Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รำภาข้าวสาร

รำภาข้าวสาร

Published by P'Pakjira Prajuabsuk, 2021-03-24 16:34:11

Description: รำภาข้าวสาร
รำภาข้าวสาร เป็นเพลงพื้นบ้านของจังหวัดปทุมธานีที่สำคัญและเป็นเพลงที่นิยมร้องเล่นเฉพาะที่ปทุมธานีได้แก่ เพลงโนเน เพลงรำภาข้าวสาร และเพลงระบำพื้นบ้าน เนื่องจากโอกาสในการร้องมีเพียงในเทศกาล หากนอกเทศกาลก็จะไม่ได้ยินชาวบ้านร้องกัน ส่วนมากเกี่ยวข้องกับประเพณีการทำบุญ เช่นเพลงรำภาข้าวสารที่นิยมเล่นในฤดูน้ำหลากหรือออกพรรษา

Search

Read the Text Version

เพลงพื้นบา นภาคกลาง เพลงราํ ภาขา วสาร โดย นางสาวภคั จริ า ประจวบสุข และ นายอดิศร รกั ษภ ิรมย

มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ท 5.1 เขา ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยางเหน็ คุณคา และนํามา ประยกุ ตใชใ นชีวิตจริง ตวั ชี้วดั ท 5.1 ป.4/3 รองเพลงพ้นื บา น

ประวตั คิ วามเปน มาของรําภาขา วสาร ในป พ.ศ. 2310 กรงุ ศรีอยุธยาเสยี แกพมา “ เจา สวั สุน” และบตุ รสาวช่ือ “นอ ยระนาด” ไดพา ครอบครัวลงเรอื หนีพวกพมา ลอ งลงมาตามแมนาํ้ เจาพระยาในเวลากลางคนื พอสวางไดเขา พกั หงุ อาหารรบั ประทานกันทชี่ ายฝง ทเ่ี ปนท่ีตัง้ ของวัดแจง ตาํ บลสามโคก อําเภอสามโคก จังหวดั ปทมุ ธานี เมอื่ รับประทานอาหารกลางวันเสรจ็ เรียบรอ ยแลว เดินทางตอ ไปยังกรงุ ธนบุรี “นอ ยระนาด” เปนหญิง งามมคี วามสามารถในการตรี ะนาดไดไพเราะมาก ตอมาไดรับแตงตั้งเปนเจาจอม ในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา นภาลัย (รัชกาลที่ 2) กรุงรัตนโกสินทร มีพระราชโอรสประสูติในวันเสารแรม 12 คาํ่ เดอื น 3 ปฉ ลู ตรงกบั วนั ท่ี 15 กุมภาพนั ธ 2348 ไดรบั พระนามวา “พระองคเจา ชายกลาง” มารดาไดเปน “เจาจอมมารดานอ ยระนาด” เมือ่ พระองคเ จาชายกลาง ทรงเจริญวยั ขึ้น ไดรับหนาทก่ี าํ กับกรมชา ง ใน รัชกาลที่ 3 ตอมาในรชั กาลที่ 4 พระองคเจาชายกลางไดทรงกรมเปนที่ “ กรมหลวงเทเวศรวชั รนิ ” ได ทรงวา ความศาลราชตระกูล ไดเ ลอ่ื นเปน กรมเทเวศรว ชั รนิ จนสิน้ พระชนม ในพ.ศ. 2419 พระชนมายุ 73 พรรษา ทรงเปน ตน ตระกูล “วชั รีวงศ”

