ชน และทุนดำ้ นงบประมำณทสี่ ำมำรถนำมำใชป้ ระโยชน์เพ่ือกำรจัดกำรศึกษำ แหลง่ เรยี นร้ตู ำบลคลองแห ลำดบั ที่ ชื่อแหล่งเรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทตี่ ั้ง การศกึ ษา ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑. นายสวัสดิ์ ศริ เิ พญ็ การเงนิ ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การเงนิ ม.๓ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๒. กลมุ่ สจั จะวันละ ๑ บาท การศกึ ษา ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ด้านสขุ ภาพ ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๓. สหกรณ์ร้านคา้ การศึกษา ม.๕ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ม.๕ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๔. อาสาพัฒนาป้องกันรักษาความปลอดภยั การศกึ ษา ม.๗ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๕. สถานอี นามัย ดา้ นอาชพี ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ดา้ นอาชีพ ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๖. งานปอ้ งกันสาธารณภัย ด้านชมุ ชน ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ดา้ นชุมชน ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๗. สานักงานปราบปรามยาเสพติด ด้านอาชพี ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การเงิน ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๘. เทศบาลเมอื งคลองแห การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๙. กรงนกเขาชวา การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๐. นายอาโรน บิลละหมิ การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๑. นางทาสาหนี บิลละหมิ การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๒. กลมุ่ อสม. การศกึ ษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๓. ประธานชมุ ชน การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ๑๔. กลุ่มแม่บ้าน การศึกษา ที่ตง้ั การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๕. กองทุนหมบู่ ้าน การศึกษา ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๖. บ้านหนังสืออัจฉริยะ ชมุ ชนปา่ ยาง หนา้ ๑๑ ๑๗. บา้ นหนังสอื อัจฉรยิ ะ ชุมชนคลองแห ๑๘. บ้านหนงั สืออจั ฉริยะ ชุมชนบา้ นหนองบัว ๑๙. บ้านหนงั สอื อัจฉรยิ ะ ชุมชนเออ้ื อาทร ๒๐. บา้ นหนงั สอื อจั ฉริยะ สหกรณร์ ้านค้า ๒๑. บ้านหนังสอื อัจฉริยะ ชุมชนวดั คลองแห ๒๒. บา้ นหนงั สืออัจฉริยะ ชุมชนคลองเปล ๒๓. บ้านหนงั สอื อจั ฉริยะ ชุมชนทรายทอง ๒๔. บา้ นหนงั สืออจั ฉริยะ ชมุ ชนทุ่งปาบ ๒๕. บ้านหนังสืออจั ฉรยิ ะ ชมุ ชนบ้านเก่า ๒๖. บา้ นหนงั สอื อจั ฉริยะ ชมุ ชนทา่ ช้าง ลำดับที่ ช่ือแหล่งเรียนรู้ ๒๗. บ้านหนังสอื อจั ฉริยะ ชมุ ชนทุ่งนา้ ๒๘. บา้ นหนังสืออจั ฉริยะ สัจจกลุ ๒๙. บ้านหนังสอื อจั ฉรยิ ะ ชุมชนบ้านเกาะหมี ภูมปิ ญั ญำทอ้ งถ่นิ ตำบลคลองแห การปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห)

ลำดบั ที่ ภูมปิ ัญญำทอ้ งถิ่น ควำมรคู้ วำมสำมำรถ ทต่ี ัง้ นวดแผนโบราณ ๒๗ ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑. นายมี ชว่ ยกูล ผักพนื้ เมอื ง,เศรษฐกจิ พอเพียง ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ การทาดอกไมป้ ระดิษฐ์ ๔๔/๒ ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๒. นายธวัช ชาตวิ ฒั นา ส่งิ แวดล้อม ๑๑๔/๒ ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ สานกรงนก ๔๐ ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๓. นายอิ่ม สาสุธรรม ขนมไทย ๔๑๖ ม.๑๑ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๔. สิบโทอุดม เพช็ รธนู ๕. นายหา้ สัน บิลหมัด ๖. นางสาวลีซา เอส เอ ภำคีเครือข่ำยตำบลคลองแห ลำดบั ที่ ภำคีเครือข่ำย ที่ต้งั ๑. กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๒. กลมุ่ กองทนุ หมบู่ า้ น ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๓. กลุ่มสจั จะวันละ ๑ บาท ม.๒ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๔. สหกรณ์ร้านคา้ ๖๗ ม.๓ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๕. รพ.สต.คลองแห ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๖. กลุ่ม อสม. ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๗. วัดคลองแห ๑๒๓ ม.๔ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๘. งานป้องกันสาธารณภัย ม.๕ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๙. โรงเรยี นอจั ฉริยะ ม.๗ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๐. เทศบาลเมืองคลองแห ม.๗ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๑. กลมุ่ OTOP ม.๑๐ ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๒. ประธานชุมชน ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๑๓. กลมุ่ แม่บา้ น ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ๕. ปัญหำและควำมตอ้ งกำรทำงกำรศกึ ษำของประชำชนที่จำแนกตำมลกั ษณะของกลมุ่ เป้ำหมำย กศน.ตาบลคลองแห ต้งั อยูท่ ีอ่ าคารเอนกประสงค์ ซ.ลาเหมือง ถ. ประชาอุทศิ ม.๒ บ้านหนองบัว ต.คลองแห อ. หาดใหญ่ จ.สงขลา เป็นสถานที่จัดการเรียนการสอนช่ัวคราว ไม่เป็นเอกเทศ จัดการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน ๒๑๕ คน กำรจัดกำรศกึ ษำ กลุ่มเปำ้ หมำย ปัญหำและควำมตอ้ งกำรทำงกำรศกึ ษำ การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กล่มุ ประชากรวัยแรงงาน (อายุ - ประชากรในพื้นทีส่ ่วนใหญม่ ีอาชพี รับจ้าง มภี าระต้องทางาน การศึกษาตามอธั ยาศยั ๑๕-๕๙ ปี ) หาเล้ียงครอบครัวส่งผลให้ขาดโอกาสในการเขา้ ถึงการศกึ ษา แรงงานมีการย้ายถ่ินฐานบอ่ ย การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคม กลุ่มผสู้ ูงอายุ - ผ้สู ูงอายุในชุมชนสว่ นใหญ่มอี าชพี การเกษตร รบั จ้างทั่วไป และชมุ ชน ,เศรษฐกิจ (อายุ ๖๐ ปี ขึน้ ไป) และไม่มีงานทามภี าระต้องเลย้ี งดบู ุตรหลาน ไมม่ อี าชพี ทีม่ ั่นคง พอเพียง และมีคณุ ภาพชวี ิตไมด่ ีเทา่ ทค่ี วร การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน, กล่มุ ผูพ้ ลาดโอกาส - ชมุ ชนมสี ภาพวิถีการดาเนินชีวิตท่หี ลากหลาย มีความเสยี่ งต่อ การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะ (เดก็ และเยาวชน) ปญั หาต่างๆ เชน่ ปญั หายาเสพตดิ ต้งั ครรภ์ก่อนวัยอันควร ไม่ ชวี ติ จบการศึกษาภาคบงั คบั เป็นต้น จำนวนนกั ศึกษำกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน ระดับกำรศกึ ษำ จำนวนนกั ศึกษำ ประถมศกึ ษา ๔ มธั ยมศึกษาตอนต้น ๕๔ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๑๕๔ ผไู้ ม่รหู้ นังสอื ๓ ๒๑๕ รวม การปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๑๒