ประวตั ิความเปนมาของรําภาขาวสาร กรมพระเทเวศรวชั รนิ ทร มีบุตรชาย 1 พระองคค อื พระวรวงศเธอพระองคเ จา วัชรีวงศ (พระองคเจาขาว) ผเู สด็จมาบรู ณะวัดแจง เปนประจาํ ทุกป ในสมยั นน้ั และพระองคเ จาขาวนีเ้ ปนผทู รง ริเร่มิ ใหม ีการลาํ ภาขา วสารขึน้ ในจังหวดั ปทมุ ธานี เพ่อื นําขา วสารและปจจยั ท่ไี ดไ ปทาํ บญุ กุศลท่ีวัดแจง ดังนน้ั การขับรองเพลงเพอ่ื ลําภาขาวสาร จึงเรมิ่ ตนดว ยการคารวะพระองคท าน โดยการขนึ้ ตนเพลง วรรคแรกวา “ เจาขาวลาละลอกเอย................” เมอ่ื พระองคเจา ขาว ส้นิ พระชนมไ ปแลว หมอมราชวงศห ญิงกระแส วัชรวี งศ และหลวงราชพงษภกั ดี (เลี่ยม วชั รีวงศ) บุตรของพระวรวงศเ ธอพระองคเจาวชั รีวงศ (พระองคเ จา ขาว) จะนาํ กฐนิ มาทอด และมักจะมีการละเลนโขน ฟอ นราํ และรวี วิ ตาง ๆ มาดว ยเปนท่ีสนกุ สนาน

ประวตั คิ วามเปน มาของราํ ภาขาวสาร รําภาขา วสาร เปนเพลงพน้ื บา นของจงั หวัดปทุมธานีที่สาํ คญั และเปนเพลงที่นิยมรอ งเลนเฉพาะท่ี ปทมุ ธานีไดแก เพลงโนเน เพลงราํ ภาขาวสาร และเพลงระบําพนื้ บา น เน่อื งจากโอกาสในการรอ งมเี พยี งใน เทศกาล หากนอกเทศกาลก็จะไมไ ดย ินชาวบานรอ งกนั สวนมากเกี่ยวขอ งกับประเพณกี ารทําบุญ เชน เพลง รําภาขาวสารที่นิยมเลน ในฤดูนํ้าหลากหรือออกพรรษา คาํ วา ราํ ภา เปน ภาษาโบราณ พบในเร่อื งระเดนลนั ได แปลวา เที่ยวขอไป ชาวไทยจังหวัด ปทมุ ธานีแตโบราณนาํ มาใชเ รียก บอกบญุ ขอรบั บรจิ าคขาวสาร และสง่ิ ของตาง ๆไปทาํ บญุ ทอดกฐิน ตามศรัทธา โดยจะเรม่ิ กระทาํ กนั เม่อื ออกพรรษาแลว เพราะในระหวา งท่ีออกพรรษาของชาวพทุ ธ จะ นิยมทาํ การทอดกฐนิ และทอดผา ปา ในรปู กฐนิ สามคั คี คอื ใหเจาภาพรับทําบุญรว มกันในการทอดกฐิน แตละคร้ังจะตอ งลงทุนมาก จะตองมีขาวของเงนิ ทอง เพอ่ื ทางวัดจะไดอ าศยั ขา วของเงินทองหรอื จตุปจจยั ที่นาํ ไปทอดถวายนี้บํารงุ และซอ มแซมวดั เปน การสืบตออายขุ องพระพุทธศาสนาใหย ง่ั ยืน ยาวนาน

เนอ้ื เพลงราํ ภาขา วสาร บทที่ 1 บทเกรนิ่ มเี นือ้ หาเพือ่ บอกจดุ ประสงคของการราํ ภาขาวสารใหเ จา ของบานทราบวา เรอื ของ คณะลาํ ภาขาวสารกําลงั เขามาจอดในบริเวณของบาน เปนสัญญาณบอกใหเ จาของบา นรูตัว ใหต ่ืนเพอ่ื เตรียมตวั นําขา วสารหรือปจจยั อนื่ มาบรจิ าค บทท่ี 2 บทขอ มคี วามหมายวาเชิญชวนใหเจาของบา นมาทาํ บุญ โดยสว นมากเน้อื รอ งของบทขอนี้ จะ มคี วามหมายเกยี่ วกบั การไดผ ลบุญและอานิสงฆตาง ๆ บทนีต้ อ งรองจนกวาจะไดร บั การบริจาค เสมือนวา คณะราํ ภาตอ งรอ งเอาชนะใจเจา ของบา นใหไ ด หลังจากนนั้ จงึ เปน การบริจาคขา วสารและสิง่ ของ บทที่ 3 บทใหพร หรือบทลา มีความหมายวา คณะลาํ ภาขา วสารรอ งขอบคณุ ผูบ รจิ าคและใหศลี ใหพ ร วา ใหไดรับสวนกุศลของการทาํ บญุ คร้ังนี้ เชนใหอ ยูเยน็ เปนสขุ อายยุ ืนนาน และมรี ปู รา งสวยงาม เปน ตน บทน้อี าจตองรองเปน เวลานานหลายเทย่ี วจนกวา เจาของบา นจะพอใจ เจาของบา นคนใดชอบฟง โอกาสน้ี สามารถขอใหค ณะรําภาขา สารรองใหพรหลายเทย่ี วได หากเจาของบา นยงั ปลอ ยใหร องนานเกินไป แมเ พลง จะรอ งขึ้นทาํ นองตอวา วา อยาใหค อยนานขอใหร ีบมาชว ยทาํ บุญเพราะตองรบี เดนิ ทางไปบานอนื่ อีก เมอื่ รอ งใหพ รแลวเรือจะเคล่อื นไปขอบริจาคบานหลงั อนื่ ๆ ตอไป

เนอ้ื เพลงราํ ภาขา วสาร ตวั อยา งบทรอ งของบทเกริ่น (มัณฑนา ชพู ินจิ , 2549 : สมั ภาษณ ) แมเพลง : รอรานาวาจอด ประทบั ทอดที่หวั บันได แมเ จา ประคณุ ลูกเอาผลบุญมาให ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : เจา ขาวแมล าละลอกเอย ลาหอมดอกดอกเอย จําปา ขางข้นึ แลวหนอ เรามาขอราํ ภา ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : เชิญทาํ บญุ ทอดกฐินเอย รายไดท ัง้ ส้นิ ถวายวดั สาํ แลเชญิ ชวยทําบุญ เถดิ แมค ุณเรอื นแพ ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : กฐนิ มาถึงบา นเอย ราํ ภาขา วสารมาขอบอกบญุ เชญิ ตามศรทั ธา ทาํ บญุ มาเถดิ แมคณุ ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : มาถงึ แมบ านหลังนอกเอย ชว ยรอ งบอกแมเ อย เรือนใน แมเ จา ประคุณ ลกู เอาสว นบุญมาให ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย

เนอ้ื เพลงรําภาขาวสาร แมเพลง : มาถึงเรือนหลังใหญเอย หัวบันไดแมเ อย เปนทอง แมเ จาประคุณ ลกู เอาสวนบญุ มากอง ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : มาถงึ แมบ า นนี้เอย อยาไดรอรี จอดหัวบันได แมเ จาประคุณ ลกู เอาสว นบญุ มาให ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : มาถงึ แมเศรษฐีเรือนนอกเอย ชวยรอ งบอก แมเศรษฐเี รือนใน ปลุกลูก จงู หลานทาํ ทานไว ไว ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : มาถงึ บา นหลังใหญเ อย หวั บันไดของแมลอ มแกว แมเจา ประคุณ บญุ ของแมม าถงึ แลว ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเพลง : มาถงึ บานเรอื นโตเอย มที ง้ั รมโพธิ์ เอย รมไทร แมเ รือนเครอ่ื งทรัพย มวั นอนหลบั หรอื ไร ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย

เนื้อเพลงรําภาขา วสาร แมเพลง : จดุ ใตอยแู วม ๆ เอย แลเห็นแกวอยเู อย ไวไว โอแมน างแกว เขา นอนแลว หรือไร ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : เจาขาวแมล าละลอกเอย ลาหอมดอก ดอกเอย มะลวิ ลั ย แมเจา ประคณุ เชญิ ทาํ บญุ เสียดวยกัน ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเพลง : เจาขาวแมลาละลอกเอย ลาหอมดอก ดอกเอยลาํ ดวน ลกู มาลาํ ภา ใชว า จะมารบกวน ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : เจาขาวแมล าละลอกเอย ลาหอมดอกดอกเอยสมโอ ทําบญุ กบั ฉนั แมต ักขาวขันโต ๆ ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : เจา ขาวแมล าละลอกเอย ลาหอมดอก ดอกเอยมะไฟ แมเ จาประคณุ เชญิ มาทําบญุ ไวไว ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย

เน้ือเพลงราํ ภาขาวสาร ตัวอยา งบทรองของบทขอ (มณั ฑนา ชพู ินิจ , 2549 : สมั ภาษณ) แมเ พลง : ทําบญุ อยาเน่ินนานเอย มาทําทานอยา นวงเอย ชา วมิ านลองลอย มาจอดคอยอยูหนา ทา ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเพลง : ทําบุญกไ็ ดบ ุญเอย ไมเ ส่ือมสญู ไปเสยี เมือ่ ไร หวานขาวไวใ นนา กลายเปน หญาไปเสียเมอ่ื ไร ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเพลง : เจาขาวแมล าละลอกเอย ลาหอมดอก ดอกเอย อญั ชัญ ทําบญุ เถิดนะจะ จะไดท นั พระศรอี ารย ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเพลง : เจาขาวแมล าละลอกเอย ลาหอมดอก ดอกเอยมะละกอ ชีวิตแมยงั ไมตาย มาสรางบญุ ไวเสยี ใหพอ ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย

เนอื้ เพลงราํ ภาขา วสาร ตัวอยางบทรองของบทใหพ ร (มัณฑนา ชูพนิ จิ , 2549 : สมั ภาษณ) แมเพลง : ทาํ บญุ กบั ลกู แลว เอย ลาลูกแกว จะใหเ อยพร เอาขนั ลงหิน มารบั เอาศีลเอาพร ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเพลง : ทําบญุ กับลกู แลวเอย ลาลกู แกวจะใหเ อยพร ใหอ ยูดกี นิ ดี เปนเศรษฐีถาวร ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : ทําบุญกบั ลูกแลว เอย ลาลูกแกว จะขอลา อยูดี กินดี เปน เศรษฐเี งนิ ตรา ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : ทาํ บญุ กฐนิ แลว เอย เราท้งั สิ้นขอกราบอวยพร ขอใหท านร่าํ รวย พรอ มดวยจตุพร ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย

เนือ้ เพลงราํ ภาขาวสาร แมเพลง : แมนกึ เงนิ ขอใหเ งินมากองเอย แมนกึ ทองขอใหท องมาเกิด ทองเอย ทองคาํ แมกรวดนาํ้ เอาเถดิ ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : เจาขาวแมล าละลอกเอย ลาหอมดอกดอกเอย มะขาม แมทํามาคา ขาย ใหไดกําไรงาม ๆ ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเ พลง : เจา ขาวแมล าวละลอกเอย ลาหอมดอกดอกเอยจําป แมโชคอํานวย ใหถ กู หวยลอตเตอรี่ ลกู คู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย แมเพลง : ทาํ บุญกับลกู แลวเอย ลาลูกแกว จะขอลา อยดู ีมสี ขุ อยาไดมที ุกข มีรอ น ลูกคู : เฮ เฮ ลา เฮ ลา สาว เอย

สถานที่ในการละเลน ราํ ภาขา วสาร เปนแมนา้ํ ลาํ คลองในชมุ ชน หรือหมบู า นตาง ๆ สาํ หรบั ในหมูบ านสําแล จะใชริมแมน าํ้ เจา พระยา ท่มี บี า นเรอื นอยรู มิ แมน ํา้ โดยมีพาหนะทสี่ าํ คญั คอื เรอื มีทงั้ เรอื พายและเรือติด เครื่องยนต ในสมัยกอนใชเ รอื มาด

เครอื่ งดนตรี เคร่อื งดนตรที ่ใี ชป ระกอบในการรอ งเพลง ลาํ ภาขาวสาร นางมณั ฑนา ชูพินิจ (2549 : สมั ภาษณ) ซง่ึ เปน แมเพลงไดเ ลา ใหฟ งวา เวลาลงเรือมีคนชวยรองหลายคน จะใชฉ ิ่งเปนเคร่ืองกาํ หนดจงั หวะอยางเดียว เพราะฉ่ิงจะเปน สญั ญาณใหคนรอ งรองถกู และเสยี งฉ่งิ จะดงั ไกล แตขอมลู จากการศึกษาเอกสารของอเนก นาวกิ มูล (อา งองิ จาก ศรีจันทร นอ ยสะอาด : 57) เพมิ่ เตมิ เรื่องดนตรปี ระกอบ วา “ แตก ไ็ มล มื ฉิ่งกบั โทน 2 ใบทชี่ ว ยตีประกอบจังหวะดนตรหี รอื อะไรอยางอืน่ ไมต อ ง” จากขอ มูลท่แี ตกตางกนั ดังกลาว มคี วามเปน ไป ไดว า การละเลน ลําภาขา วสารของดั้งเดมิ ในสมัยกอน อาจมกี ารใชเ ครือ่ งดนตรปี ระกอบการรอ งไปดวย แต เวลาผา นมาเน่ินนาน เกิดการเปลย่ี นแปลงและยดึ ความสะดวกจากฉิง่ กบั โทน ตัดเหลือเพยี งฉ่งิ อยา งเดียว