บรรยำกำศภำยนอก หอ้ งเรียนที่ ๑ หอ้ งเรียนที่ ๒ จดุ เชค็ อิน กศน.ตาบล หอ้ งสมุด กศน.ตาบล ห้องบรกิ ารอนิ เตอรเ์ นต็ กศน. คณะกรรมกำรดำเนนิ งำน กศน.ตำบลคลองแห 1.นายวีระ ฤทธเิ์ ทวา ประธานกรรมการ 2.นายธวชั ชาตวิ ฒั นา รองประธาน 3.ร.ต.ท.สวง ทะสะระ กรรมการ 4.นายอรุณ บญุ รศั มี กรรมการ 5.นายวิทยา พงษ์สวสั ดิ์ กรรมการ 6.นายวลิ าส วนุ่ แก้ว กรรมการ 7.นางปทิตตา ซนุ่ ซ่ิม กรรมการ 8.นายประจวบ บรุ เี รอื ง กรรมการ 9.นายยทุ ธศักดิ์ ดวงสวุ รรณ กรรมการ 10.นางสาวจริ า อิสระโร กรรมการ 11.นายปรชี า กาลพันธ์ กรรมการ 12.นายประทปี ปรางยม้ิ กรรมการ 13.นายโฆษติ ดีเมฆ กรรมการ 14. นายกฤตภาส บลิ สุอาหวา กรรมการ 15.นายสมพร เสรมราษฎร์ กรรมการ 16.นางไพจิตร เภาทอง กรรมการ 17.นางละอองสิน ศรสี วัสดิ์ กรรมการ 18.นายสญชยั กาญจนเพญ็ กรรมการ 19. นางสาวนชิ นันท์ ชมุ ปถัมภ์ กรรมการ 20.นางบญุ เรอื น ด้ามทอง กรรมการและเลขานุการ ที่ปรึกษำ ๑. ผอ.กศน.อาเภอหาดใหญ่ ๒. นายกเทศบาลเมืองคลองแห การปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๑๓

ส่วนที่ 2 ผลงำนทป่ี ระสบผลสำเร็จ ๑.ช่ือผลงำน แหลง่ เรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพยี ง “การเพาะเหด็ ครบวงจรและการแปรรปู ชมุ ชนต้นแบบตามโครงการไทยนยิ ม ยง่ั ยนื ระดับตาบล ของสานักงาน กศน” ๒.ชือ่ เจำ้ ผลงำน ชอื่ -สกุล นางบญุ เรอื น ดา้ มทอง ตาแหน่ง ครู กศน.คลองแห ๓. ควำมเป็นมำ ที่อยู่ กศน.ตาบลคลองแห หมู่ที่ ๒ บา้ นหนองบัว ตาบลคลองแห อาเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา โทรศพั ท์ 084 - 7484598 e-mail : [email protected] เน่ืองจากปัจจุบันนี้ประเทศไทยของเรากาลงั ประสบกับปัญหาข้าวยากหมากแพง ทาใหป้ ระชาชน หลายคนต้องมีความเปน็ อยอู่ ย่างยากลาบาก แต่ส่ิงหนง่ึ ทช่ี ่วยให้คนไทยทุกคนน้นั หลดุ พ้นจากความ ยากลาบาก คือ เศรษฐกิจพอเพยี ง คาวา่ “เศรษฐกจิ พอเพียง” เปน็ โครงการของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว ท่ีทรงจัดตง้ั โครงการข้นึ เพื่อชว่ ยเหลอื คนไทยทเี่ ดือดรอ้ น อาทเิ ชน่ ของแพง ราคาสินคา้ ข้ึนราคา ทาให้ประชาชนท่ี มีรายได้น้อยต้องใช้จ่ายแบบประหยดั บางครั้งจาเป็นต้องใช้จา่ ยเงนิ กอ็ าจจะหมดไปและทาให้ไม่มีเงนิ เกบ็ ออม จนประชาชนบางกลุม่ ต้องเดือดรอ้ นเพราะรายได้ไมเ่ พยี งพอกบั รายจา่ ย แต่ถ้าประชาชนชาวไทยรู้จกั หนั มาใช้จ่าย อยา่ งพอเพียง รู้จกั เก็บออมมากขึ้น รจู้ ักการทามาหากนิ ท่ีสจุ ริต และดารงชีวิตตามแบบเศรษฐกจิ พอเพยี งของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทกุ คนกจ็ ะอยภู่ ายใต้ความพอเพยี งได้อยา่ งมีความสขุ ดังนั้นข้าพเจ้าจงึ จัดทาเร่ือง เหด็ นางฟา้ ซึง่ ไดจ้ ดั ทาโดยการศกึ ษาค้นควา้ หาข้อมลู มาใช้ประกอบในการทาโครงงาน และดาเนินงานตาม ขนั้ ตอนอย่างถูกต้อง เพอื่ ให้ไดผ้ ลผลติ ที่ดีท่สี ดุ การทาโครงงานเกยี่ วกบั การเพาะเห็ดนางฟา้ สามารถใหอ้ ะไรหลาย สิ่งแกเ่ รา เช่น ถ้านามาเพาะเพ่ือใชเ้ ปน็ อาหาร สามารถนามาจาหน่ายได้ เพราะเป็นผักสวนครวั ท่ไี ด้รับความนิยม มาก มรี สชาติอรอ่ ย ใหค้ ณุ ค่ามากมาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงเหด็ มีสารโปรตนี สูง และโปรตีนของเห็ดจะไมม่ ี สารคอเรสเตอรอล ทเ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ ระบบไหลเวยี นของโลหิต ประกอบกับเห็ดมีปริมาณธาตโุ ซเดียมค่อนข้างต่า จงึ เป็นอาหารที่เหมาะสาหรับผูป้ ว่ ยทเ่ี ปน็ โรคตับโรคไต โรคหวั ใจ และโรคความดันโลหติ สูง สามารถสร้างรายได้ ให้แก่ครอบครวั เป็นจานวนมาก และทสี่ าคัญดูแลรักษาง่าย ไมย่ ุง่ ยาก การเพาะเห็ดในชุมชนหนองบัวในเขตเทศบาลเมืองคลองแห ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็นชุมชนกึ่งเมือง ก่ึงชนบท เม่ือบ้านเมืองเจริญข้ึนพ้ืนที่การเกษตรลดลง จึงทาให้เกิดแนวคิดว่า ควรจะปลูกพืชชนิดใดท่ีสามารถ ใช้พ้ืนท่ีให้คุ้มค่าท่ีสุด ซึ่งไม่มีทางเลือกมากนัก จึงได้เร่ิมก่อตั้ง แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง “การเพาะเห็ด ครบวงจรและการแปรรูป” ขึ้นเม่ือ เดือนตุลาคม ๒๕๕๙ และได้มีนาออกสู้ตลาดครั้งแรก เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ ราคาแรกเริ่มท้ังปลกี -สง่ กิโลละ ๖๐ บาท ปัจจุบันกิโลละ ๘๐ บาท ขณะน้ีสามารถเก็บผลผลติ ได้ 25- 30 กิโลกรัม ต่อวัน ขนาดโรงเรือนสามารถเก็บก้อนเห็ดได้ ๑๐,๐๐๐ ก้อน และกาลังพัฒนาการก่อสร้าง โรงเรือนเพ่ิมเติม อีก ๕ โรงเรือน ๆ ละ ๑๐,๐๐๐ ก้อน เพื่อให้ได้ ๕๐,๐๐๐ ก้อน เพื่อเปิดดอกจาหน่าย และ พัฒนาเครื่องมือที่สามารถลดแรงงานจากคน ได้ดีเลยทีเดียว โดยการนาเคร่ืองจักรมาทาขั้นต้อนการอัดก้อน ขั้นตอนการผสมคลุกเคลา้ กอ้ นเหด็ สามารถผลติ ได้รวดเรว็ และมีประสทิ ธิภาพดเี ยี่ยมเลยทีเดยี ว การปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๑๔

ปัจจุบันกลุ่มการเพาะเห็ดนางฟ้าได้มีการขยายไปสู้ชุมชนใกล้เคียงทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ประกอบด้วยหม่ทู ่ี 3 หมู่ท่ี 4 หมู่ที่ 6 หมู่ท่ี 8 และหมู่ที่ 9 และได้มีการพัฒนาไปสู้วิสาหกิจชุมชนของชุมชนหนองบัวได้มีการจด ทะเบียนวิสาหกิจชุมชนเรียบร้อยแล้วเพ่ือจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจในชุมชน กลุ่มมีความเข้มแข็งสามารถสร้างร้ายได้ สร้างอาชีพให้กับคนในชุมชนได้เป็นอย่างดีและมีโครงการที่จะทาการผลิตปุ๋ยจากก้อนเชื้อเห็ดเก่า เพ่ือลดปัญหา ส่งิ แวดลอ้ มที่เกดิ ขนึ้ จากก้อนเชื่อเห็ดที่หมดอายุ สามารถนากลบั มาทาปุ๋ยหมักชวี ภาพได้ดที ีเดยี ว ๔. วตั ถุประสงค์ของกำรดำเนนิ งำน ๔.๑ เพอื่ ใหน้ ักเรียนลงมือฝึกปฏบิ ตั ิการเพาะเหด็ นางฟา้ จนเกดิ ทักษะ ความชานาญ อยู่ในระดบั ที่ สามารถ นาผลงานไปประกอบอาชีพได้ในโอกาสต่อไป ๔.๒ เพื่อสร้างอาชีพและเพ่มิ รายไดใ้ หก้ ับคนในชุมชน ๔.๓ เพื่อแปรรูปผลผลิตจากเหด็ และการผลิตปยุ๋ อนิ ทรียเ์ พื่อใชแ้ ละจาหน่าย ๕. ขั้นตอนวิธกี ำรและนวตั กรรมทเี่ ปน็ เลิศ (Flowchart ดงั แนบ) เตรียมนกั เรยี นท่ีมีทักษะในการเพาะเห็ดฝึกปฏิบัตหิ ลาย ๆ ครั้งจนเกดิ ความชานาญ ตามขนั้ ตอนและ กระบวนการในการทางาน โดยพฒั นาตาม Flow Chart ดงั นี้ การปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๑๕