การแตงกาย การแตง กายของคณะลาํ ภาขา วสาร สวนมากจะแตง กายของชาวบา นแบบธรรมดา ผูช ายสวมเสอ้ื กางเกงขายาว และมีผาขาวมาคาดเอว สวนผูหญิงนุงผา ถงุ ใสเ สอ้ื สภุ าพ มผี า สไบพาดไหล บางคนกส็ วมหมวกเพือ่ กนั นํ้าคาง ซึง่ ผเู ขารวม กจิ กรรมสวนใหญม อี ายุประมาณ 40-70 ป

ลกั ษณะและข้ันตอนการละเลน การละเลน เพลงลําภาขา วสาร มัณฑนา ชพู ินิจ (2549 : สมั ภาษณ) ไดเลา ใหฟ งวา ชว งเวลาในการละ เลนลาํ ภาขาวสาร จะเริ่มกระทาํ เมอื่ อกพรรษา โดยจะจัดในชว งกลางคนื ตง้ั แต 1 ทมุ เปนตน ไป และมักจะจัด ในชวงเดือนหงาย โดยเรม่ิ แรกชาวบา นจะรวมกลุมกัน และหาขอ มลู การทอดกฐนิ ของวดั ตาง ๆ ใกลห มูบาน เพ่ือกาํ หนดวันในการจัดกิจกรรม และกําหนดการละเลนลําภาขาวสารกอนวนั ทอดกฐนิ ประมาณ 3-4 วนั หลงั จากน้นั จงึ มีการนัดประชุมพบปะผูที่จะเขารวมกิจกรรมท่ีบา นแมเ พลง เพอ่ื นัดหมายวนั เวลา และราย ละเอยี ดของกจิ กรรม และแจงแกเ จา อาวาสวดั ที่จะนาํ ของไปรว มถวาย หลังจากนนั้ จงึ มกี ารจดั เตรียมเรือ และอุปกรณต าง ๆ เม่ือถึงกาํ หนดวันท่ีไดน ัดหมายผเู ขารวมกจิ กรรมทกุ คนมาพบปะกนั ณ สถานทีน่ ัดหมาย เพือ่ ลงเรอื ตามที่จดั เตรียมไว

ลักษณะและขัน้ ตอนการละเลน ทองคํา พันนัทธี (2536 : 35) ไดก ลาวไวใ นหนงั สอื ของดีเมอื งปทมุ วา วธิ เี ลน ลาํ ภาขา วสาร จะมี บคุ คลคณะหน่ึงทง้ั ชายและหญงิ ประมาณ 20-30 คน มีท้งั คนแก หนมุ สาวรวมไปในคณะดวย พอตกคา่ํ ก็ ลงเรอื ทเ่ี ตรยี มไว จะเปนเรอื จา ง เรอื มาดหรอื เรือบณิ ฑบาตก็ได ขอใหลาํ ใหญ ๆ จุคนไดมาก ทุกคนชวยกนั พายเรือ ในเรือมีกระบุง กระสอบสาํ หรับใสขาวสาร และจัดใหคนแกคนหนง่ึ นงุ ขาวหมขาว น่งั กลางลาํ เรือ เปนประธานโดยไมต องทาํ อะไร จุดหมายทไ่ี ปคอื ตามบา นทั่วไปทจี่ อดเรือไวถงึ หวั บนั ไดบานก็รองเพลงโดยมี คนนํา แลวเจา ของบา นจะนาํ ขาวสารมาใหท เ่ี รือและยกมืออนโุ มทนา หลงั จากบริจาคขา วสารอาหารแลว กจ็ ะ ใหศ ลี ใหพรแลวออกเดินทางไปยังบานอ่ืนตอ ไป

รปู ภาพประกอบการละเลน