3.1 ขน้ั ตอนกำรดำเนนกิ ำรตำม Flow Chart 1. วางแผน โดยเตรียมนกั เรยี นทีจ่ ะนามาฝึกทักษะในการเพาะเห็ดนางฟ้า 2. ค้นคว้า โดยค้นควา้ หาขอ้ มูลจากแหล่งข้อมลู ตา่ งๆ เกยี่ วกับการเพาะเหด็ นางฟา้ 3. ศึกษาตวั อย่าง ให้นักเรียนได้ศกึ ษาตวั อย่างจากข้อมูลตา่ งๆท่ผี ่านนมา 4. ฝึกปฏิบตั ติามตัวอยา่ ง โดยให้นกั เรยี นฝกึ ตามตวั อยา่ งจนเกิดทกั ษะความชานาญ 5. สรา้ งแนวคิดใหม่ ใหน้ ักเรียนสร้างแนวคดิ ใหมเ่ ปน็ ของตัวเอง แลว้ ทาตามแนวคิดใหม่จน เกดิ ทักษะ 6. ประเมินผล ผา่ น / ไมผา่ น / ปรับปรุง 7. สรุป / รายงานผล 3.2 กำรดำเนินงำนตำมกจิ กรรม (ตำมวง PDCA) 1. ขน้ั เตรียมกำร (Plan) 1.1 ประชมุ ปรึกษาหารือชีแ้ จงในกลุ่มสาระการศึกษานอกโรงเรียนเพอ่ื คัดเลือกนกั เรยี น ฝึก ปฏบิ ัตใิ นการเพาะเห็ด 1.2 แจ้งจดุ มงุ่ หมายในการพัฒนานักเรียนสู่ความเปน็ เลศิ 1.3 เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ์ เครอื่ งมือเครื่องใช้ในการสรา้ งโรงเรอื นเพาะเหด็ ใหพ้ ร้อม 2. ข้ันดำเนินกำร (Do) ให้นกั เรียนลงมือปฏบิ ตั จิ ริงตามรูปแบบข้นั ตอนทุกรายการท่ีเข้าร่วมหลายๆครัง้ จนไดผ้ ลเป็นที่ พฒั นาข้นึ อยา่ งต่อเนอ่ื ง 3. ขัน้ ตรวจสอบและประเมินผลกำรพฒั นำ (Check) 3.1 ตง้ั คณะกรรมการเพ่อื ตรวจสอบผลการปฏบิ ตั งิ าน 3.2 ดผู ลงานทีป่ รากฏ และประเมินผลงาน 4. ขน้ั สรุปและรำยงำน (Action) 4.1 สรุปอภิปรายปญั หาและอปุ สรรคในการพัฒนา 4.2 ปรบั ปรงุ และพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง 4.3 สรปุ และรายงานผลเป็นระยะ 3.3 ประสทิ ธิภำพของกำรดำเนนิ งำน ดาเนนิ กจิ กรรมตามรูปแบบ PDCA นักเรียนมีผลงานที่ปรากฎอยา่ งนอ้ ย 2-3 คร้ัง / สัปดาห์ 3.4 ขั้นประเมินผล ชิ้นงานทปี่ รากฏ / ประเมนิ ผลจากรางวลั และเกยี รตบิ ตั รที่นักเรยี นได้รบั 4. ผลกำรดำเนินกำร 4.1 ผลทเ่ี กดิ ขึน้ กบั ผูเ้ รยี น - นักเรยี นมีแรงจูงใจในการเรียนรู้การเพาะเห็ดมากขน้ึ ร้อยละ 80 - นักเรยี นไดร้ ับการพฒั นาดา้ นผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสู่ความเป็นเลศิ - นักเรยี นสามารถนาความรทู้ ่ีด้รับไปประกอบอาชีพไดใ้ นโอกาสต่อไป การปฏิบัตทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๑๖

4.2 ผลที่เกิดข้ึนกบั ครู - ครูมีความร้คู วามเขา้ ใจและตระหนักในการพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรียนตามมาตรฐานและ พัฒนา ตนเองส่คู รมู ืออาชีพ - ครูได้พัฒนาความรูแ้ ละทักษะการจัดการเรยี นการสอนเพ่ิมขึน้ ทัง้ ด้านปริมาณและคณุ ภาพ 4.3 ผลท่เี กดิ ขึ้นกบั กศน.ตำบล - ทาให้ กศน.ตาบล เปน็ ท่ยี อมรบั และศรัทธาต่อผ้ปู กครองและชุมชน - กศน.ตาบล เปน็ แหลง่ เรียนรดู้ ้านวชิ าชพี ให้กับชุมชนมากขน้ึ 4.4 ผลท่เี กดิ ขึ้นกบั ชุมชน - ชุมชนมคี วามมัน่ ใจในการจดั การเรียนการสอนของ กศน.ตาบล - ชุมชนมีความภาคภูมใิ จ และช่วยกนั พัฒนา กศน.ตาบล เพมิ่ ข้ึน - ชมุ ชนสามารถเขา้ รว่ มกับ กศน.ตาบล ในการฝึกวชิ าชีพให้กับนกั เรยี น 5. ปัจจัยควำมสำเรจ็ 1. กศน.ตาบล มีนโยบายท่ีชดั เจนในการปฏิรูปการเรียนรู้ มคี วามพร้อมในด้านอาคารสถานที่ และส่ือ อุปกรณ์การเรียนการสอน 2. ผู้บริหารให้การสนับสนุนด้านงบประมาณในการดาเนนิ การ 3. ผปู้ กครองใหก้ ารสนับสนุนในการแสวงหาความรู้ของนักเรียน 6. บทเรียนท่ีได้รับ 1. กศน.ตาบล ได้รบั การยอมรับจากชุมชนมากยิ่งข้นึ และพัฒนาการจดั การเรยี นรใู้ หเ้ กดิ ทกั ษะ การ เรยี นรูห้ ลาย ๆ ด้านอย่างหลากหลาย 2. กศน.ตาบล ได้พฒั นาส่งเสรมิ คุณลักษณะนสิ ัยใหน้ ักเรียนมีคณธุ รรม – จริยธรรม มากยิง่ ข้นึ 3. นกั เรยี นมีความภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี มประเพณวี ฒั นธรรมไทยมากยง่ิ ขน้ึ 7. กำรเผยแพร่ / กำรได้รับกำรยอมรับ / รำงวัลที่ไดร้ ับ ๗.๑ การเผยแพร่ แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง “การเพาะเห็ดครบวงจรและการแปรรูป” จะมี วิธีการประชาสัมพันธ์ท่ีหลากหลายวิถี โดยวิธีการขายผ่านช่องทางส่ือออนไลน์ การค้าออนไลน์ ผ่านทาง facebook ช่องทาง แฟนเพจ กศน.ตาบลคลองแห ทางเครือข่ายในตาบลทุกมุมเมือง รู้จักแหล่งเรียนรู้และ ต้องการสินค้าเข้าสู้ตลาดจานวนมาก จนไม่สามารถผลิตได้ทันกับความต้องการของลูกค้า ร้านค้า มากมาย ต้องการสินค้าจานวนมากเพราะเป็นสินค้าคุณภาพ และมีราคาไม่แพง ของดีมีคุณภาพ ราคาไม่แพง ทาให้เป็น ทต่ี ้องการของตลาดอย่างมากมาย ได้รับการยอมรบั จากลูกค้าและผู้ทม่ี คี วามสนใจอย่างมากมายจริง ๆ ๗.๒ การยอมรับ / รางวัลทไี่ ด้ จากการก่อตั้ง แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง “การเพาะเห็ดครบวงจรและการแปรรูป”จนเป็น ยอมรับของตลาดและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ได้นาไปสู่ โครงการเพ่ิมความ เข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐ ของชุมชนหนองบัว หมู่ที่ ๒ ตาบลคลองแห อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดย คณะรัฐมนตรี มีมติเม่ือวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๙ เห็นชอบให้ดาเนิน โครงการเพิ่มความเข็มของเศรษฐกิจฐานรกตามแนวทางประชารัฐ เนือ่ งจากในช่วงหลายปที ี่ผ่านมาภาคเกษตร ของประเทศไทยประสบปญั หาหลายประการ ไดแ้ ก่ ปญั หาภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ ปัญหาต้นทนุ การผลิตสูง และ ปัญหาราคาสินค้าตกต่า เป็นต้น โดยสาเหตุประการหน่ึงมาจากระบบโครงสร้างพื้นฐานในชุมชนไม่ได้รับการ การปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๑๗

พัฒนา ตลอดจนยังขาดปัจจัยการผลิตที่จาเป็น ดังน้ัน การลงทุนด้านโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือส่งเสริมความ เข็มแข็ง ของเศรษฐกิจในระดับฐานราก ซึ่งครอบคลุมท้ังกระบวนการ ต้ังแต่กิจกรรมด้านการผลิต การเพิ่ม มูลค่าสินค้าและการตลาด จะส่งผลให้ชุมชนพัฒนาอย่างมั่นคง แข็งแรง ต่อไป ดังนั้น ขอให้ประชุมสมาชิกได้ เสนอปญั หา ความต้องการและโครงการทจ่ี ะขอรับการสนบั สนุนงบ ประมาณ โครงการ เพาะเหด็ ครบวงจรและ การแปรรูป งบประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ บาท เร่ิมต้นวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๐ โดยมีวัตถุประสงค์หลักของ โครงการคือ การสร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชนและสามาชิกกองทุน การแปรรูปผลผลิตจากเห็ด และการทาปยุ๋ อินทรีย์เพื่อใช้และจาหน่าย ปัจจบุ ันกลุ่มการเพาะเหด็ นางฟ้าได้มีการขยายไปสูช้ ุมชนใกล้เคียงท้งั หมด 5 หมูบ่ า้ น ประกอบดว้ ยหมู่ ที่ 3 หมู่ท่ี 4 หมู่ท่ี 6 หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 9 และได้มีการพัฒนาไปสู้วิสาหกิจชุมชนของชุมชนหนองบัวได้มีการจด ทะเบียนวิสาหกิจชุมชนเรียบร้อยแล้วเพื่อจัดต้ังกลุ่มวิสาหกิจในชุมชน กลุ่มมีความเข้มแข็งสามารถสร้างร้ายได้ สร้างอาชีพให้กับคนในชุมชนได้เป็นอย่างดีและมีโครงการที่จะทาการผลิตปุ๋ยจากก้อนเช้ือเห็ดเก่าเพ่ือลดปัญหา ส่งิ แวดลอ้ มทเ่ี กิดขน้ึ จากก้อนเชอื่ เหด็ ท่หี มดอายุ สามารถนากลบั มาทาปุ๋ยหมกั ชีวภาพไดด้ ีทีเดียว รางวัลที่ได้รับ ในปีงบประมาณ 2562 ได้รับการประกาศเป็นชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ย่งั ยืน ระดับตาบล ของสานักงาน กศน. นอกจากน้ี เจา้ ของแหล่งเรียนรู้ ได้รับวฒุ บิ ตั ร ได้ผา่ นการอบรม โครงการ Smart ONIE เพ่อื สรา้ ง Smart Farmer การอบรมเกษตรต้นแบบ (Master Trainer) การปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๑๘

ส่วนที่ 3 กำรดำเนนิ งำนสู่ควำมเป็นเลศิ กำรเพำะเห็ดนำงฟำ้ สคู่ วำมเปน็ เลิศ  การดาเนนิ การของการเพาะเหด็ ข้นั ตอนท่ี 1. กำรเตรยี มโรงเรอื นสำหรับเพำะเหด็ นำงฟำ้ สาหรับโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้าน้ันควรมีขนาด 2 x 15 x 2 (กว้าง x ยาว x สูง) ซ่ึงจะวางก้อน เช้ือเห็ดนางรม และเห็ดนางฟ้าได้ประมาณ 4,000 ก้อน โรงเรือนควรเป็นแบบที่สร้างง่าย ลงทุนน้อย และวัสดุที่จะนามาสร้างเป็นโรงเรือนน้ันจะต้องหาง่ายที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นวัสดุท่ีมาจากธรรมชาติ เช่น ฟาง, หญ้าแฝก, ไม้ไผ่ เป็นต้น สาหรับการสร้างโรงเรือนให้เหมาะสมนั้นควรสร้างในท่ีเย็นชื้นและสะอาด ปราศจากศัตรูของเห็ดท่ีจะเข้ามารบกวน หลงั คามุงจากหรือแฝก แลว้ คลุมทับด้วยสะแลนอีก 1 ช้ิน การคลุมหลังคาข้ึนอยู่กับ ชนิดของเห็ดด้วย เพ่ือ ป้องกันลม ลมแรง ลมค่อย ล ม ห น า ว ล ม แ ห้ ง แ ล้ ง สภาพลม สภาพอากาศ มี ผลกระทบต่อการออกดอก ของเห็ดได้เช่นเดียวกัน ปิด ป ร ะ ตู ด้ ว ย ก ร ะ ส อ บ ป่ า น หรือแผ่นยาง ปูพืน้ ด้วย ทราย เพ่ือเก็บความช้ืน ทิศทางลม ก้อมีส่วนสาคัญ ในการโรงเพาะเห็ด ต้องดูทศิ ทางของลมเหนือลมใต้ เพื่อปอ้ งกันการ พัดพาเชื้อโรค ที่จะมีผลต่อก้อนเห็ด และการออกดอกของเห็ดการ สร้างโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้าขนาด 2 x 15 x 2 มีทั้งหมด 4 ด้าน ด้วยกัน ซึ่งแต่ละด้านสามารถเก็บก้อนเช้ือเห็ดนางรม และเห็ด นางฟ้าได้ถึง 1,000 ก้อน ซ่ึงการทาโรงเรือนในลักษณะนี้ ใช้พื้นที่ รวมแล้วแค่ประมาณ 60 ตารางเมตรเท่าน้ัน วัสดุในการทางานก็ ใช้ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น ไม้ไผ่ ไม้ยูคา หรือ อ่ืน ๆ ตัวเสาก็ อาจจะใช้ไม้ท่ีมีขนาดใหญ่เพ่ือความแข็งแรงของโรงเรือน หลังคาก็ ใช้หญ้าแฝก ซ่ึงเป็นวัสดุที่เหมาะกับการทาโรงเรือนเป็นอย่างดี เน่ืองจากสามารถกักเก็บความร้อนช้ืนได้ดี เป็นภูมิอากาศที่เห็ด นางรม และเห็ดนางฟ้าชอบ ขั้นตอนท่ี 1. กำรเตรียมโรงเรือนสำหรับเพำะเหด็ นำงฟำ้ การปฏิบัติทเี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๑๙

ข้นั ตอนท่ี 2 กำรทำกอ้ นเชื้อเพำะเห็ดนำงฟำ้ การปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๐

ข้นั ตอนท่ี 2 กำรทำกอ้ นเชื้อเพำะเห็ดนำงฟำ้ การปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๑

ขน้ั ตอนท่ี 2 กำรทำกอ้ นเชื้อเพำะเห็ดนำงฟำ้ การปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๒

ข้นั ตอนท่ี 2 กำรทำกอ้ นเชื้อเพำะเห็ดนำงฟำ้ การปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๓

วธิ ีกำรทำกอ้ นเชอ้ื เพำะเห็ดนำงรม และเห็ดนำงฟำ้ การทากอ้ นเชื้อเพาะเห็ดนางฟา้ น้ันจาเปน็ ตอ้ งหาวสั ดอุ ปุ กรณท์ ต่ี ้องเตรยี มดังน้ี ได้แก่ข้เี ล่ือยยางพารา หรือขเี้ ลือ่ ยไม้เนื้ออ่อน แต่ในทางปฏิบัติน้นั ข้ีเลื่อยยางพาราจะใหผ้ ลดที สี่ ดุ จากนั้นก็หาส่วนผสมต่างๆเพื่อใหไ้ ด้ คุณคา่ ทางอาหารมากยง่ิ ขึ้น และสูตรการทากอ้ นเช้ือเห็ดนางรม และเห็ดนางฟา้ มสี ่วนผสมหลัก ๆดังน้ี * ขี้เล่ือยยางพาราแห้งสนิท 100 กิโลกรมั * ราละเอียด 6 – 8 กิโลกรัม * ขา้ วโพดป่น 3 – 5 กโิ ลกรมั * ปูนยิบซมั 1 กิโลกรมั * หนิ ปูนหรือผงชอลก์ 1 กิโลกรมั * ดีเกลือ 0.2 กิโลกรัม * นา้ 80 กิโลกรมั * EM 1 ลิตร เม่ือหาส่วนผสมมาครบแลว้ กท็ าการตากและกองขีเ้ ลื่อยยางพาราไว้ ประมาณ 7 วัน จากนน้ั ค่อยทาการผสมโดยการเติมนา้ ลงประมาณ 70 เปอร์เซนต์ ทดสอบโดยการกาสว่ นผสม ถ้ามนี า้ ซึมตามง่ามมือแสดงวา่ การผสมนผ้ี สมน้ามากเกินไปแตถ่ ้าเมื่อบีบแล้วขีเ้ ลอื่ ยแตกเป็น 3 ก้อนแสดงวา่ การผสมใช้ไดเ้ รยี กวา่ พอดีแล้วแต่ถ้าว่าถา้ กาแล้วแบมือออกแลว้ ขเ้ี ล่ือยจับตวั ไม่เป็นก้อนแสดงว่าเติมนา้ น้อย จนเกินไป เมื่อผสมเขา้ กนั ไดท้ ี่แลว้ กท็ าการกรอกใส่ถุงเพาะเหด็ ใส่ใหไ้ ด้น้าหนกั ประมาณ 800 – 900 กรมั หลังจากนนั้ กท็ าการรวบปากถุงกระทุง้ กับพื้นใหแ้ น่นพอประมาณหลงั จากน้นั ก็ทาการใส่คอขวด การปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๒๔

ข้ันตอนที่ 3 กำรหยอดเช้ือและบม่ เชื้อเหด็ นำงฟ้ำ กำรหยอดเช้ือและบ่มเชื้อเห็ดนำงฟำ้ เมือ่ ทากอ้ นเชอื้ เสร็จแลว้ เรากจ็ ะนาก้อนเชอ้ื ท่ีได้ทาการหยอดเชอื้ และบม่ เช้ือเห็ดนางรม และเหด็ นางฟ้า ตามลาดับ โดยก่อนอื่นก้อนเชื้อท่ีได้น้ันเราก็จะนามาทาการนึ่งเพื่อฆ่าเช้ือ ถ้ามีหม้อนึ่งความดันอยู่แล้วก็ให้นึ่งที่ความดัน 25 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว โดยทาการน่ึงท่ีระยะเวลาประมาณ 1 – 2 ช่ัวโมง ถ้าไม่มีหม้อน่ึงความ ดันอาจใชห้ ม้อนึ่งจากถงั น้ามัน 200 ลิตร แทนก็ได้ แต่จะตอ้ งทาการน่ึง ประมาณ 3 ครั้ง โดยทาการน่ึงที่อุณหภูมิ 100 อาศาเซลเซียส นึ่งที่ ระยะเวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง และทาการน่ึงทั้งหมด 3 คร้ัง เมื่อผ่าน ข้ันตอนการน่ึงฆ่าเชื้อเรียบร้อยแล้ว เราก็จะทาการหยอดเชื้อเห็ดลงสู่ ก้อนเชื้อ เช้อื เหด็ จากเมลด็ ข้าวฟ่างควรหยอดเช้ือลงประมาณ 20 – 25 เมล็ด เมื่อหยอดเช้ือลงสู่ก้อนเชื้อเห็ดเสร็จแลว้ ให้ทาการปิดปากถุงก้อน เชื้อให้เรียบร้อย หลังจากทาการ หยอดเช้ือลงใน ก้อนเช้ือเสร็จ เราก็จะทาการบ่มเช้ือเห็ดในอีกขั้นตอน หนึ่ง โดยการบม่ เช้อื นนั้ ตอ้ งนาก้อนไปบ่มไว้ทีร่ ะยะเวลา ประมาณ 20-25 วัน กรรมวิธีการบ่มก็ไม่ยุ่งยากอะไร เพยี งแต่ตอ้ งเก็บให้เปน็ ระเบยี บ ไมถ่ ูกแดด ไม่ถกู ฝน ลม ไมโ่ กรกไมม่ ีแมลง ไม่มีหนู อากาศถ่ายเทได้สะดวก ข้ันตอนท่ี 4 กำรเก็บเก่ียวผลผลิตเห็ดนำงฟำ้ กำรเก็บเกีย่ วผลผลติ เหด็ นำงรม และเห็ดนำงฟ้ำ การปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๒๕

หลงั จากทีไ่ ด้เราทาการบ่มเช้ือเห็ดนางรม และเหด็ นางฟา้ เรยี บร้อยแลว้ ก็เป็นช่วงระยะเวลาของการเปดิ ดอกและทาการเก็บเก่ียวผลผลิตเหด็ นางรม และเห็ดนางฟ้าจะออกดอกเม่ือมคี วามชื้นสงู พออากาศไม่ร้อนมาก เมอ่ื ถูกเหนยี่ วนาด้วยอากาศเยน็ ตอนกลางคืนกจ็ ะออก ดอกได้ดี เทคนิคที่ทาให้ออกดอกสม่าเสมอและดอกใหญ่ สามารถทาได้ดังนี้ เมื่อเก็บดอกเสรจ็ ต้องทาความสะอาด หน้าก้อนเชอื้ โดยเขย่ี เศษเหด็ ออกให้หมด งดใหน้ า้ สกั 3 วนั เพ่อื ใหเ้ ช้อื ฟกั ตัวแลว้ ก็กลับมาใหน้ า้ อีกตามปกติเห็ดก็ จะเกดิ เยอะเหมือนเดมิ หรือเม่ือเกบ็ ดอกเห็ดเสรจ็ กท็ า ความสะอาดหนา้ ก้อนเช้อื เหมือนเดิม แลว้ รัดปากถงุ ไม่ให้ อากาศเขา้ ทงิ้ ระยะเวลาประมาณ 2 – 3 วัน ใหน้ า้ ปกติ หลงั จากน้นั ก็ เปดิ ปากถุงก็ จะเกิดดอกที่ สม่าเสมอเปน็ การเหนี่ยวนาให้ออกดอกพร้อมกัน เม่ือเหด็ ออกดอก และบานจนได้ขนาดทตี่ ้องการแลว้ ให้เก็บดอกโดยจับทโี่ คนดอกทั้ง ชอ่ โยกซ้ายขวาระวงั อย่าใหป้ าก แลว้ ดงึ ออกจากถุงเห็ด บนลา่ ง- ถ้าดอกเห็น ถงุ เห็ดบาน โคนขาดตดิ อยูใ่ ห้แคะออก ทิง้ ใหส้ ะอาดเพื่อป้องกัน เป็นสาเหตุทา การเนา่ เสยี ให้เกดิ หนอนจากการ วางไขข่ องแมลงได้ การดู ลกั ษณะดอกเห็ดที่ควรเกบ็ คอื ดอกไม่แก่ หรอื อ่อนจนเกินไป ดูท่ีขอบดอกยงั งมุ้ อยู่คือดอกทเ่ี หมาะ แกก่ ารเกบ็ เกีย่ ว ถ้าขอบยกข้ึนแสดงว่าแกแ่ ล้ว ดอกเหด็ ที่แก่จัด และ ออกสปอรเ์ ปน็ ผงขาวดา้ นหลังดอกเหด็ ต้องรีบเกบ็ ออก เพราะสปอร์ จะเปน็ ตัวชักนาใหแ้ มลงเข้ามาในโรงเรือนเพาะเหด็ นางรม และเหด็ นางฟ้าได้ การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๒๖

ขั้นตอนที่ 5 ปญั หำท่พี บในกำรเพำะเห็ดนำงฟำ้ ปญั หำท่ีพบในกำรเพำะเห็ดนำงรม และเหด็ นำงฟำ้ เราสามารถวเิ คราะหป์ ัญหาในการเพาะเห็ดนางรม และเห็ดนางฟา้ ออกมาได้ 7 ขอ้ หลัก ๆ ดงั นี้ 1. เชื้อในถงุ ไม่เดิน สาเหตุ ขณะหยอดเช้ือถงุ ก้อนเชือ้ ร้อนเกิน เชื้ออ่อนแอเกนิ ไป และลมื หยอดเช้ือ วิธีแกไ้ ข ต้ังกอ้ นเช้ือใหเ้ ยน็ อย่างนอ้ ย 24 ช่งั โมง คดั เชือ้ ออ่ นแอท้งิ ก่อนหยอดเชื้อ ขณะหยอดเชือ้ ต้องมีสติ และสมาธแิ นน่ แน่ 2. หนอนแมลงหวี่กนิ เส้นใย สาเหตุ แมลงหวีไ่ ข่ไว้ทฝ่ี าจกุ หรอื สาลี วธิ ีแก้ไข ตรวจสอบสุขภาพอนามัยของโรงเรอื น จุก สาลี ต้องนึ่งฆา่ เชือ้ สาลีต้องอุดให้แน่น ปดิ กระดาษให้สนิท อย่าให้มชี ่อง 3. เช้ือเดนิ แตห่ ยดุ มีกลิ่นบูด มนี ้ำเมอื ก มีสเี หลอื ง เขียว หรอื สดี ำ สาเหตุ มรี าหรอื แบคทีเรียปนเป้ือน นึ่งฆ่าเช้ือไมห่ มด น่ึงฆา่ เชื้อดีแต่ กระบวนการลดความร้อนและเปิดหม้อนงึ่ ไม่ถูกตอ้ ง เช้อื เห็ดท่ีใช้ไม่มี คณุ ภาพ วิธกี ารหยอดเชอ้ื ไมด่ ี บม่ ถงุ ก้อนเช้ือหนาแนน่ เกนิ ไปทาใหก้ าร ระบายอากาศไม่ดี มคี ารบ์ อนไดออกไซค์มาก วิธีแกไ้ ข ใหท้ บทวนสาเหตุหลักของการปนเป้ือน ตรวจกระบวนการนงึ่ เรื่อง เวลา อุณหภมู ิ จานวนก้อน ไลอ่ ากาศในหม้อนง่ึ ค่อยๆลดความ ร้อน อย่าเปดิ หม้อน่ึงอย่ารวดเร็ว ตรวจดูจกุ สาลีว่าแนน่ หรอื ไม่ ใช้เช้ือ เห็ดท่ีบรสิ ทุ ธ์ิ อบรมวิธีการปลอดเชื้อ และปรับปรุงวธิ ที างาน ห้องบ่ม เช้ือควรมีอุณหภมู ิ 25 – 30 องศาเซลเซียส ปรับปรุงเรื่องสุขอนามยั ฟาร์ม 4. เชอื้ เดินเตม็ กอ้ น แตไ่ มอ่ อกดอก สาเหตุ เชอ้ื เปน็ หมนั เชอ้ื ไมด่ ี สภาพแวดล้อมในโรงเรือนไม่เหมาะสม มสี งิ่ ปนเปอ้ื น เช่น รา ไร แบคทีเรยี หนอน และมีการใชส้ ารเคมีมากเกินไป วธิ แี ก้ไข จดั หาเชอ้ื ใหม่ จดั สภาพในโรงเรอื นใหเ้ หมาะสม จัดสุขอนามยั ฟาร์ม แสง อุณหภมู ิ ความชื้น การถ่ายเทอากาศ และไม่ควรใชส้ ารเคมี กาจดั แมลง 5. เกิดดอกเห็ดแต่ก้ำนยำวหมวกดอกไม่แผ่ออก สาเหตุ แสงไม่เพียงพอและมีคาร์บอนไดออกไซคม์ ากเกนิ ไป วธิ แี กไ้ ข ปรบั แสงให้มากขึน้ จัดใหอ้ ากาศถ่ายเทไดด้ ขี นึ้ 6. เกดิ หนอ่ มำกแต่ดอกกลับเติบโตนอ้ ย สาเหตุ เชอ้ื ออ่ นแอ เง่ือนไขเหมาะแกก่ ารเกดิ หน่อ ไมเ่ หมาะแก่การ พฒั นาของดอก ขาดออกซิเจนและแสง อาหารในก้อนเชือ้ ไม่เพียงพอ การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๒๗

หรือไม่มคี ุณภาพ เชื้อท่ีใชไ้ มด่ ี มีคุณภาพต่า มจี ลุ นิ ทรีย์ต่างๆรบกวน การถา่ ยเทอากาศไม่ดี ความชนื้ สูงเกินไป และรดน้ามากเกินไป เกิดจากการใชส้ ารเคมใี นชว่ งเปดิ ดอก การแก้ไข เปลยี่ นเชื้อใหม่ ปรับเง่ือนไขของการเกิดดอก เพิ่มการถา่ ยเทอากาศ เพิ่มช่องแสง ตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบ ใช้เชือ้ ที่มีอัตราการเดินเส้นใยดี ปรับโรงเรือนไมใ่ หเ้ หมาะกับจุลนิ ทรยี ์ เพม่ิ การ ถ่ายเทอากาศ ลดความช้นื ลง ควรเลกิ ใช้สารเคมีในช่วงเปดิ ดอก 7. เกิดดอกเพียงรุ่นเดียวรนุ่ ต่อไปไมเ่ กดิ สาเหตุ อาหารในก้อนเชอ้ื ไม่เพยี งพอ เกดิ การปนเปื้อน การจดั โรงเรือนไม่ดี เช้ือไม่ดี การแก้ไข ปรบั สตู รอาหารใหม่ จดั การเรอ่ื งสุขอนามัยฟาร์ม ปรับเรอ่ื งแสง อุณหภมู ิ ความช้นื ขดู ลอกผิวสว่ นท่ี ปากถุงออก ปรับปรงุ วธิ กี ารจัดการและเอาใจใส่มากขน้ึ เปล่ียนเช้อื ใหม่ การปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๒๘

ส่วนที่ 4 บทสรุปกำรดำเนนิ งำนมุ่งสู่ควำมเป็นเลศิ  การส่งเสรมิ สนับสนนุ มุ่งส่คู วามเปน็ เลศิ Best Practice เป็นวิธีการปฏิบัติงานท่ีดี ไมวาจะนาไป ปฏิบัติท่ีไหน อยางไร ซึ่งผลงานท่ีปฏิบัตินั้น ไดนาไปสูผลสาเร็จ หนวยงานจาเป็นตองมีการ แลกเปล่ียนวิธีการปฏิบัติงานท่ีดีกับหนวยงานยอย และมีการ แลกเปลี่ยนระหว่างหน่วยงานตาง ๆ ท้ังภายในและภายนอก ผล สุดท้าย คือ การนา Best Practice นัน้ ไปใชจนเปนมาตรฐาน  สรุป Best Practice เปนวิธีการทางานท่ีดีที่สุดในแตละเรื่อง ซ่ึงสามารถเกิดข้ึน ไดในทุก หน่วยงานจากหลายชองทาง ท้ังตัวผู้นาและผูรวมงาน ผู มีสวนไดสวนเสีย หรือภาวะปญหา และการ ริเริ่มสรางสรรคพัฒนาท่ีมีข้ันตอน เม่ือมีวิธีการทางานท่ีดีตองทา ผ่านการเล่าเรื่องที่เป็นการทางานของตนเองมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในลักษณะของการแลกเปล่ียนขามสายงาน ขามหนวยงานโดย เกิดขึ้นในระดับบุคคล ระดับกลุมคน และระดับหน่วยงานย่อย Best Practice ที่ไดควรมีการ บันทึก เขียนรายงานเพื่อการศึกษาพัฒนาและเผยแพรได ซง่ึ จะเกดิ ประโยชนอ์ ยา่ งยิง่ การส่งเสริม สนับสนุน ให้กับกลุ่ม โดยทาง กศน. ตาบลคลองแห ได้ดาเนินการต่อยอดความรู้ให้แก่กลุ่ม เร่ือย ๆ จนทางกลุ่มพัฒนาฝีมือให้ดีย่ิงขึ้น เมื่อผ่าน ประสบการณ์ต่าง ๆ ทางดา้ นการรบั งานจนเปน็ ท่ยี อมรับของคนในชุมชน และกลมุ่ หนว่ ยงานต่าง ๆ ทาง กศน. ตาบลคลองแห ได้สนับสนุน ส่งเสริมด้านการตลาด โดยการฝึกอบรมให้ความรู้ด้านดิจิทัลชุมชน โดยการฝึก ทาเวปเพจของกลุ่ม และได้มีการสอนประชาสัมพันธ์สินค้า ผา่ น Facebook และ ไลน์ จึงทาให้เป็นท่รี ้จู กั ของลูกค้า กศน.อาเภอหาดใหญ่ ได้ให้ความสาคัญกับกลุ่มอาชีพใน ชุมชนทุกชุมชน โดยได้จัดให้มีการส่งเสริมการตลาดสินค้าใน ชุมชนให้เป็นรู้จักและยอมรับของคนทั่วไป โดยมีการจัด “โครงการมหกรรมวิชาการและการพัฒนาทักษะชีวิตทาง การศึกษา” ในวันท่ี 30 มีนาคม 2561 ณ หอประชุม การปฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๒๙

วิทยาลยั เทคนคิ หาดใหญ่ ตาบลคอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา บรรยากาศในงานมีความครึกคร้ืนมาก เพราะเป็นงานมหกรรมวิชาการ มี กศน.ตาบลเข้าร่วม 13 ตาบล มีสินค้าและผลิตภัณฑ์มานาเสนอกันอย่าง มากมายและหลากหลาย ทาใหม้ กี ารซื้อสินค้ากันอย่างสนกุ สนาน กำรตอ่ ยอดกลุม่ กำรเพำะเหด็ นำงฟ้ำครบวงจร โดยกำรจัดทำโครงกำรต่อเนอ่ื ง ชอ่ื โครงกำร กำรอบรมทำปยุ๋ หมักชีวภำพจำกกอ้ นเชื้อเห็ด หลักกำรและเหตผุ ล กศน.อาเภอหาดใหญ่ ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณ จากสานักงาน กศน.จงั หวัดสงขลาแผนงานพ้ืนฐาน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตท่ี 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน การศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนา คุณภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายกระบวนการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียนและพฒั นาคุณภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายกระบวนการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการในรปู แบบการ ให้ความรู้ฝึกอบรม การจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ถือว่าเป็นปรัชญาการดาเนินชีวิตเศรษฐกิจที่จะต้อง เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนรู้จัก การ ประมาณตน มี เหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน บนฐานความรู้คู่คุณธรรม เพ่ือการ ดารงชีพอย่างย่ังยืน ในหลากหลายอาชีพ ซึ่งมีขอบเขต กว้างขวาง และเก่ียวข้องกับปัจจัยต่างๆ เป็นอันมาก อาทิ การ จัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม การเกษตร การศึกษา การสาธารณสุข การพัฒนาชุมชน เพ่ือเป็นเคร่ืองกากับการ ดารงชีวิตทุกชีวิตอย่างมีความสุข และการจัดทาโครงการอย่าง พอเพียง เพ่ือเป็นการสร้างอาชีพเสริมสาหรับเกษตรกรซ่ึง สามารถทารายได้ให้กับเกษตรกรได้มากสาหรับการเพาะเล้ียง เหด็ กอ้ นแต่ปญั หาทีต่ อ้ งพบหลังจากการเพาะเห็ดท่ตี ้องตามมาหลงั จากกอ้ นเห็ดหมดอายุ เปน็ จานวนมากท่ตี ้อง นาไปทาลายท้ิง อาจเป็นปัญหาต่อสภาพแวดล้อม วธิ ที ่ีดี คือก า ร น า ก้อนเห็ดไปทาลายที่มีประโยชน์โดยทาให้ย่อยสลายเป็น ปุ๋ ย ห มั ก สาหรับบารุงดินและบารุงพืช ทางการเกษตร เป็นปุ๋ย ห มั ก ที่ มี คณุ ภาพดี จะได้ธาตุอาหารท่ีเหลือตกค้างในก้อนเห็ดเก่า ใ ช้ บ า รุ ง อาหารให้กับต้นพืช ธาตุอาหารได้จากโปรตีนจากเนื้อ เ ย้ื อ ใ น เ ส้ น ใยเห็ด ซงึ่ เปน็ กระบวนการเรียนรู้ ทเี่ ราจะเรียนรู้ และนา องค์ความรู้ ท่ไี ด้ขยายสู่การปฏบิ ตั ริ ่วมกนั อย่างแท้จรงิ การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๐

กศน.อาเภอหาดใหญ่จากการทไ่ี ด้จดั เวทปี ระชาคม และ สรปุ แผนประจาตาบล ในพืน้ ทอี่ าเภอหาดใหญแ่ ลว้ พบว่า กิจกรรมท่ี ประชาชน สนใจและควรได้รับการส่งเสริมการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลัก ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในรปู แบบดงั กลา่ วโดยนาแนวทางการจดั กจิ กรรมมาสนับสนุน ส่งเสรมิ จดั กิจกรรมการศึกษา เพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ให้แก่ประชาชน กลมุ่ เป้าหมายนาปรับไปใชใ้ นการดาเนินชีวติ ตอ่ ไป วัตถุประสงค์ ๑ เพือ่ ให้มีความร้แู ละทักษะทจี่ าเปน็ สาหรบั การดารงชวี ติ ในสังคมปัจจุบนั ๒. เพื่อปลูกจิตสานึก ในการลดรายจ่าย สรา้ งรายได้ การปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๓๑

กระบวนกำรจัดโครงกำรต่อเนอ่ื งเพอื่ สง่ เสรมิ สนบั สนุนกลมุ่ ใหม้ ีควำมเข้มแข็งและเพม่ิ ช่อง ทำงกำรสร้ำงรำยได้เสริมให้ชุมชน ๑. ช่ือโครงกำร กำรอบรมใหค้ วำมร้กู ำรแปรรปู ผลิตภัณฑเ์ ห็ด ๒. ควำมสอดคล้องกับยุทธศำสตร์และจดุ เน้น สอดคล้องกับนโยบายของสานักงาน กศน.จุดเน้นการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนใหม้ ีคุณภาพ ข้อ 6 จัด กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนา อาชีพเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน 6.1 พัฒนาบุคลากรและแกนนา เกษตรกรในการเผยแพร่และจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง เกษตรธรรมชาติสูก่ ารพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ๓. หลกั กำรและเหตุผล กศน.อาเภอหาดใหญ่ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จาก สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลาแผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน การศึกษาเพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของ ผู้ เ รี ย น แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ บ บ บูรณาการ มีความสาคัญต่อการ เรียนรู้ของผเู้ รยี นและพัฒนาคุณภาพ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ บ บ บูรณาการในรูปแบบการให้ความรู้ ฝึกอบรม การจัดกิจกรรมเศรษฐกิจ พอเพียง ถือว่าเป็นปรัชญาการ ดาเนินชีวิตเศรษฐกิจที่จะต้องเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนรู้จัก การ ประมาณตน มเี หตุมผี ล และมภี ูมคิ มุ้ กัน บนฐานความรคู้ ู่คุณธรรม เพ่อื การดารงชีพอย่างยง่ั ยนื ในหลากหลาย อาชีพ ซ่ึงมีขอบเขตกว้างขวาง และเก่ียวข้องกับปัจจัยต่างๆ เป็นอันมาก อาทิ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม การเกษตร การศึกษา การสาธารณสุข การพัฒนาชุมชน เพ่ือเป็นเครื่องกากับการดารงชีวิตทุก ชีวิตอย่างมีความสุข และการจัดทาโครงการอย่างพอเพียง เพ่ือเป็นการสร้างอาชีพเสริมสาหรับเกษตรกรซึ่ง สามารถทารายได้ให้กับเกษตรกรไดม้ าก ท้ังน้ี เหด็ เปน็ อาหารประเภทโปรตนี ที่ดเี ห็ดยังสามารถใช้แทนเนื้อสัตว์ ต่าง ๆ สาหรับคนที่งดกินเนื้อสัตว์ นอกจากน้ันเห็ดยังมีคุณค่าทางอาหารในด้านอื่นๆอีกมากมาย การป้องกัน โรคมะเร็ง,โรคหวั ใจ,ลดคลอเรสเตอรอลในเส้นเลอื ด หรือยังช่วยในระบบขบั ถา่ ย เพราะเห็ดมีสารอาหารท่ีพบได้ สูงกว่าเนื้อสัตว์บางชนิดเช่น สารเบต้า -กลูแคน,ไฟเบอร์, กรดอะมิโน จึงทาให้เห็ดเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค การปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๒

เน่ืองจากเห็ดเป็นผลผลิตที่มีอายุค่อนข้างส้ันทาให้การเก็บรักษาเป็นสิ่งที่จาเป็น ดังนั้นจึงต้องมีการจัดการใน เรอื่ งของการเกบ็ เก่ยี วการเกบ็ รักษาร่วมไปถึงการถนอมเห็ดให้ สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุดในกรณีที่เห็ดมีปริมาณมากเกิน กวา่ ตลาดจะรับได้การเกบ็ รักษาและการถนอมไว้อย่างเดียวคง ไม่พอจึงจาเป็นที่จะต้องนาเห็ดมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อ เปน็ การเพิม่ มูลคา่ ให้แกเ่ ห็ด กศน.อาเภอหาดใหญ่จาก การท่ีได้จัดเวทีประชาคม และสรุปแผนประจาตาบล ในพื้นที่ อาเภอหาดใหญ่แล้วพบว่า กิจกรรมท่ีประชาชน สนใจและ ควรได้รับการส่งเสริมการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ในรูปแบบดังกล่าวโดยนาแนวทางการจัด กิจกรรมมาสนับสนุน ส่งเสริมจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้แก่ประชาชน กล่มุ เปา้ หมายนาปรบั ไปใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิตตอ่ ไป ๔.วัตถปุ ระสงค์ ๑ เพอื่ นาเสนอทางเลือกในการประกอบอาชีพสาหรบั ผู้ท่ตี อ้ งการอาชีพเสรมิ รายได้ ๒.เพื่อเพิ่มมลู ค่าให้กบั สนิ ค้าทางการเกษตร 1.ช่ือโครงกำร กำรอบรมให้ควำมรู้เรือ่ งกำรจดั ตงั้ วิสำหกิจชุมชนเหด็ นำงฟำ้ 2.ควำมสอดคล้องกับยุทธศำสตร์และจดุ เนน้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคนให้มีคณุ ภาพ ข้อที่ ๖ จัด กระบวนการเรยี นรตู้ ามแนวทางเกษตรธรรมชาติสกู่ าร พัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอย่างย่ังยนื ๖.๑ พฒั นาบคุ ลากร และแกนนาเกษตรกรในการเผยแพรแ่ ละจัดกระบวนการ เรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ กู่ ารพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม 3. หลักกำรและเหตผุ ล กศน.อาเภอหาดใหญ่ รับการจัดสรร งบประมาณ แผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน ผลผลติ ท่ี ๔ ผรู้ ับบรกิ ารศกึ ษานอก ระบบ กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน การจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ 256๒ เพ่ือ ดาเนินการจัดกิจกรรม ไตรมาส ๒ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ นน้ั กศน.อาเภอหาดใหญ่ เห็นความสาคัญ และเน้นการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม แนวทางของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี ความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนา คุณภาพประชาชนกลุ่มเป้าหมายกระบวนการจัด การปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๓

การศึกษาแบบบรู ณการในรูปแบบการฝึกอบรม การจดั กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ถอื วา่ เป็นปรัชญาการดาเนิน ชวี ิตเศรษฐกจิ ทจี่ ะต้องเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ใหป้ ระชาชนรู้จกั การประมาณตน การมีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน บนฐานความรู้คู่คุณธรรม เพื่อการดารงชีพอย่างย่ังยืน ในหลากหลายอาชีพ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง และ เกี่ยวข้องกับปัจจัย ต่าง ๆ เป็นอันมาก อาทิ การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม การเกษตร การศึกษา การพัฒนาชุมชน เพ่ือเป็นเครื่องกากับดารงชีวิตทุกชวี ติ อย่างมีความสุข และการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ เร่ืองการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนเห็ดนางฟ้า เพื่อเป็นการ สร้างอาชีพเสริมสาหรับเกษตรกรซ่ึงสามารถทารายได้ ให้กับเกษตรกรได้มาก ทั้งนี้เพื่อสร้างความมั่นคงให้กับ ชุมชนจากการจาหน่ายผลผลิต และเพ่ือสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง และได้จัดตั้งกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชนเป็น กิจกรรมทางเศรษฐกิจในการผลิตสินค้าและบริการ ที่เกิดจากการร่วมกันคิดร่วมกันทา ของคนในชุมชนบน พ้ืนฐานของความรู้ ทุน ทรัพยากร ประสบการณ์ ตลอดจนศักยภาพของชุมชนโดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างรายได้ และให้ชุมชนพึ่งตนเองได้มากกว่ามุ่งหากาไรสูงสุด โดยใช้งบประมาณ แผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตท่ี ๔ ผู้รับบริการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบ งบ ดาเนนิ งาน การจดั การศกึ ษาเพ่อื เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปงี บประมาณ 25๖๒ กศน.อาเภอหาดใหญ่จากการทไี่ ดจ้ ัดเวทีประชาชาคมและสรุปแผนประจาตาบล พบวา่ กิจกรรม ที่ประชาชนสนใจและควรได้รับการส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใน รปู แบบการให้ความรใู้ ห้ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายนาประโยชนท์ ่ีไดร้ บั ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต 4. วัตถุประสงค์ 1 เพ่ือให้ผู้เขา้ ร่วมอบรมทกุ คนในกลมุ่ ได้ประกอบอาชีพอสิ ระ ๒ เพอ่ื สรา้ งความมัน่ คงใหก้ บั ชุมชนจากการจาหน่ายผลผลิต และเพื่อสร้างใหช้ ุมชนเข้มแข็ง การปฏบิ ตั ทิ เี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๔

กำรออกบ๊ธู แสดงสินคำ้ งำนประชำรัฐ การปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๕

กำรทำปยุ๋ หมักจำกก้อนเช่ือเหด็ ตอ่ ยอดกบั กลมุ่ อำชีพเกษตรกร การปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๖

แหล่งเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียง “กำรเพำะเห็ดครบวงจรและกำรปลูกผักยกแคร่ ชมุ ชนต้นแบบตำมโครงกำรไทยนิยม ย่ังยนื ระดับตำบล ของสำนกั งำน กศน” ข้นั ตอนกำรเตรยี มดินและกำรสร้ำงโรงเรือน เพ่ือปลูกผักยกแคร่ การปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หน้า ๓๗

ผลผลติ จากการปลกู ผกั ยกแคร่ การปฏิบตั ิทเี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๘

ผลผลติ จากการปลกู ผกั ยกแคร่ การปฏิบตั ิทเี่ ปน็ เลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๓๙

กจิ กรรมโครงกำรมหกรรมวิชำกำรและกำรพัฒนำอำชีพ นกั ศกึ ษำ กศน. วันที่ 25 มนี ำคม 2564 ณ กศน.อำเภอหำดใหญ่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหำดใหญ่ จังหวดั สงขลำ การปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๔๐

กจิ กรรมโครงกำรมหกรรมวิชำกำรและกำรพัฒนำอำชีพ นกั ศกึ ษำ กศน. วันที่ 25 มนี ำคม 2564 ณ กศน.อำเภอหำดใหญ่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหำดใหญ่ จังหวดั สงขลำ การปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๔๑

การปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลศิ Best Practice (กศน.ตาบลคลองแห) หนา้ ๔๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook