หนงั สือเรียนสาระความรูพ ืน้ ฐาน รายวชิ าภาษาไทย (พท31001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) หามจาํ หนาย หนงั สอื เรยี นเลมนี้ จัดพิมพด วยเงินงบประมาณแผน ดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชวี ติ สําหรับประชาชน ลขิ สิทธเิ์ ปน ของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร
หนงั สอื เรียนสาระความรพู ้ืนฐาน รายวชิ าภาษาไทย (พท31001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธเ์ิ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 3 /2555
3 คํานาํ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ ความเชอื่ พื้นฐานในการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี นที่มกี ลมุ เปา หมายเปนผใู หญมกี ารเรยี นรูแ ละส่ังสมความรู และประสบการณอยา งตอเน่อื ง ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศกึ ษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือนนโยบาย ทางการศกึ ษา เพ่ือเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขนั ใหป ระชาชนไดมีอาชีพท่ีสามารถสราง รายไดท่ีม่ังค่ังและมั่นคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก รับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวัง และเนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ใหมคี วามสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเน้ือหาสาระเก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพ่ือเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ กิจกรรม ทําแบบฝก หดั เพอื่ ทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภปิ รายแลกเปล่ียนเรยี นรูก ับกลุม หรือศึกษา เพม่ิ เตมิ จากภมู ปิ ญญาทอ งถ่ิน แหลง การเรยี นรแู ละสอื่ อนื่ การปรับปรุงหนงั สอื เรยี นในคร้ังน้ี ไดรบั ความรว มมอื อยางดียิ่งจากผทู รงคุณวฒุ ใิ นแตละสาขาวิชา และผูเก่ียวของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อตาง ๆ มาเรียบเรยี งเนอ้ื หาใหครบถว นสอดคลอ งกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ตัวช้ีวัดและกรอบเนื้อหา สาระของรายวิชา สํานักงาน กศน. ขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวังวา หนังสือเรียนชุดนี้จะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะ ประการใด สํานักงาน กศน. ขอนอมรบั ดวยความขอบคณุ ยง่ิ
สารบัญ 4 คาํ นํา หนา คําแนะนาํ ในการใชห นังสือเรียน โครงสรา งรายวิชา 1 บทท่ี 1 การฟง การดู.............................................................................................. 2 5 เรอ่ื งท่ี 1 การเลือกส่ือในการฟงและดู................................................................. 11 เรอ่ื งท่ี 2 การวิเคราะห วจิ ารณเร่ืองทฟี่ งและดู.................................................. 14 เรื่องที่ 3 มารยาทในการฟงและดู ....................................................................... 15 บทท่ี 2 การพดู ................................................................................................... 16 เรอ่ื งที่ 1 มารยาทในการพดู ................................................................................ 17 เรือ่ งที่ 2 ลกั ษณะการพดู ที่ดี............................................................................... 39 เรื่องท่ี 3 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ......................................................................... 40 บทที่ 3 การอาน ................................................................................................... 40 เรือ่ งที่ 1 ความสาํ คัญของการอา น ...................................................................... เรอ่ื งที่ 2 วจิ ารณญาณในการอา น ....................................................................... 42 เรอ่ื งท่ี 3 การอา นแปลความ ตคี วาม การขยายความ 48 53 จบั ใจความหรอื สรุปความ .................................................................... 57 เร่ืองที่ 4 วรรณคดี.............................................................................................. 60 เรื่องที่ 5 หลกั การวจิ ารณวรรณกรรม ................................................................. 60 เรื่องที่ 6 ภาษาถิน่ .............................................................................................. 65 เรอ่ื งท่ี 7 สาํ นวน สภุ าษิต .................................................................................. 66 เร่ืองท่ี 8 วรรณกรรมทอ งถิน่ ............................................................................... 83 บทที่ 4 การเขยี น ................................................................................................... 91 เรอ่ื งท่ี 1 หลักการเขยี น ...................................................................................... 93 เรื่องที่ 2 หลักการแตง คาํ ประพนั ธ...................................................................... 94 เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทและนิสยั รกั การเขียน.............................................................. 107 บทที่ 5 หลักการใชภ าษา.................................................................................................. 111 เรอ่ื งที่ 1 ธรรมชาตขิ องภาษา.............................................................................. เรือ่ งท่ี 2 ถอ ยคําสํานวน สุภาษติ คาํ พงั เพย ..................................................... เรื่องท่ี 3 การใชพ จนานุกรมและสารานกุ รม .......................................................
เร่ืองท่ี 4 คําราชาศพั ท........................................................................................ 5 บทท่ี 6 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ ....................................................... 116 เรอื่ งที่ 1 คุณคา ของภาษาไทย............................................................................. 121 เรอ่ื งที่ 2 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี .............................................. 122 เร่ืองท่ี 3 การเพ่มิ พูนความรแู ละประสบการณท างดา นภาษาไทย 122 เพ่ือการประกอบอาชพี ......................................................................... 132 บรรณานกุ รม ............................................................................................................ 134 คณะผจู ัดทํา ............................................................................................................ 136
6 คําแนะนาํ ในการใชหนงั สือเรียน หนังสือเรียนสาระความรูพ้ืนฐาน รายวิชาภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสือเรยี นทจ่ี ดั ทําขึน้ สาํ หรับผเู รียนท่เี ปน นกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายผเู รยี น ควรปฏิบัติ ดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิขาใหเขา ใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และ ขอบขา ยเนอื้ หาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอยี ด 2. ศกึ ษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด ทํากิจกรรม แลวตรวจสอบกับแนวตอบ กจิ กรรม ถา ผเู รียนตอบผิดควรกลบั ไปศึกษาและทําความเขา ใจในเนื้อหานั้นใหมใ หเ ขา ใจ กอนท่ีจะศึกษา เรอ่ื งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเร่ืองของแตล ะเร่ือง เพื่อเปน การสรุปความรู ความเขา ใจของเนื้อหา ในเรื่องนัน้ ๆ อีกครั้ง และการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของแตล ะเน้อื หา แตล ะเรือ่ ง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบ กบั ครแู ละเพ่อื น ๆ ทรี่ วมเรยี นในรายวิชาและระดบั เดียวกันได 4. หนงั สือเรียนเลมน้ีมี 6 บท บทที่ 1 การฟง การดู บทท่ี 2 การพดู บทท่ี 3 การอา น บทท่ี 4 การเขียน บทที่ 5 หลักการใชภาษา บทที่ 6 ภาษาไทยกับชอ งทางการประกอบอาชพี
7 โครงสรา งรายวชิ าภาษาไทย (พท31001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย สาระสําคญั 1. การอา นเปนทักษะทางภาษาท่ีสําคญั เพราะชวยใหสามารถรับรขู าวสารและเหตุการณต าง ๆ ของสงั คม ทําใหป รบั ตวั ไดก บั ความเจรญิ กาวหนาทางวิทยาการตา ง ๆ สามารถวิเคราะห วิจารณ และนํา ความรูไปใชในชีวิตประจาํ วัน 2. การเขยี นเปนการส่ือสารทจ่ี ัดระบบความคดิ การเลอื กประเดน็ การเลือกสรรถอยคาํ เพ่ือถา ยทอด เปนตวั อักษรในการส่ือความรู ความคดิ ประสบการณ อารมณ ความรสู กึ จากผูเขียนไปยงั ผอู า น 3. การฟง การดู และการพูด เปน ทักษะท่ีสําคัญของการสื่อสารในการดําเนินชีวิตประจําวัน จงึ จาํ เปนตองเขาใจหลักการเบ้ืองตน และตอ งคํานึงถึงมารยาทในการฟง การดแู ละการพดู ดว ย 4. การใชภาษาไทยใหถ กู ตองตามหลักภาษา ทาํ ใหเ กดิ ความภาคภูมิใจในภูมิปญญาของคนไทย จงึ ตระหนักถึงความสําคญั ของภาษาและตอ งอนุรกั ษภ าษาไทยไวเ ปน สมบตั ขิ องชาตสิ ืบตอไป 5. การใชทกั ษะทางภาษาไทยในการแสวงหาความรู การเขาใจระดับของภาษาสามารถใชค ําพูด และเขยี นไดด ี ทําใหเ กดิ ประโยชนต อตนเองและสวนรวม 6. วรรณคดีไทยเปน มรดกของภาษาและวัฒนธรรมท่ีมีคุณคา เปนมรดกทางปญญาของคนไทย แสดงถึงความรงุ เรอื งของวัฒนธรรมทางภาษา เปน การเชิดชคู วามเปน อารยะของชาติ ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง เม่ือศึกษาชดุ วชิ าแลว ผูเรยี นสามารถ 1. จับใจความสําคัญ และเลา เร่ืองได ตีความได อานในใจและอานออกเสียง วิเคราะห วิจารณ ประเมินคาได เลือกหนงั สอื และสารสนเทศไดแ ละมีมารยาทในการอา นและมีนสิ ัยรักการอา น 2. อธิบายการเขียนเบ้ืองตนได เขียนเรียงความ ยอความ เขียนจดหมาย เขียนโตแยง เขียน รายงาน เขียนคําขวัญ เขียนประกาศ เขยี นเชิญชวน กรอกแบบรายการ แตงคําประพนั ธ บอกคุณคาของ ถอ ยคําภาษาและสามารถเลอื กใชถอยคาํ ในการประพนั ธ เขียนอา งองิ เขยี นเลขไทยไดถ กู ตองสวยงาม 3. บอกหลักเบอ้ื งตน และจดุ มงุ หมายของการฟง การดูและการพดู ได และสามารถพูดในโอกาส ตาง ๆ ได 4. บอกลักษณะสําคัญของภาษาและการใชภ าษาในการสื่อการ ใชพจนานุกรมและสารานุกรม ในชีวติ ประจาํ วันได 5. บอกชนดิ และหนา ทีข่ องคาํ ประโยค และนําไปใชไดถกู ตอง 6. ใชเครื่องหมายวรรคตอน อักษรยอ คําราชาศพั ท หลักการประชมุ การอภปิ ราย การโตว าที
8 7. บอกความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม องคประกอบและรูปแบบลักษณะเดนของ วรรณคดีได 8. บอกความหมายของวรรณกรรมมุขปาฐะ และวรรณกรรมลายลักษณไ ด 9. บอกความหมายและลกั ษณะเดนของวรรณกรรมทอ งถ่นิ ประเภทรูปแบบของวรรณกรรมไทย ปจจุบันได 10.อา นวรรณคดแี ละวรรณกรรม บอกแนวความคิด คา นยิ ม คณุ คาหรอื แสดงความคดิ เห็นได 11.บอกลักษณะสาํ คัญและคณุ คา ของเพลงพืน้ บาน และบทกลอ มเด็กพรอ มทั้งรองเพลงพ้ืนบา น และบทกลอ มเดก็ ได ขอบขา ยเน้อื หา บทที่ 1 การฟง การดู บทท่ี 2 การพูด บทท่ี 3 การอา น บทท่ี 4 การเขยี น บทท่ี 5 หลักการใชภ าษา บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชีพ
1 บทท่ี 1 การฟง การดู สาระสําคญั การฟง และดูสารประเภทตาง ๆ อยา งถูกวธิ ีมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคดิ ความรสู กึ ในโอกาสตา ง ๆ อยา งเหมาะสมจะทาํ ใหไ ดรบั ความรู ความเขา ใจ นําไปใชป ระโยชนในชวี ิตประจําวันได ผลการเรียนรูท ี่คาดหวงั เม่ือศึกษาจบบท แลวคาดหวงั วา ผูเรยี นจะสามารถ 1. นําความรไู ปเปน ขอมลู ในการตดั สินใจเลอื กสอ่ื ในการฟงและดู 2. แสดงความคิดเห็น วเิ คราะห วิจารณ เรื่องทีฟ่ ง และดไู ด 3. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู และสรุปสาระสาํ คัญของเรือ่ งท่ีฟง และดไู ด ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่อื งที่ 1 การเลือกสื่อในการฟงและดู เร่ืองท่ี 2 การวิเคราะห วิจารณ เรอื่ งทฟ่ี ง และดู เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทในการฟง และดู
2 เรอ่ื งท่ี 1 การเลอื กส่อื ในการฟง และดู สังคมปจจบุ นั ชอ งทางการนําเสนอขอมลู ใหด แู ละฟงจะมีมากมาย ดงั น้นั ผเู รียนควรรจู ักเลือกท่ีจะ ดูและฟง เม่ือไดร ับรูขอ มูลแลว การรูจ ักวิเคราะห วิจารณ เพ่ือนําไปใชใ นทางสรางสรรค เปน ส่ิงจําเปน เพราะผลท่ีตามมาจากการดูและฟง จะเปนผลบวกหรือลบแกสังคม ก็ขึ้นอยูกับการนําไปใช น่ันคือผลดี จะเกิดแกสงั คมกเ็ มือ่ ผูด แู ละฟงนําผลท่ไี ดน้นั ไปใชอ ยา งสรางสรรค หรือในปจจบุ นั จะมสี ํานวนทใ่ี ชกัน อยางแพรหลายวาคิดบวก เม่ือรูจักหลักในการฟงและดูแลว ควรจะรูจักประเภท เพื่อแยกแยะในการนําไปใชป ระโยชน ซง่ึ อาจสรุปประเภทการแยกแยะประเภทของส่ือในการนาํ ไปใชประโยชน มดี ังนี้ 1. สอื่ โฆษณา ส่อื ประเภทน้ผี ูฟงตองรจู ดุ มุง หมาย เพราะสวนใหญจะเปนการสื่อใหค ลอยตาม อาจไมส มเหตุสมผล ผฟู งตองพิจารณาไตรตรองกอ นซ้อื หรือกอ นตัดสินใจ 2. สอ่ื เพ่อื ความบนั เทิง เชน เพลง, เร่อื งเลา ซง่ึ อาจมกี ารแสดงประกอบดวย เชน นิทาน นิยาย หรือสือ่ ประเภทละคร สอื่ เหลา นผี้ รู บั สารตอ งระมัดระวัง ใชวิจารณญาณประกอบการตัดสินใจกอนที่จะ ซ้ือหรือทําตาม ปจ จุบันรายการโทรทัศนจ ะมีการแนะนําวาแตละรายการเหมาะกับกลุม เปาหมายใด เพราะเช่ือกันวา ถาผูใ ดขาดความคิดในเชิงสรา งสรรคแ ลว ส่ือบันเทิงอาจสงผลรา ยตอสังคมได เชน ผูด ู เอาตวั อยา งการจ,ี้ ปลน, การขม ขืนกระทําชําเรา และแมแ ตการฆาตวั ตาย โดยเอาอยางจากละครท่ีดูก็เคย มีมาแลว 3. ขา วสาร ส่ือประเภทน้ีผูรับสารตองมีความพรอมพอสมควร เพราะควรตอ งรูจักแหลงขา ว ผูนําเสนอขา ว การจับประเด็น ความมีเหตุมีผล รูจ ักเปรียบเทียบเนื้อหาจากที่มาของขา วหลาย ๆ แหง เปน ตน 4. ปาฐกถา เน้อื หาประเภทนีผ้ รู ับสารตอ งฟง อยา งมีสมาธิเพ่ือจับประเด็นสําคัญใหไ ด และกอ น ตดั สินใจเชอ่ื หรือนาํ ขอมูลสวนใดไปใชป ระโยชนตองมคี วามรพู นื้ ฐานในเร่ืองน้ัน ๆ อยบู า ง 5. สนุ ทรพจน ส่อื ประเภทน้ีสว นใหญจะไมย าว และมใี จความที่เขา ใจงาย ชัดเจน แตผูฟ งจะตอ ง รูจกั กลนั่ กรองส่ิงทดี่ ีไปเปนแนวทางในการปฏิบัติ หลกั การฟงและดูอยางสรา งสรรค 1. ตองเขาใจความหมายหลักเบื้องตนของการจับใจความของสารที่ฟงและดูน้ัน ตองเขาใจ ความหมายของคาํ สาํ นวนประโยคและขอ ความทีบ่ รรยายหรืออธิบาย 2. ตองเขา ใจลักษณะของขอ ความ ขอความแตล ะขอ ความตอ งมีใจความสําคัญของเรื่องและ ใจความสาํ คญั ของเรื่องจะอยูท่ีประโยคสําคญั ซึ่งเรียกวา ประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยูใ น ตอนใดตอนหนึง่ ของขอความ โดยปกตจิ ะปรากฏอยใู นตอนตน ตอนกลาง และตอนทาย หรอื อยตู อนตน
3 และตอนทา ยของขอความผูร ับสารตองรูจกั สงั เกต และเขาใจการปรากฏของประโยคใจความในตอนตา ง ๆ ของขอความ จงึ จะชวยใหจ บั ใจความไดด ยี ิ่งขน้ึ 3. ตอ งเขา ใจในลักษณะประโยคใจความ ประโยคใจความ คือขอ ความที่เปน ความคิดหลัก ซึ่งมักจะมีเนื้อหาตรงกับหัวขอเร่ือง เชน เรื่อง “สุนัข” ความคิดหลักคือ สุนัขเปนสัตวเ ลี้ยงที่รักเจาของ แตก ารฟงเรื่องราวจากการพดู บางทีไมม ีหัวขอ แตจ ะพูดตามลําดบั ของเน้อื หา ดังนั้น การจบั ใจความสําคัญ ตอ งฟงใหต ลอดเรอื่ งแลวจับใจความวา พูดถึงเร่ืองอะไร คือจับประเด็นหัวเรื่อง และเรื่องเปนอยางไรคือ สาระสําคัญหรอื ใจความสาํ คัญของเร่อื งนั่นเอง 4. ตอ งรูจ ักประเภทของสาร สารที่ฟงและดูมีหลายประเภท ตองรูจักและแยกประเภทสรุปของ สารไดวา เปน สารประเภทขอเท็จจริง ขอ คิดเห็นหรือเปนคําทักทายปราศรัย ขา ว ละคร สารคดี จะได ประเดน็ หรือใจความสําคญั ไดง าย 5. ตองตีความในสารไดต รงตามเจตนาของผูส ง สาร ผูสงสารมีเจตนาท่ีจะสงสารตาง ๆ กับบางคนตอ งการใหความรู บางคนตองการโนม นาวใจ และบางคนอาจจะตองการสง สาร เพ่ือสื่อความ หมายอื่น ๆ ผูฟง และดตู อ งจับเจตนาใหไ ด เพ่อื จะไดจบั สารและใจความสําคญั ได 6. ต้ังใจฟง และดใู หต ลอดเรื่อง พยายามทําความเขาใจใหตลอดเร่ือง ย่ิงเรื่องยาวสลับซับซอน ยง่ิ ตองตั้งใจเปนพิเศษและพยายามจับประเด็นหัวเรอ่ื ง กริยาอาการ ภาพและเคร่ืองหมายอืน่ ๆ ดวยความต้ังใจ 7. สรุปใจความสําคัญ ขั้นสุดทายของการฟง และดูเพ่ือจับใจความสําคัญก็คือ สรุปใหไดว า เรอื่ งอะไร ใคร ทําอะไร ทไ่ี หน เมื่อไร อยางไรและทําไม หรือบางเรื่องอาจจะสรุปไดไมครบทั้งหมด ทั้งน้ี ยอ มข้นึ กบั สารท่ฟี ง จะมใี จความสาํ คญั ครบถวนมากนอ ยเพียงใด วิจารณญาณในการฟง และดู พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถานไดใ หความหมายของ วิจารณญาณไวว าปญญาที่สามารถรู หรือใหเ หตุผลท่ีถูกตอ ง คํานี้มาจากคําวา วิจารณ ซ่ึงแปลวา การคิดใครค รวญโดยใชเ หตุผลและคําวา ญาณ ซึ่งแปลวา ปญญาหรอื ความรใู นชน้ั สงู วิจารณญาณในการฟงและดู คือ การรับสารใหเ ขา ใจเนื้อหาสาระโดยอาศัยความรู ความคิด เหตุผล และประสบการณประกอบการใชป ญ ญาคิดใครค รวญแลวสามารถนาํ ไปใชไ ดอ ยา งเหมาะสม การฟง และดูใหเกิดวิจารณญาณนั้นมีขั้นตอนในการพัฒนาเปน ลําดับบางทีก็อาจเปน ไปอยา ง รวดเร็ว บางทีก็ตอ งอาศัยเวล ท้ังน้ี ยอ มขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ประสบการณของบุคคลและ ความยุงยากซบั ซอนของเรื่องหรอื สารท่ีฟง ข้นั ตอนการฟง และดอู ยางมีวจิ ารณญาณ มีดงั นี้ 1. ฟงและดูใหเ ขาใจเรอ่ื ง เมอื่ ฟงเร่ืองใดกต็ ามผฟู ง จะตองต้งั ใจฟงเร่ืองนั้นใหเขาใจตลอดเร่ือง ใหร ูวา เนือ้ เร่อื งเปน อยางไร มสี าระสาํ คญั อะไรบาง พยายามทาํ ความเขา ใจรายละเอียดทง้ั หม
4 2. วเิ คราะหเ ร่ือง จะตองพิจารณาวา เปนเร่ืองประเภทใด เปน ขา ว บทความ เรอ่ื งส้นั นิทานนยิ าย บทสนทนา สารคดี ละคร และเปนรอ ยแกวหรอื รอ ยกรอง เปน เร่อื งจริงหรอื แตงขึ้น ตอ งวิเคราะหล ักษณะ ของตัวละคร และกลวิธใี นการเสนอสารของผสู ง สารใหเขา ใจ 3. วินิจฉัยเร่ือง คือ การพิจารณาเรื่องที่ฟงวาเปนขอเท็จจริง ความรูสึกความคิดเห็นและผูสง สารหรือผพู ูดผแู สดงมีเจตนาอยางไรในการพูดการแสดง อาจจะมเี จตนาทจี่ ะโนมนา วใจหรอื แสดงความคิดเห็น เปนเร่ืองท่ีมีเหตมุ ผี ล มีหลักฐานนา เชอื่ ถอื หรือไมแ ละมคี ณุ คา มปี ระโยชนเ พียงใด สารที่ใหความรู สารท่ีใหความรูบางครั้งก็เขา ใจงา ย แตบ างคร้ังท่ีเปน เรื่องสลับซับซอนก็จะเขาใจยาก ตองใช การพินิจพิเคราะหอยางลึกซ้ึง ท้ังน้ียอ มข้ึนกับเร่ืองที่เขา ใจงา ยหรือเขาใจยาก ผูร ับมีพ้ืนฐานในเร่ืองที่ ฟง เพียงใด ถาเปน ขา วหรือบทความเก่ยี วกบั เกษตรกรผูมีอาชีพเกษตรยอ มเขา ใจงา ย ถา เปนเร่ืองเกี่ยวกับ ธรุ กิจนกั ธรุ กจิ กจ็ ะไดเขาใจงายกวาผูม ีอาชพี เกษตร และผพู ูดหรือผสู ง สารกม็ ีสวนสาํ คญั ถามีความรูในเรอื่ ง นั้นเปน อยางดีรูว ธิ ีพดู นาํ เสนอผฟู ง ก็จะเขา ใจไดง าย ขอ แนะนาํ ในการฟงและดูที่ใหความรูโ ดยใชว จิ ารณญาณ มดี ังนี้ 1. เมอ่ื ไดร บั สารทีใ่ หความรูเรื่องใดตองพิจารณาวา เรอื่ งนั้นมคี ณุ คาหรือมีประโยชน ควรแกการใช วิจารณญาณมากนอ ยเพียงใด 2. ถา เรอื่ งที่ตองใชว จิ ารณญาณไมวา จะเปนขา ว บทความ สารคดีขา ว หรือความรูเรื่องใดก็ตาม ตอ งฟง ดว ยความตง้ั ใจจับประเดน็ สาํ คัญใหได ตองตคี วามหรือพินิจพิจารณาวา ผูส งสารตอ งการสงสารถึง ผรู บั คืออะไร และตรวจสอบหรอื เปรยี บเทยี บกับเพื่อนๆ ทีฟ่ งรว มกนั มาวาพจิ ารณาไดต รงกันหรอื ไมอ ยางไร หากเห็นวา การฟงและดูของเราตา งจากเพ่ือน ดอยกวาเพื่อน จะไดปรับปรุงแกไ ขใหการฟง พัฒนาข้ึน มปี ระสิทธิภาพตอ ไป 3. ฝก การแยกแยะขอ เท็จจริง ขอคิดเห็น เจตคติของผูพูดหรือแสดงที่มีตอ เร่ืองที่พูดหรือแสดง และฝกพจิ ารณาตัดสนิ ใจวา สารท่ฟี งและดูน้นั เช่ือถือไดห รือไม และเชื่อถือไดม ากนอ ยเพียงใด 4. ขณะทฟี่ ง ควรบนั ทึกสาระสําคัญของเรอื่ ง ตลอดทงั้ ประเด็นการอภิปรายไวเพ่ือนําไปใช 5. ประเมินสารที่ใหค วามรูว า มีความสําคัญมีคุณคาและประโยชนม ากนอยเพียงใด มีแงค ิด อะไรบา ง และผูสงสารมีกลวิธใี นการถา ยทอดทีด่ นี า สนใจอยา งไร 6. นําขอคิด ความรูและกลวิธีตาง ๆ ท่ีไดจากการฟงไปใช ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การประกอบอาชีพและพฒั นาคุณภาพชีวิต พัฒนาชมุ ชนและสังคมไดอ ยา งเหมาะสม สารทโี่ นม นา วใจ สารท่ีโนมนาวใจเปนสารที่เราพบเห็นประจําจากส่ือมวลชน จากการบอกเลา จากปากหนึ่งไปสู ปากหนงึ่ ซึง่ ผสู ง สารอาจจะมีจุดมุงหมายหลายอยา งท้ังที่ดี และไมดี มีประโยชนห รือใหโทษ จุดมุง หมาย
5 ที่ใหป ระโยชน ก็คอื โนมนาวใจใหรักชาติบา นเมอื ง ใหใชจายอยางประหยดั ใหรักษาส่ิงแวดลอ ม ใหรักษา สาธารณสมบัติและประพฤติแตสง่ิ ทด่ี ีงาม ในทางตรงขามผสู ง สารอาจจะมจี ุดมงุ หมายใหเ กดิ ความเสยี หาย มุง หมายทจี่ ะโฆษณาชวนเช่ือหรอื ปลกุ ปน ยุยงใหเ กิดการแตกแยก ดังนั้น จึงตอ งมีวิจารณญาณ คิดพิจารณา ใหด ีวาสารนั้นเปน ไปในทางใด การใชว ิจารณญาณสารโนม นาวใจ ควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. สารนั้นเรียกรองความสนใจมากนอ ยเพียงใด หรือสรา งความเชื่อถอื ของผูพดู มากนอยเพยี งใด 2. สารทีน่ าํ มาเสนอน้นั สนองความตองการพน้ื ฐานของผูฟ งและดอู ยางไรทําใหเกดิ ความปรารถนาหรือความวา วุนขึ้นในใจมากนอยเพียงใด 3. สารไดเ สนอแนวทางท่ีสนองความตองการของผฟู ง และดหู รือมีสง่ิ ใดแสดงความเห็นวา หากผูฟง และดูยอมรับขอ เสนอนนั้ แลว จะไดร บั ประโยชนอะไร 4. สารทน่ี ํามาเสนอนน้ั เรา ใจใหเ ชื่อถอื เกย่ี วกบั สิง่ ใด และตองการใหค ิดหรือปฏิบัตอิ ยางไรตอไป 5. ภาษาทใี่ ชใ นการโนมนาวใจนน้ั มีลกั ษณะทําใหผ ฟู ง เกิดอารมณอ ยางไรบา ง สารทจี่ รรโลงใจ ความจรรโลงใจ อาจไดจากเพลง ละคร ภาพยนตร คําประพันธ สุนทรพจน บทความบางชนิด คําปราศรัย พระธรรมเทศนา โอวาท ฯลฯ เมื่อไดร ับสารดังกลาวแลวจะเกิดความรูสึกสบายใจ สุขใจ คลายเครียด เกิดจนิ ตนาการ มองเห็นภาพและเกดิ ความซาบซง้ึ สารจรรโลงใจจะชวยยกระดับจิตใจมนุษย ใหสงู ขน้ึ ประณตี ขนึ้ ในการฝกใหม ีวิจารณญาณในสารประเภทน้ี ควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ฟงและดดู ว ยความตั้งใจ แตไมเครง เครียด ทาํ ใจใหสบาย 2. ทําความเขา ใจในเนอ้ื หาทส่ี ําคัญ ใชจ นิ ตนาการไปตามจุดประสงคข องสารนัน้ 3. ตองพิจารณาวา สิ่งท่ฟี งและดใู หความจรรโลงในดา นใด อยางไรและมากนอ ยเพยี งใด หากเรื่อง นั้นตอ งอาศยั เหตผุ ล ตอ งพิจารณาวา สมเหตสุ มผลหรอื ไม 4. พิจารณาภาษาและการแสดง เหมาะสมกบั รูปแบบเนื้อหาและผูรบั สารหรอื ไมเ พยี งใด เรื่องที่ 2 การวิเคราะห วิจารณเ ร่ืองท่ีฟง และดู ความหมายของการวเิ คราะห การวนิ ิจและการวิจารณ การวิเคราะห หมายถึง การที่ผูฟงและผูดูรับสารแลว พิจารณาองคประกอบออกเปน สว น ๆ นาํ มาแยกประเภท ลกั ษณะ สาระสาํ คัญของสาร กลวธิ ีการเสนอและเจตนาของผสู ง สาร การวินิจ หมายถึง การพิจารณาสารดวยความเอาใจใส ฟง และดูอยา งไตรตรองพิจารณา หาเหตผุ ลแยกแยะขอดขี อ เสยี คณุ คาของสาร ตคี วามหมายและพิจารณาสํานวน ภาษา ตลอดจนน้ําเสียง และการแสดงของผสู ง สาร พยายามทาํ ความเขาใจความหมายท่ีแทจริง เพื่อใหไดป ระโยชนต ามวัตถุประสงค ของผูว ินจิ
6 การวิจารณ หมายถงึ การพจิ ารณาเทคนคิ หรือกลวิธที ่ีแสดงออกมานัน้ ใหเ ห็นวา นา คิด นาสนใจ นาติดตาม มชี นั้ เชงิ ยอกยอนหรอื ตรงไปตรงมา องคประกอบใดมคี ุณคา นาชมเชย องคป ระกอบใดนาทว งติง หรอื บกพรองอยางไร การวจิ ารณสง่ิ ใดกต็ ามจงึ ตอ งใชความรูม เี หตมุ ผี ล มีหลกั เกณฑและมีความรอบคอบดว ย ตามปกติแลว เมอ่ื จะวิจารณสงิ่ ใด จะตอ งผานขั้นตอนและกระบวนการของการวิเคราะหสาร วินิจสาร และประเมินคาสาร ใหชัดเจนเสียกอนแลว จึงวิจารณแ สดงความเห็น ออกมาอยา งมีเหตุมีผล ใหนาคิด นาฟง และเปนคาํ วจิ ารณท ี่เชอื่ ถือได การวจิ ารณ ทีร่ ับฟงมาก็เชน เดียวกนั ตอ งผานการวิเคราะห วนิ จิ และประเมินคา สารน้ันมากอน และการวิจารณแ สดงความคิดเห็นที่จะทําไดอ ยางมีเหตุมีผลนาเช่ือถือน้ัน ผูรับสารจะตอ งรูห ลักเกณฑ การวิจารณแ สดงความคดิ เหน็ ตามชนิดของสาร เพราะสารแตล ะชนิด ยอมมีองคประกอบเฉพาะตัว เชน ถาเปน ขา วตองพิจารณาความถูกตองตามความเปน จริง แตถ า เปน ละครจะดูความสมจริง และพิจารณา โครงเรอ่ื ง เนอื้ เร่อื ง ฉาก ตวั ละคร ภาษาทีใ่ ช บทบาทการแสดง ฯลฯ นอกจากรูห ลักเกณฑแลว จะตองอาศยั การฝก ฝนบอ ย ๆ และอานตัวอยางงานวิจารณข องผูอ่ืนท่ีเชี่ยวชาญใหมาก ก็จะชวยใหการวิจารณด ี มเี หตผุ ลและนาเช่ือถอื หลกั การวจิ ารณแ ละแสดงความคดิ เห็นสารประเภทตาง ๆ สารทไ่ี ดร บั จากการฟง มมี ากมาย แตที่ไดร ับเปน ประจาํ ในชีวิตประจาํ วนั ไดแ ก 1. ขา วและสารประชาสมั พนั ธ 2. ละคร 3. การสนทนา คําสัมภาษณบคุ คล 4. คาํ ปราศรยั คาํ บรรยาย คํากลา วอภิปราย คาํ ใหโอวาท 5. งานประพนั ธร อ ยกรองประเภทตาง ๆ หลักเกณฑการวิจารณส ารท่ีไดรบั ตามชนิดของสาร 1. ขาวและสารประชาสัมพันธ สารประเภทน้ีผูร ับสารจะไดรับจากวิทยุ โทรทัศน ซ่ึงจะ เสนอขา วจากหนวยงานประชาสัมพันธข องภาครัฐและเอกชน รูปแบบของการเสนอขาว โดยท่ัวไป จะประกอบดวย หัวขอขา ว เน้ือและสรุปขา ว โดยจะเริ่มตน ดวย หัวขอขา วท่ีสําคัญแลว ถึงจะเสนอ รายละเอยี ดของขาวและตอนทายกอนจบ จะสรุปขาว หรือบางคร้ังจะเสนอลักษณะการสรุปขา วประจํา สปั ดาหเ ปน รายการหน่ึงโดยเฉพาะ สว นสารประชาสัมพันธอ าจมรี ปู แบบทแ่ี ปลกออกไปหลายรปู แบบ เชน เสนอสาระในรปู แบบของขา ว ประกาศแจงความหรือโฆษณาแบบตาง ๆ ในการวิจารณ ควรพิจารณาตาม หลกั เกณฑ ดงั น้ี 1.1 แหลงขา วที่มาของขา วและสารประชาสัมพันธ ผูวิจารณจะตองดูวาแหลง ของขาวหรือ สารประชาสัมพันธนั้นมาจากไหนจากหนวยงานใด เปนหนว ยงานของรัฐหรือเอกชนหนวยงานหรือ สถาบนั น้นั นาเช่ือถอื มากนอ ยเพยี งใด
7 1.2 เนื้อหาของขา วและสารประชาสัมพันธ ผูรับสารตองพิจารณาวา สารน้ันมีเนื้อหา สมบรู ณหรือไม คอื เม่ือถามดวยคําถามวา ใคร ทําอะไร ทีไ่ หน เม่อื ไร อยางไรแลวผูฟงสามารถหาคาํ ตอบได ครบถวน และสามารถสรุปสาระสําคัญไดด ว ย 1.3 พิจารณาทบทวนวาเน้ือหาของขา วและสารประชาสัมพันธท่ีนําเสนอเปนความจริง ท้งั หมด หรือมกี ารแสดงความรสู กึ ความคิดเหน็ ของผสู งสารแทรกมาดวย 1.4 พิจารณาภาษาทใี่ ชทั้งความถูกตอ งของการใชภ าษา ศลิ ปภาษาและดานวรรณศลิ ป 2. ละคร ภาพยนตร สารประเภทละครจะฟงไดจ ากละครวิทยุ และโทรทัศนเสียเปน สวนใหญ สว นละครเวทนี ั้นมีโอกาสไดด ไู ดฟ งนอยมาก ซ่งึ หลกั การวจิ ารณล ะครมแี นวทาง ดังน้ี 2.1 ดคู วามสมจรงิ ของผูแสดงตามบทบาททีไ่ ดรับวา ใชนํา้ เสียงสมจริงตามอารมณ ความรสู กึ ของตัวละครนัน้ ๆ มากนอ ยเพยี งใด 2.2 พิจารณาโครงเรื่อง แกนของเรื่องวา มีโครงเรื่องเปน อยา งไร สรุปสาระสําคัญหรือ แกน ของเรอ่ื งใหไ ด 2.3 ฉากและตัวละคร มีฉากเหมาะสมสอดคลอ งกับเนื้อเรื่อง เหมาะสมกับบรรยากาศ และตัวละครแตล ะตัวมีลกั ษณะเดน หรอื ใหอ ะไรกับผฟู ง 2.4 ภาษาท่ีใชถ กู ตองเหมาะสมตามหลักการใชภ าษา ศิลปะภาษาและดานวรรณศิลป 3. การสนทนาและคาํ สมั ภาษณบคุ คล การสนทนาและคําสัมภาษณบ ุคคลในวทิ ยแุ ละโทรทศั น เปนสารท่ีไดฟง กันเปน ประจํา ผูร ว มสนทนาและใหส ัมภาษณก็เปน คนหลากหลายระดับและอาชีพ การสนทนาและ การวเิ คราะหม ีหลักในการพิจารณา ดังน้ี 3.1 การสนทนาในชีวิตประจาํ วนั ก. การสนทนา เปนเร่อื งอะไรและมสี าระสําคญั วา อยา งไร ข. สาระสาํ คญั ของการสนทนาท่สี รุปไดเ ปนความจริงและนา เช่อื ถอื เพียงใด ค. ผรู ว มสนทนามีความรแู ละมคี วามสนใจในเรอ่ื งที่สนทนามากนอยเพียงใด ง. ภาษาท่ีใชใ นการสนทนามีความถูกตอ ง ตามหลักการใชภาษามีความเหมาะสมและ สละสลวยทําใหเ ขาใจเรือ่ งไดชดั เจนเพยี งใด ท้ังน้าํ เสยี งและลลี าการพูดแฝงเจตนาของผูพ ดู และนา ฟง หรือไม 3.2 คําสมั ภาษณบ ุคคล มหี ลกั เกณฑการพจิ ารณาและวิจารณ ดงั น้ี ก. ผูสัมภาษณเ ปน ผูม ีความรูแ ละประสบการณใ นเรื่องที่สัมภาษณมากนอยเพียงใด เพราะผูส มั ภาษณท ี่มคี วามรูและประสบการณในเรอื่ งที่จะสัมภาษณเ ปนอยา งดีจะถามไดส าระเน้ือเรื่องดี จึงตอ งดูความเหมาะสมของผูสัมภาษณกบั เรอ่ื งทีส่ มั ภาษณด วย ข. ผูใหก ารสัมภาษณเหมาะสมหรือไม โดยพิจารณาจากวุฒิ ฐานะ หนา ท่ี อาชีพและ พิจารณาจากคาํ ตอบท่ใี หสัมภาษณว ามเี นือ้ หาสาระและตอบโตต รงประเด็นคาํ ถามหรือไมอ ยา งไร ค. สาระของคําถามและคําตอบในแตล ะขอ ตรงประเด็นหรือไม มีสาระเปนประโยชน ตอ สังคมมากนอ ยเพียงใด
8 ง. ลักษณะของการสัมภาษณ เปน การสัมภาษณทางวิชาการ หรือการสัมภาษณ เพ่อื ความบันเทงิ เพราะถาเปนการสัมภาษณทางวชิ าการยอมจะตองใชห ลกั เกณฑใ นการพจิ ารณาครบถว น แตห ากเปนการสัมภาษณ เพื่อความบันเทิงน้ันงา ยตอการวิจารณวา ดีหรือไมด ี เพราะใชสามัญสํานึกและ ประสบการณพิจารณาก็เพียงพอแลว จ. ภาษาท่ใี ชเ ขา ใจงายชัดเจน เหมาะสมเพียงใด ผูส ัมภาษณและผูใ หส ัมภาษณมีความ จรงิ ใจในการถามและการตอบมากนอยเพยี งใด 4. คําปราศรยั คําบรรยาย คํากลา วอภิปราย คําใหโอวาท 4.1 คาํ ปราศรัย มีหลกั เกณฑก ารพิจารณาและวิจารณ ดังนี้ ก. สาระสําคญั เหมาะสมกบั โอกาสทปี่ ราศรยั หรอื ไม โดยพิจารณาเน้อื หาสาระ เวลา และ โอกาสวา สอดคลองเหมาะสมกันหรอื ไม ข. สาระสําคัญและความคดิ เปนประโยชนต อ ผูฟงหรือไม ค. ผกู ลา วปราศรยั ใชภ าษาไดดถี กู ตอ ง เหมาะสมสละสลวย คมคายหรอื ไมอยา งไร 4.2 คําบรรยาย มีหลกั เกณฑการพิจารณาและวิจารณ ดังน้ี ก. หวั ขอและเน้อื เร่ืองเหมาะสมกบั สถานการณแ ละผฟู งมากนอ ยเพยี งใด ข. สาระสาํ คัญของเรื่องท่ีบรรยายมีประโยชนตอผูฟ ง และสังคมมีสิ่งใดที่นาจะนําไปใช ใหเกิดประโยชน ค. ผูบรรยายมีความรูและประสบการณ ในเรื่องที่บรรยายมากนอยเพียงใด มีความ นาเช่ือถอื หรือไม ง. ภาษาทใี่ ชใ นการบรรยาย ถกู ตอ งตามหลกั การใชภ าษา เขา ใจงายชัดเจนหรือไม 4.3 คาํ กลาวอภิปราย การอภิปรายเปน วิธกี ารระดมความคดิ เหน็ และแนวทางในการแกป ญหา ซ่ึงเราจะไดฟ ง กันเปนประจาํ โดยเฉพาะจากรายการโทรทัศน การวเิ คราะหวจิ ารณค วรพจิ ารณาโดยใชห ลักการ ก. ประเด็นปญ หาท่จี ะอภิปราย ขอบขา ยของปญ หาเปน อยา งไร มขี อบกพรองอยา งไร ข. ประเด็นปญหาที่นํามาอภิปราย นา สนใจมากนอ ยเพียงใดและมีความสอดคลอง เหมาะสมกับสถานการณ หรือไม ค. ผอู ภิปรายมคี ุณวฒุ ิ ประสบการณมสี วนเก่ยี วของกับประเด็นอภิปรายอยา งไร และมี ความนา เช่อื ถือมากนอยเพยี งใด ง. ผูอ ภิปรายไดศ ึกษาคนควา และรวบรวมขอ มูลความรูม าชี้แจงประกอบไดมากนอ ย เพียงพอเหมาะสมและนา เชอ่ื ถอื หรอื ไม จ. ผูอ ภิปรายรับฟง ความคิดเห็นของผูรวมอภิปรายหรือไม มีการผูกขาดความคิดและ การพดู เพียงคนเดียวหรือไม
9 ฉ. ผูอ ภิปรายใหขอ คิดและแนวทางอยางมีเหตุผลมีขอ มูลหลักฐานหรือไม ใชอารมณ ในการพดู อภิปรายหรือไม ช. ภาษาท่ใี ชในการอธิปรายถูกตอ งตามหลกั การใชภาษา กระชับรดั กุม ชัดเจนเขา ใจงา ย ซ. ผูฟง อภิปรายไดศ ึกษารายละเอียดตามหัวขอ อภิปรายมาลว งหนา บางหรือไม หากมี การศกึ ษามาลว งหนา จะทาํ ใหวเิ คราะหวิจารณได 4.4 คาํ ใหโอวาท มหี ลักเกณฑก ารพิจารณาและวิจารณ คือ ก. ผใู หโอวาทเปน ใคร มคี ณุ วุฒมิ หี นา ทที่ จ่ี ะใหโอวาทหรือไม ข. สาระสาํ คัญของเรอื่ งที่ใหโอวาทมอี ะไรใหขอ คดิ เรื่องอะไร สอนอะไรมแี นวทางปฏิบัติ อยา งไร ค. เร่ืองที่ใหโอวาทมีความถูกตอง มีเหตุมีผลสอดคลองตามหลักวิชาการหรือไม นา เชื่อถอื เพียงใด ง. มีเทคนิคและกลวธิ ใี นการพูดโนม นาวจิตใจของผูฟ ง และมีการอางอิง คําคม สํานวน สภุ าษติ หรือยกเรื่อง ยกเหตกุ ารณมาประกอบอยางไรบาง จ. ใชภาษาไดดี ถูกตองสละสลวย คมคาย ไพเราะ ประทับใจตอนไหนบาง สรปุ 1. วิจารณญาณในการฟง และดู หมายถึง การรับสารใหเขา ใจตลอดเรื่องแลว ใชป ญญา คดิ ไตรต รอง โดยอาศัยความรู ความคิด เหตผุ ล และประสบการณเดิม แลวสามารถนําสาระตาง ๆ ไปใช ในการดาํ เนินชีวิตไดอยางเหมาะสม โดยมีขนั้ ตอนดงั น้ี 1.1 ฟง และดูใหเขา ใจตลอดเร่อื งกอน 1.2 วิเคราะหเรื่อง วาเปน เรื่องประเภทใด ลักษณะของเร่ืองและตัวละครเปนอยางไร มกี ลวิธีในการเสนอเร่อื งอยา งไร 1.3 วนิ จิ ฉัย พิจารณาเรื่องทีฟ่ งเปนขอ เท็จจริง ความคดิ เห็น เจตนาของผเู สนอเปน อยา งไร มีเหตผุ ลนา เชื่อถือหรอื ไม 1.4 การประเมินคา ของเรือ่ งเมอ่ื ผา นขน้ั ตอน 1 - 3 แลว ก็ประมาณวา เรอ่ื งหรือสารนน้ั ดีหรอื ไมด ี มอี ะไรท่ีจะนําไปใชใหเ ปนประโยชนไ ด 1.5 การนาํ ไปใชประโยชนเ ม่ือผา นข้นั ตอนท่ี 1 - 4 แลว ขนั้ สุดทายคือ นําคุณคาของเรื่องที่ ฟงและดไู ปใชไดเ หมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล 2. การวเิ คราะห หมายถงึ การแยกแยะประเภท ลกั ษณะ สาระสาํ คัญและการนําเสนอ พรอมทั้ง เจตนาของผพู ูดหรือผูเสนอ การวนิ ิจ หมายถึง การพิจารณาเรอ่ื งอยา งไตรตรอง หาเหตผุ ลขอ ดีขอเสีย และคณุ คา ของสาร การวิจารณ หมายถึง การพิจารณาอยางมีหลักเกณฑใ นเร่ืองท่ีฟง และดู วามีอะไรนา คิด นา สนใจ นาติดตาม นาชมเชย นา ชื่นชมและมอี ะไรบกพรองบา ง
10 การวิจารณสารหรอื เรื่องทีไ่ ดฟงและดู เม่ือไดวินิจวิเคราะหแ ละใชว ิจารณญาณในการฟง และดู เร่ืองหรอื สารทไี่ ดร บั แลว กน็ าํ ผลมารายงานบอกกลา วแสดงความคิดเหน็ ตอ สงิ่ น้ัน อยา งมเี หตผุ ล มหี ลกั ฐาน ประกอบ และเปนสิ่งสรา งสรรค 3. หลักการฟงและดทู ่ดี ี ผูเรียนรูไดเรียนรูว ิธีการฟงและดูมาแลว หลายประการ ควรจะไดรับรูถ ึงวิธีการปฏิบัติตน ใน การเปนผูฟงและดทู ่ดี ดี ว ย ตามหลกั การ ดังน้ี 3.1 ฟง และดใู หตรงตามความมุง หมาย การฟงแตล ะครัง้ จะตองมีจดุ มุง หมายในการฟงและดู ซ่ึงอาจจะมีจุดมุง หมายอยางใดอยางหนึ่งโดยเฉพาะหรือมีจุดมุงหมายหลายอยางพรอมกันก็ได จะตอ ง เลือกฟง และดูใหต รงกับจุดมุงหมายที่ไดตั้งไวแ ละพยายามท่ีจะใหการฟงและดูแตล ะคร้ังไดรับผล ตามจุดมุงหมายท่ีกําหนด 3.2 มีความพรอมในการฟง และดู การฟงและดูจะไดผลจะตองมีความพรอ ม ทั้งรางกาย จิตใจและสติปญญา คือ ตอ งมีสุขภาพดีท้ังรา งกาย และจิตใจไมเ หน็ดเหนื่อยไมเ จ็บปวยและไมม ีจิตใจ เศรา หมอง กระวนกระวายการฟง และดูจึงจะไดผลดี และตอ งมีพื้นฐานความรูใ นเรื่องนั้นดีพอสมควร หากไมมพี ื้นฐานทางความรู สติปญ ญากย็ อมจะฟงและดไู มรเู รอ่ื งและไมเ ขาใจ 3.3 มีสมาธิในการฟงและดู ถาหากไมมีสมาธิ ขาดความต้ังใจยอมจะฟง และดูไมร ูเ รื่อง การรบั รแู ละเขา ใจจะไมเกิด ดงั น้ัน จะตอ งมีความสนใจ มคี วามตงั้ ใจและมสี มาธใิ นการฟงและดู 3.4 มีความกระตอื รอื รน ผูท่ีมองเห็นคุณคา และประโยชนข องเรือ่ งนั้นมีความพรอ มที่จะรับรู และทาํ ความเขา ใจจากการฟง และดนู ้นั ยอมมีประสิทธิภาพในการฟง และดสู งู 3.5 ฟงและดูโดยไมมีอคติ ในการฟง จะตองทําใจเปน กลางไมม ีอคติตอผูพ ูดตอ เรื่องที่พูด หากไมชอบเรื่อง ไมศ รัทธาผพู ูดกจ็ ะทําใหไมพรอมท่ีจะรบั รแู ละเขาใจในเร่อื งน้นั จะทาํ ใหก ารฟง และการดู ไมป ระสบผลสาํ เร็จ 3.6 การจดบนั ทกึ และสรปุ สาระสาํ คัญ ในการฟง และดูเพ่อื ความรมู คี วามจาํ เปน ที่ตองบันทึก สรุปสาระสาํ คญั ที่จะนําไปใชนาํ ไปปฏบิ ตั ิ คณุ สมบัติของผูฟ งและดูท่ดี ี ควรปฏิบัติ ดงั น้ี 1. สามารถปฏิบัตติ ามหลักการฟง และดทู ่ีดไี ด โดยมีจุดมุง หมาย มีความพรอมในการฟง และดูมี ความตั้งใจและกระตือรือรน ไมมีอคตแิ ละรูจ ักสรปุ สาระสาํ คัญของเรือ่ งทฟ่ี ง และดูนั้นได 2. มีมารยาทในการฟงและดู มารยาทในการฟง และดูเปนส่ิงที่จะชว ยสรางบรรยากาศท่ีดีใน การฟงและดู เปนมารยาทของการอยรู ว มกันในสงั คมอยางหนึ่ง หากผูฟง และดูไมมีมารยาท การอยูรว มกัน ในขณะที่ฟง และดู ยอมไมปกติสุข มีบรรยากาศท่ีไมเ หมาะสมและไมเอ้ือตอ ความสําเร็จ ตัวอยางเชน ขณะที่ฟง และดูการบรรยายถามีใครพูดคุยกันเสียงดังหรือกระทําการท่ีสรางความไมสงบรบกวนผูอ ื่น บรรยากาศในการฟงและดูน้ันยอมไมดี เกิดความรําคาญตอ เพื่อนที่นั่งอยูใกลจะไดร ับการตําหนิวา ไมม ี มารยาท ขาดสมบัติผูดี แตถ าเปนผูม ีมารยาท ยอมไดร ับการยกยอ งจากบุคคลอื่นทําใหก ารรับสารดว ย การฟง และดปู ระสบความสําเรจ็ โดยงา ย
11 3. รูจักเลอื กฟงและดใู นสงิ่ ที่เปนประโยชน การเลอื กฟงและดูในเรอื่ งทีจ่ ะเปน ประโยชนตออาชพี ชวี ิตความเปน อยูและความรบั ผิดชอบในสังคม แลวเลอื กนําไปใชใ หเกดิ ประโยชนใ นการพฒั นาอาชพี พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และพฒั นาสงั คม เร่อื งท่ี 3 มารยาทในการฟงและดู การฟงและดูจะสัมฤทธิ์ผลน้ัน ผูฟ ง ตองคํานึงถึงมารยาทในสังคมดวย ยิ่งเปนการฟง และดู ในท่ีสาธารณะยิ่งตองรักษามารยาทอยางเครง ครัด เพราะมารยาทเปนเคร่ืองกํากับพฤติกรรมของคนใน สังคม ควบคุมใหคนในสงั คมประพฤติตนใหเรยี บรอยงดงาม อันแสดงถึงความเปนผดู แี ละเปนคนทีพ่ ัฒนาแลว การฟงและดูในโอกาสตาง ๆ เปน พฤติกรรมทางสังคม ยกเวน การฟง และดูจากสื่อตามลําพัง แตใ นบางคร้ังการฟง และดูบทเรยี นจากสอ่ื ทางไกลก็มกี ารฟงและดกู นั เปน กลมุ รว มกับบุคคลอน่ื ดวย จําเปน ตองรักษามารยาท เพื่อมิใหเ ปน การรบกวนสมาธิของผูอ่ืนการรักษามารยาทในขณะท่ีฟง และดูเปน การแสดงถงึ การมีสัมมาคารวะตอผพู ดู หรอื ผแู สดง หรือตอเพื่อนผฟู ง ดวยกนั ตอสถานที่ผมู ีมารยาทยงั จะได รบั ยกยอ งวา เปนผมู วี ัฒนธรรมดีงามอีกดว ย มารยาทในการฟง และดใู นโอกาสตา ง ๆ มีดังน้ี 1. การฟง และดเู ฉพาะหนา ผใู หญ เม่อื ฟง และดเู ฉพาะหนา ผูใหญไมว า จะอยูแตล ําพังหรือมผี อู ืน่ รวมอยูด วยกต็ าม จะตอ งสํารวมกิริยา อาการใหค วามสนใจดว ยการสบตากับผูพูด ผูท ี่ส่ือสารใหก ันทราบ ถาเปนการสนทนาไมค วรชิงพูดกอ นที่ คสู นทนาจะพดู จบ หรือถามีปญ หาขอ สงสยั จะถาม ควรใหผ พู ดู จบกระแสความกอนแลวจึงถาม หากมเี พ่ือน รวมฟง และดอู ยดู ว ยตอ งไมก ระทําการใดอันจะเปนการรบกวนผอู ่นื 2. การฟงและดูในทปี่ ระชมุ การประชมุ จะมีประธานในท่ปี ระชมุ เปนผูนาํ และควบคุมใหก ารประชุมดําเนินไปดวยดี ผูเขา รวม ประชุมตอ งใหค วามเคารพตอ ประธาน ในขณะที่ผูอื่นพูด เราตอ งตั้งใจฟงและดู หากมีสาระสําคัญก็อาจ จดบันทกึ ไวเ พอื่ จะไดน าํ ไปปฏิบตั ิ หรือเปนขอมูลในการอภิปรายแสดงความคิดเห็น ไมค วรพูดกระซิบกับ คนขางเคียง ไมควรพูดแซงขึ้น หรือแสดงความไมพ อใจใหเ ห็น ควรฟงและดูจนจบแลวจึงใหส ัญญาณ ขออนุญาตพูดดว ยการยกมือ หรือขออนุญาต ไมค วรทํากิจธุระสวนตัว และไมทําสิ่งอื่นใดที่จะเปน การรบกวนที่ประชมุ 3. การฟงและดใู นท่สี าธารณะ การฟงและดูในที่สาธารณะเปน การฟงและดูที่มีคนจํานวนมากในสถานที่ท่ีเปนหอ งโถงกวา ง และในสถานท่ีที่เปน ลานกวาง อาจจะมีหลังคาหรือไมมีกไ็ ด ขณะท่ีฟง และดูไมควรกระทาํ การใด ๆ ท่ีจะกอ ความราํ คาญ สรางความวนุ วายใหแกบคุ คลทีช่ มหรอื ฟง รวมอยดู วย ขอควรระวัง มดี ังน้ี 3.1 การฟง และดูในโรงภาพยนตรหรือโรงละคร 3.1.1 รักษาความสงบ ไมใ ชเสียงพูดคุยและกระทําการใด ๆ ท่ีจะทําใหเร่ืองรบกวน ผอู นื่ และไมควรนาํ เด็กเล็ก ๆ ท่ไี รเดียงสาเขาไปดูหรือฟง ดว ยเพราะอาจจะรองหรอื ทาํ เสยี งรบกวนผอู นื่ ได
12 3.1.2 ไมค วรนําอาหารของขบเคี้ยว ของท่มี ีกลนิ่ แรงเขา ไปในสถานท่ีน้ัน เพราะเวลาแก หอ อาหาร รบั ประทานของขบเคย้ี วก็จะเกดิ เสียงดังรบกวนผูอ่นื และของทีม่ กี ล่นิ แรงกจ็ ะสง กลน่ิ รบกวน ผูอ นื่ ดวย 3.1.3 ไมเดินเขา ออกบอ ย เพราะในสถานท่ีนั้นจะมืด เวลาเดินอาจจะเหยียบหรือ เบียดผูรวมฟง ดวย หากจําเปน ควรเลือกที่นงั่ ทส่ี ะดวกตอ การเดนิ เขาออก เชน น่งั ใกลทางเดิน เปนตน 3.1.4 ไมค วรแสดงกริ ยิ าอาการท่ีไมเ หมาะไมค วรระหวา งเพ่ือนตา งเพศในโรงมหรสพ เพราะเปนเรื่องสว นบคุ คลขดั ตอวฒั นธรรมประเพณไี ทย ไมควรแสดงกิรยิ าอาการดงั กลาวในท่ีสาธารณะ 3.1.5 ไมค วรสง เสียงดงั เกนิ ไปเมือ่ ชอบใจเปน พิเศษในเร่ืองท่ีดูหรือฟง เชน ถึงตอนที่ ชอบใจเปนพิเศษก็จะหวั เราะเสยี งดัง ปรบมอื หรอื เปา ปาก ซึ่งจะเปนการสรา งความราํ คาญและรบกวนผูอน่ื 3.2 การฟง ในลานกวา ง สว นใหญจ ะเปนการชมดนตรแี ละการแสดงท่ีเปนลักษณะมหกรรม บนั เทงิ ควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 3.2.1 อยาสง เสียงดังจนเกินไป จะทําใหเปน ท่ีรบกวนผูรวมชม หากถูกใจเปนพิเศษ กค็ วรดูจังหวะอันควรไมทาํ เกินพอดี 3.2.2 ไมแสดงอาการกิริยาทไี่ มสมควร เชน การโยกตัว การเตนและแสดงทาทาง ตา ง ๆ เกินพอดี 3.2.3 ไมด ืม่ ของมนึ เมาเขา ไปชมการแสดงหรือไมนําไปดมื่ ขณะชม 3.2.4 ไมค วรแสดงกิริยาทีไ่ มเ หมาะสมกับเพื่อนตางเพศหรือเพศตรงขาม เพราะขัดตอ วฒั นธรรมไทย และอาจผดิ กฎหมายดวย 3.2.5 ควรยืนหรือน่ังใหเ รียบรอยไมควรเดินไปเดินมาโดยไมจําเปน เพราะจะทํา ความวุนวายใหบุคคลอ่ืน สรปุ มารยาทในการฟงและดูได ดงั นี้ 1. ฟง และดูดวยความตงั้ ใจ ตามองดูผพู ูดไมแสดงออกดว ยอาการใด ๆ ทีบ่ อกถึงความไมสนใจ 2. ไมทําความราํ คาญแกผอู ืน่ ท่ีฟงและดดู วย 3. ไมแ สดงกรยิ าไมเ หมาะสมใด ๆ เชน โห ฮา ฯลฯ 4. ถา จะแสดงความคิดเห็นหรือถามปญ หาขอขอ งใจ ควรจะขออนุญาตกอ นหรือเม่ือที่ประชุม เปด โอกาสใหถามและแสดงความคดิ เหน็ 5. ไมควรเดินเขา หรอื เดินออกขณะท่ีผูพ ูดกําลังพูดหรือกําลังแสดงหากจําเปน จริง ๆ ควรจะทํา ความเคารพประธานกอ น กิจกรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นฝกปฏบิ ัตติ ามลักษณะการฟงที่ดีในโอกาสที่เหมาะสม เชน การฟงรายงานกลุม, การฟง พระเทศนแ ลวนาํ มาอภิปรายกันในกลมุ ท้ังผเู ปนวิทยากรผรู วมฟง และเน้อื หาตามหัวขอ ทผ่ี เู รยี นนาํ เสนอและ ตกลงกนั ในกลุม
13 กจิ กรรมที่ 2 1. จงสรุปมารยาทในการฟงและดวู ามีอะไรบาง 2. ใหผเู รียนฝกปฏิบัติตามมารยาทในการฟงและดโู ดยแบงกลมุ จดั กจิ กรรมในหอ งเรยี น การนาํ ความรูจากการฟง และดูไปใช การฟงและการดเู ปนการรับสารทางหน่ึงท่ีเราสามารถจะรับรูเรื่องราวตาง ๆ ไดเปนอยา งดีและ ละเอียด เพราะไดฟง เร่ืองราวจากเสียงพูดและยังไดมองเห็นภาพเร่ืองราวเหตุการณแ ละวัตถุส่ิงของ ตลอดทั้งกริยาอาการตาง ๆ อีกดว ย สง่ิ ทไี่ ดร ับจากการฟง และดูจึงเปน ขอมูลความรูท่ีคอ นขางจะละเอียด ลึกซึง้ จงึ สามารถที่จะนาํ ไปใชในชีวติ ประจาํ วนั ไดอ ยางดี เชน 1. ใชถ ายทอดความรเู รอื่ งราวดวยการพูด การอานและการเขียน เชน การรายงาน การบรรยาย การบอกกลา วเลา เรื่อง การอา นขา ว อา นประกาศ บทความ และการเขียนบทความ เขียนเร่ืองยอ เรียงความ จดหมาย ฯลฯ เพ่ือถา ยทอดเรื่องราวที่ไดฟง และดู ตลอดทั้งการเห็นตัวอยางในการถา ยทอด ดว ยวธิ ตี า ง ๆ มาใชใ นการถายทอดไดอีกดว ย 2. ใชใ นการวเิ คราะห วจิ ารณ แสดงความคดิ เห็น การฟงและดูจะชว ยใหเ ราไดความรู ไดข อ มูล ขอ เทจ็ จริง หลกั ฐาน เหตผุ ล ตัวอยางแนวคิดทจ่ี ะใชประกอบการวิเคราะห วจิ ารณ แสดงความคิดเห็นตอ ท่ปี ระชมุ ตอสาธารณชนดว ย การพดู การเขียนไดเปน อยา งดี 3. ใชในการแกป ญหา การแกป ญหาทกุ ประเภท ทุกปญหาจะสําเร็จลุลวงไปดว ยดี จะตอ งอาศัย ความรู ประสบการณแนวทางแกปญ หาอื่นทเี่ คยแกไ ขมาแลว และขอมลู ทางวิชาการประกอบในการตดั สนิ ใจ เลือกวิธแี กป ญหาทีเ่ กิดขึ้นจึงจะสามารถแกป ญ หาไดส ําเรจ็ ดว ยดี 4. ใชใ นการประกอบอาชีพ การไดฟง ไดเ ห็นตัวอยา งเร่ืองราวตา ง ๆ จะทําใหไดรับความรูแ ละ ขอ มลู เกยี่ วกับอาชีพตาง ๆ จะทาํ ใหเ รามองเห็นชอ งทางการประกอบอาชพี ชว ยใหตัดสินใจประกอบอาชีพ และยังเปนขอ มลู ที่จะสงเสรมิ ใหบ ุคคลที่มอี าชพี อยแู ลว ไดพฒั นาอาชีพของตนเองใหเ จริญกาวหนา อีกดวย 5. ใชในการศึกษาเลาเรียน นักเรียน ผูเ รียน ท่ีกําลังศึกษาอยูย อ มสามารถนําความรูประสบการณ จากการฟง และดูมาชวยใหมีความรูความเขา ใจในวิชาที่เรียนทําใหก ารเรียนประสบความสําเร็จตาม ความตองการของตนเอง 6. ใชเปนแนวทางในการดําเนนิ ชีวิตในสังคม ความรทู ่ีไดจากการฟงและดูจะสามารถนําไปใชเปน แนวปฏิบัติของแตล ะคนท้ังในดานสุขภาพอนามัย การปฏิบัติตนในสังคมเก่ียวกับวัฒนธรรมประเพณี การกินอยหู ลบั นอน การอยรู วมกนั ในสงั คมอยา งเปน สขุ ทง้ั หมดเปน เรือ่ งท่ีจะตอ งศึกษาเปนเร่ืองที่จะตอง ศึกษาหาความรดู ูตวั อยา ง ดแู นวปฏบิ ัติระเบียบ กฎเกณฑข องสังดว ยการฟงและดูทงั้ ส้นิ ท่ีกลาวมาเปน สวนหน่ึงยังมีอีกมากมายหลายอยา งท่ีเราตอ งนําความรูจากการฟงและดูไปใช ในการดาํ เนนิ ชีวิต
14 บทท่ี 2 การพดู สาระสาํ คญั การพูดเปน การสื่อสารท่ีควบคูก ับการฟง และดู การเขาใจหลักการการเตรียมการพูด การพูด ในหลาย ๆ โอกาส และมารยาทในการพูดจะทําใหก ารพดู ประสบผลสาํ เร็จ ผลการเรยี นรูท่คี าดหวงั เมื่อศกึ ษาบทที่ 2 จบ และคาดหวงั วาผูเ รียนจะสามารถ 1. นาํ ความรูเก่ยี วกบั ลักษณะการพูดไปใชไดเหมาะสม 2. มที กั ษะประสบการณการพดู ในโอกาสตา ง ๆ 3. มีมารยาทในการพูด ขอบขายเนื้อหา เรือ่ งท่ี 1 มารยาทในการพดู เรือ่ งท่ี 2 ลักษณะการพูดท่ีดี เรอ่ื งที่ 3 การพูดในโอกาสตา ง ๆ
15 เรอ่ื งท่ี 1 มารยาทในการพดู 1. ใชค ําพูดสุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คลใหเกยี รตกิ บั ผทู ่ีเราพูดดวย รูจ กั ใชคําทีแ่ สดงถงึ ความมมี ารยาท เชน คาํ ขอบคุณ ขอบใจ เมื่อผูอ ่ืนทําคุณตอ เรา และกลา วขอโทษขออภัยเสียใจในโอกาส ทกี่ ระทาํ การลว งเกินผูอ ่นื 2. ไมพูดจาเยาะเยย ถากถาง ดูหม่ินเหยียดหยาม เสียดสีผูอื่น ไมพูดจายกตนขม ทา น พูดช้ี จดุ บกพรอง หรือปมดอ ยของผอู ืน่ ใหเ กิดความอับอาย 3. ไมผ ูกขาดการพดู และความคดิ แตเพยี งผเู ดียว ใหโ อกาสผูอื่นไดพูดบา งไมพูดตัดบทในระหวาง ผอู ื่นกําลงั พดู ควรคอยใหผอู น่ื พดู จนหมดกระบวนความแลวจงึ พดู ตอ 4. เม่ือจะพูดคัดคา นหรือโตแยง ควรจะเหมาะสมกับโอกาสและมีเหตุผลเพียงพอไมใชอารมณ ควรใชคําพดู ทน่ี มุ นวล ไมใหเสยี บรรยากาศของการพดู คุยกัน 5. การพดู เพื่อสรา งบรรยากาศ ใหเ กิดอารมณข ัน ควรจะเปนเรอื่ งตลกขบขนั ทส่ี ภุ าพ ไมหยาบโลน หรือพดู ลกั ษณะสองแงสองงาม 6. ไมพูดตเิ ตยี น กลาวหาหรือนนิ ทาผอู ่นื ตอหนาชมุ ชน หรือในขณะท่ีผทู เ่ี ราพูดถงึ ไมไดอ ยดู วย 7. ควรพูดดว ยนํ้าเสียงนุม นวลชวนฟง ไมใชน ํ้าเสียงหว น ๆ หรือดุดันวางอํานาจเหนือผูฟง รจู กั ใชคาํ คะ ครบั นะคะ นะครับ หนอ ย เถดิ จะ นะ เสรมิ การพูดใหส ุภาพไพเราะนา ฟง คณุ ธรรมในการพูด การปฏิบตั ติ ามมารยาทในการพูดดังกลา วมาแลว ยังไมถือวา เปนการพูดดี เพราะยังขาดคณุ ธรรมในการพดู นั้นกค็ อื ขาดความรับผดิ ชอบ ขาดความจริงใจ เพราะบุคคลที่มีคุณธรรม ในการพดู จะตอ งมีความรบั ผดิ ชอบในคําพดู และส่ิงท่ีพูดออกไป มีความจริงใจ มีความบริสุทธิ์ใจตอ ผูท ี่เรา พูดดวย ก. ความรับผดิ ชอบในการพูด ผูพูดจะตอ งรับผิดชอบตอ การพูดของตนทั้งในดานกฎหมายและ ศีลธรรม รบั ผดิ ชอบทางกฎหมายน้ันก็คือ เมื่อผูพูดพูดอยางขาดความรับผิดชอบมีความผิดตามกฎหมาย ผูน้ันจะตอ งรับโทษ เชน พูดหมิ่นประมาท แจง ความเท็จ พูดใหผูอ ่ืนเสียหายจนเกิดการฟอ งรอ ง ตองรบั โทษตามกฎหมาย สวนความรบั ผดิ ชอบในดา นศีลธรรมหรือคุณธรรมนนั้ หมายถึง ความรับผิดชอบของการพดู ทีท่ าํ ให ผูอ่ืนเสียใจ ไมสบายใจเกิดความเสียหายไมถ ึงกับผิดกฎหมายบานเมือง แตเ ปน ส่ิงไมเหมาะไมค วร เชน การพูดสอ เสียด พูดคําหยาบ พูดเพอเจอ พูดใหผ ูอ่ืนถูกตําหนิเหลา น้ีผูพูดตอ งรับผิดชอบ ตองไมป ฏิเสธ ในคําพูดของตน นอกจากน้ีผูพูดจะตอ งไมพูดตอ เติมเสริมแตงจนบิดเบือนความจริง ตอ งตระหนักและ รับผดิ ชอบในการพูดทกุ ครง้ั ข. ความจริงใจและบริสุทธ์ิใจ ผูพ ูดตอ งมีความจริงใจในการพูดดวยการแสดงออกทางสีหนา แววตา อากปั กริ ิยา นํา้ เสยี งและคําพดู ใหต รงกับความรูส ึกท่ีมีอยูใ นจิตใจอยา งแทจ ริง ไมเ สแสรง แกลง ทํา
16 พูดดวยความบริสุทธิ์ใจ คือ การพูดดวยความปรารถนาดีที่จะใหเกิดผลดีตอ ผูฟง ไมพ ูดเพ่ือใหเขาเกิด ความเดือดรอนเสียหาย ในการพูดควรพิจารณาถึงผลดี ผลเสีย กาลเทศะ อะไรควรพูด อะไรไมค วรพูด เปน สิ่งสําคัญ เร่ืองท่ี 2 ลักษณะการพดู ทดี่ ี การพูด การพูดเปน การสื่อสารอีกประเภทหนึ่งท่ีใชก ันอยูใ นชีวิตประจําวัน ในการพูดควรตระหนักถึง วัฒนธรรมในการใชภ าษา คอื ตอ งเปน ผมู ีมารยาทในการพูด มีคุณธรรมในการพูดและปฏิบัติตามลักษณะ การพดู ทด่ี ี จึงจะส่อื กับผฟู งไดตามท่ตี องการ การพูดของแตล ะบุคคลในแตละครั้งจะดีหรือไมด ีอยางไรน้ัน เรามีเกณฑท่ีจะพิจารณาได ถาเปนการพดู ทด่ี จี ะมลี ักษณะ ดังตอไปน้ี 1. ตองมเี นือ้ หาดี เนอื้ หาท่ดี ตี อ งตรงตามจุดมงุ หมายของผพู ูด ผูพูดมีจุดมงุ หมายการพูดเพอื่ อะไร เพ่อื ความรู ความคิด เพื่อความบันเทิง เพื่อจูงใจ โนม นา วใจ เนื้อหาจะตอ งตรงตามเจตนารมณของผูพ ูด และเนื้อหานั้นตอ งมีความยากงายเหมาะกับผูฟง มีการลําดับเหตุการณ ความคิดท่ีดีมีระเบียบไมว กวน จึงจะเรียกวา มเี นื้อหาดี 2. ตองมีวิธีการถายทอดดี ผูพ ูดจะตอ งมีวิธีการถา ยทอดความรูความคิดหรือสิ่งที่ตอ งการ ถา ยทอดใหผูฟง เขา ใจงายเกิดความเช่ือถือ และประทับใจ ผูพูดตองมีศิลปะในการใชถอยคําภาษาและ การใชนํ้าเสียง มีการแสดงกิริยาทาทางประกอบในการแสดงออกทางสีหนา แววตาไดอยา งสอดคลอ ง เหมาะสม การพูดจงึ จะเกดิ ประสทิ ธผิ ล 3. มีบุคลิกภาพดี ผูพ ูดจะตองแสดงออกทางกายและทางใจไดเหมาะสมกับโอกาสของการพูด อันประกอบดว ย รูปรา งหนาตา ซ่ึงเราไมสามารถท่ีจะปรับเปลี่ยนอะไรไดมากนัก แตก็ตองทําใหดูดีที่สุด การแตงกายและกริยาทา ทาง ในสว นน้ีเราสามารถที่จะสรา งภาพใหด ีไดไมย าก จึงเปนสวนท่ีจะชว ยใน การสรางบุคลกิ ภาพท่ีดีไดมาก สว นทางจิตใจน้ันเราตองสรา งความเชือ่ มน่ั ในตวั เองใหสงู มคี วามจรงิ ใจและ มีความคิดริเริ่ม ผูพูดที่มีบุคลิกภาพท่ีดี จึงดึงดูดใจใหผูฟงเช่ือมั่น ศรัทธาและประทับใจไดงา ย การสรา ง บคุ ลกิ ภาพทดี่ ีเปนคณุ ลักษณะสาํ คัญอยางหน่ึงของการพูด การพูดที่ใชสื่อสารในชีวิตประจําวันน้ันมีลักษณะแตกตางกัน ท้ังนี้ขึ้นอยูก ับโอกาสสถานที่ กาลเทศะและบุคคลท่ีเราพูด ถาพูดเปน ทางการ เชน การพูดในท่ีประชุม สัมมนา การพูดรายงาน ความกา วหนา ของการปฏิบัติงานใหผ ูบังคับบัญชาทราบ ผพู ูดยอมตองใชภ าษาลกั ษณะหนง่ึ แตใ นโอกาส ที่ไมเปน ทางการ เชน การพูดในวงสนทนาของเพื่อนท่ีสนิทสนมกัน การพูดใหคําปรึกษาของครู กศน.กับ ผูเ รยี น ผนู ําหมบู า นชี้แจงรายละเอยี ดของการประชุมใหคนในชมุ ชนทราบ ก็ยอ มจะใชภาษาอีกอยา งหน่ึง หรอื ถาเราพูดกบั บุคคลทีร่ ูจ กั คนุ เคยกันมาเปน อยา งดีก็ใชภาษาพูดลักษณะหนึ่ง แตถา พูดกับบุคคลท่ีเรา เพ่ิงรูจักยังไมค ุน เคยกจ็ ะใชภ าษาอกี ลกั ษณะหนึ่ง
17 การพูดที่ดี อาจแบงไดเ ปน 3 ลักษณะคือ 1. การพูดแบบเปน ทางการ เปน การพูดท่ีผูพูดจะตองระมัดระวังในเรื่องของรูปแบบ วิธีการ ความถูกตอ งเหมาะสมของการใชถอยคํา การพูดลักษณะน้ีจะใชในโอกาสที่เปน พิธีการ มีรูปแบบวิธีการ และข้ันตอนในการพูดเปนการพูดในท่ีประชุมท่ีมีระเบียบวาระ การกล่าวตอ นรับ การกลาวตอบ การกลา วอวยพร การกลา วใหโอวาท การแสดงปาฐกถา เปนตน 2. การพูดแบบกึ่งทางการ เปนการพูดที่ผูพูดตองพิถีพิถันในการใชถอยคํานอยลง กวา ลักษณะการพูดแบบเปนทางการ จะใชใ นการสนทนาพูดคุยกันระหวางผูที่ยังไมค ุน เคยสนิทสนมกัน มากนกั หรอื ในกลมุ ของบุคคลตางเพศ ตางวัยกัน การพูดในที่ชุมชนก็จะมีการใชก ารพูดในลักษณะนี้ดว ย เชน การแนะนาํ บุคคลในทีป่ ระชมุ การพดู อภิปราย การแนะนาํ วิทยากรบุคคลสําคัญเหลานี้ เปนตน 3. การพดู แบบไมเ ปน ทางการ เปน การพดู ท่ใี ชส ือ่ สารกบั ผทู ่เี ราสนิทสนมคุนเคยกันมาก ๆ เชน การพดู คุยกันของสมาชิกในครอบครัว การพูดกันในกลุม ของเพื่อนสนิท หรือพูดกับกลุมคนที่เปน กันเอง การพูดในลกั ษณะน้จี ะใชกนั มากในชีวติ ประจําวัน เรื่องท่ี 3 การพูดในโอกาสตาง ๆ การพดู ระหวา งบุคคล การพดู ระหวา งบุคคลเปน การพดู ท่ีไมเปน ทางการ ท้ังผูพูดและผฟู ง มกั ไมไดม กี ารเตรยี มตวั ลว งหนา ไมม ีการกําหนดเวลาและสถานท่ีไมม ีขอบเขตเน้ือหาแนน อน ซ่ึงเปน การพูดท่ีใชมากที่สุด ผูเ รียนจะตอ ง ฝกฝนและใชไดท นั ทเี มื่อจําเปน ตอ งใช การพูดระหวา งบุคคลพอจะแยกได ดงั นี้ การพูดทักทายปราศรัย ตามปกติคนไทยเราเปนคนมีนํ้าใจชอบชว ยเหลือเกื้อกูลผ้อู ืนอยูเสมอ หนา ตายิ้มแยม แจมใส รูจ ักโอภาปราศรัย เมื่อพบใครจะเปน คนท่ีรูจ ักกันมากอ นหรือคนแปลกหนา ก็จะ ทักทายดว ยการย้ิมหรือใชอ วัจนภาษา คือ กิริยาอาการทักทายกอน ซ่ึงเปน เอกลักษณข องคนไทยที่ควร รกั ษาไว เ พราะเปนท่ีประทบั ใจของผูพบเหน็ ท้ังคนไทยดว ยกนั และชาวตา งประเทศ การทักทายปราศรัยควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. ยิม้ แยมแจม ใสความรูส กึ ยนิ ดีท่ีไดพ บกบั ผูท ีเ่ ราทักทาย 2. กลา วคําทกั ทายตามวัฒนธรรมไทย หรอื ตามธรรมเนียมนิยม อนั เปน ท่ยี อมรบั กนั ในสงั คม เชน กลา ว “สวสั ดคี รบั ”... “สวสั ดคี ะ” 3. แสดงกิริยาอาการประกอบคําทักทายหรือปฏิสันถาร เชน การยิ้มและคอมศีรษะเล็กนอย การจบั มือ จบั แขนหรอื ตบไหลเบา ๆ ซ่งึ เปน วฒั นธรรมตะวันตกพอที่จะทาํ ไดถา เปน คนรจู กั สนิทสนมกันดี 4. กลา วขอ ความประกอบการทักทายที่เหมาะสมและทําใหเ กิดความสบายใจดวยกันทง้ั สองฝา ย เชน สวัสดคี ะ คณุ รตั น สบายดีหรอื คะ สวสั ดคี รับ คุณกิ่งกมล วนั นีแ้ ตง ตวั สวยจังเลย สวัสดคี ะ คุณพรี พล ไมไดพบกนั เสียนาน ลกู ๆ สบายดีหรอื คะ
18 5. การทักทายปราศรัย ควรหลีกเล่ียงการถามเร่ืองสว นตัว เรื่องการเงินและเรื่องท่ีทําใหผ ูอ่ืน ไมสบายใจ ตวั อยา ง สวสั ดีคะ คณุ คมกริช เปน อะไรไปคะ ผอมจังเลย สวสั ดคี รบั คุณอรอนงค ไปทาํ อะไรมาครบั หนา มแี ผลเต็มไปหมดเลย และคาํ ถามทเี่ ปน เรอื่ งสวนตัว เชน จะไปไหน จะไปเที่ยวไหน เส้อื ตวั นีซ้ อ้ื มาราคาเทา ไร ไปทาํ อะไร มาหนาดูไมส บาย ไปบานลุงอ่ําทําไม ลักษณะเชน น้ีควรจะหลีกเลี่ยง เพราะไมกอ ใหเกิดสัมพันธภาพที่ดี ตอ กนั ควรจะทกั ทายปราศรัยดว ยไมตรีจิตและแสดงใหเหน็ ทั้งคําพดู และกริ ยิ าอาการ การแนะนาํ ตนเอง การแนะนําตนเองมีความจําเปน และมีความสําคัญตอ การดําเนินชีวิตประจําวันของคนเราเปน อยา งย่ิง เพราะในแตละวันเราจะมีโอกาสพบปะสังสรรค ติดตอประสานงานกับบุคคลอ่ืน ๆ อยูเ สมอ การแนะนาํ สรา งความรูจกั คุนเคยกันจึงตองเกิดขึ้นเสมอ แตก ารแนะนําดว ยการบอกชื่อ สถานภาพอยา ง ตรงไปตรงมาเปนธรรมเนยี มของชาวตะวนั ตก สวนคนไทยนยิ มใชก ารแนะนําดวยการใหความชว ยเหลือใหบริการเปนเบื้องตน เชน หยิบของให รนิ น้าํ ตักอาหาร เมอ่ื มีโอกาสอันควรกจ็ ะทกั ทายปราศรยั และเรม่ิ การสนทนาในเรื่องท่เี ห็นวา จะพดู คยุ กนั ได แตก็มีบางคร้ังบางโอกาสที่ฝายใดฝายหน่ึงไมยอมรับรูแสดงอาการเฉยเมยไมตอบสนอง จนทําใหอ ีก ฝา ยหนึ่งอึดอดั เกอ เขนิ หมดความพยายามผลสดุ ทายก็เลกิ ราไป ซง่ึ เหตุการณล กั ษณะนี้เปน สภาพการณที่ไม พึงปรารถนาและคงไมม ใี ครตอ งการใหเกิดข้ึนกับตัวเอง ดังน้ันผูเรียนจึงตองเขาใจและฝกฝนการแนะนํา ตนเอง เพราะเปนสงิ่ ทมี่ ปี ระโยชนตอการดาํ เนินชีวติ และจาํ เปน ตอ งใชในชีวิตประจาํ วัน บุคคลอาจตองแนะนําตนเองในหลายโอกาส แตจะกลา วเฉพาะที่สําคัญพอเปนตัวอยาง คือ การแนะนาํ ตนเองในทส่ี าธารณะ ในงานเลย้ี ง ในการทําธรุ กจิ การงานและในงานประชุมกลุม ก. การแนะนําตนเองในท่ีสาธารณะ มแี นวทาง การแนะนาํ ตนเอง ดงั นี้ 1. สรา งเหตขุ องความคุน เคย กอนทจี่ ะแนะนําตัวมักจะมกี ารหาจุดเรม่ิ ตนของการแนะนาํ ตวั ดวยการสนทนาสัน้ ๆ หรอื ทักทายดวยถอ ยคาํ ทจ่ี ะนําไปสคู วามคุนเคย เชน วันแรกของการพบกลุม ของ ผูเรียน เม่ือผูเรียนมาแตเชามีเพื่อนใหมมาคอยอยูคนเดียวหรือสองคน อาจจะมีผูเรียนคนใดคนหน่ึง กลาวปรารภข้ึนมา “ดิฉันก็นึกวาจะไมมีเพ่ือน เดินเขามาคร้ังแรกมองไมเห็นมีใครเลย” ตอจากน้ัน ก็จะมีการสนทนากันตออีกเล็กนอย เม่ือเกิดความรูสึกคุนเคยมีมิตรไมตรีตอกันก็จะมีการแนะนําตัว ใหรูจักซึ่งกันและกนั ตอไป ในบางคร้ังอาจจะมกี ารทกั ทายดว ยคาํ ถามท่ีเหมาะสมกับเหตุการณ เชน ในเหตุการณท่ีกลา วมา คือ ผูเ รียนมาพบกัน ณ สถานที่พบกลุมเปนวันแรกนั้นคนท่ีมาถึงกอ นอาจจะถามขึ้นกอ นวา “เพ่ิงมาถึง หรอื คะ” “หรือมาคนเดียวหรอื คะ” หรอื ไมคนทีม่ าทีหลงั อาจจะถามข้ึนกอ นวา “มาถึงนานหรือยังครับ”
19 หรือ “ยังไมมีใครมาเลยหรือครับ” แลว อีกฝา ยหนึ่งก็จะตอบคําถามแลวก็มีการสนทนาซักถามกันตอ จนเกิดความรสู ึกคนุ เคยแลว จึงมีการแนะนาํ ตัวใหร ูจักซงึ่ กันและกันตอไป 2. บอกชื่อสกุลและขอมูลที่สําคัญ เมื่อทักทายหรือกลา วในเชิงปรารภ จนรูส ึกวาเพื่อนใหม หรือคูสนทนามีอัธยาศัยไมตรีท่ีดีบางแลว ก็อาจจะมีผูหนึ่งผูใดเปน ฝา ยแนะนําตนเองดวยการบอกชื่อ ชอื่ สกลุ และขอมูลที่สําคัญตอเน่ือง เชน กลาวข้ึนวา “ผมณัฐสุชน คนเยี่ยม มาพบกลุมระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายกลมุ อาจารยส ภุ รณค รับ” เพอ่ื นทสี่ นทนาดวยกจ็ ะแนะนาํ ตนเองตามมาวา “ดิฉัน สวุ ิมล นนทวัฒนา คะ มาพบกลุม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายเหมือนกันคะ แตอ ยกู ลุม อาจารยน พรัตนค ะ เรยี นแผนการเรียน ก. คะ ” จากนัน้ กจ็ ะมีการสนทนากนั ตอ ในเร่อื งการเรียนหรอื เรอ่ื งอน่ื ๆ ท่ีมคี วามสนใจตรงกนั ตอไปอกี จะเห็นไดวา การแนะนําตนเองในการพบปะสนทนากันในท่ีสาธารณะตามปกติทั่วไปมักจะมี การสรา งเหตุของความคนุ เคยดว ยการสนทนาซักถามกนั เล็ก ๆ นอย ๆ กอน แลว จึงจะมีการแนะนําตนเอง มใิ ชเรมิ่ แรกกจ็ ะแนะนาํ ตนเองขึ้นมา บางคร้งั อาจจะไมม ีการตอบสนองจากอีกฝา ยหนึ่งได จึงควรคํานึงถึง เรือ่ งนด้ี ว ย ข. การแนะนาํ ตนเองในงานเลยี้ ง การไปรว มงานเลย้ี งควรคํานงึ ถงึ มารยาทในสังคม รูจักสังเกตสนใจเพื่อนรวมโตะ หรือเพื่อนท่ีมา รวมงานดวย หากยังไมรูจักคุน เคยก็หาทางแนะนําตนเองตามวัฒนธรรมประเพณีของไทยดวยการแสดง สหี นา ยิ้มแยม แจมใส แสดงไมตรี มีโอกาสบริการก็ใหบ รกิ ารซงึ่ กันและกัน แลวจึงแนะนําตนเอง โดยการ บอกชอื่ และบางครง้ั สนทนากนั ตอ ในเร่อื งตา ง ๆ ตามสถานการณ บรรยากาศและความสนใจ การแนะนําตนเองในงานเลี้ยงมีลักษณะคลายกับการแนะนําตนเองในท่ีสาธารณะคือ จะมี การสรางเหตุของความคนุ เคยกอ นแลว จึงแนะนําตนเอง และมกี ารสนทนารายละเอียดอนื่ ๆ ตอไป ค. การแนะนําตนเองในการทาํ กิจธุระ เมอ่ื พบบคุ คลที่นดั หมายหรอื ท่ีตองการพบ โดยไมรูจักกันมากอนใหบ อกช่ือและนามสกุลของตน เองใหท ราบดวยนํ้าเสียงสุภาพ ตอจากน้ันจึงบอกกิจธุระท่ีตองการมาติดตอ ตัวอยา งเชน “ผมช่ือวิทยา ศักดส์ิ ุวรรณ เรียนอยู กศน. เมืองปาน ทราบวา ท่ีบา นนี้เล้ียงปลา และขายลูกปลาหลายชนิดใชไ หมครับ ผมขออนุญาตชมบอ ปลา ขอคาํ แนะนาํ และผมจะขอซ้อื ลูกปลาดุกไปเลีย้ งสัก 500 ตัว ดวยครับ” เม่ือแนะนาํ ตนเองและชแี้ จงกจิ ธรุ ะของเราอยา งชดั เจนแลวก็จะทําใหการสื่อสารดําเนินไปดว ยดี และกิจธรุ ะของเราก็ประสบผลสาํ เร็จ ง. การแนะนาํ ตนเองในกลมุ ยอย ในโอกาสทมี่ กี ารพบกลมุ ท่คี นสวนใหญไ มรูจักกันมากอ น ควรมีการแนะนาํ ตนเองใหรจู กั เพื่อจะได พูดคุยแสดงความคิดเห็นไดสะดวกใจและมคี วามเปน กนั เอง ซึ่งการแนะนําตนเองในกลุมยอ ยนี้ ใหบอกชอ่ื และนามสกุล บอกอาชีพ (ถา ม)ี และบอกวา มาจากหมูบา น ตําบลอะไรถาตางอาํ เภอก็บอกอําเภอดวย เชน “ดฉิ นั วรวรรณ สุขวฒั นา เปน ผูเรยี นใหมข องกลุมพระธาตุเสดจ็ อยูบ านวังลกึ ตาํ บลพระธาตเุ สด็จ ทาํ งานอยโู รงพยาบาลศนู ยลาํ ปางคะ ”
20 เม่ือแนะนําตนเองแลว ในกลุมก็จะมีปฏิกิริยาตอ นรับดวยการย้ิมหรือปรบมือ แลวเราก็นั่งลง กจ็ ะทําใหบ รรยากาศของการประชุมเปน กนั เองขึน้ กิจกรรมท่ี 1 1. ใหผเู รยี นจบั คกู บั เพ่ือนในกลุม แลวสมมติสถานการณวา ท้ังคูพบกันบนรถประจําทาง หรือที่ สถานีอนามัยประจําตําบลหรือสถานท่ีอื่น ๆ ท่ีเห็นวา เหมาะสม ฝก ทักทายปราศรัยกันและกันใหเ พื่อน ผูเรยี นในกลมุ ฟง และใหเพอ่ื นชว ยวจิ ารณก ารใชภ าษาและการสรา งบรรยากาศวา ถกู ตอ งเหมาะสมเพียงใด 2. ใหผ ูเ รยี นแนะนาํ ตนเองในวันพบกลุม คร้ังแรกหรือเม่ือมีโอกาสไปรวมประชุมกลุม ยอ ยในวิชา ตาง ๆ และยังไมรจู ักกบั เพอื่ นในกลุม โดยใหปฏบิ ตั ิตามหลกั การและวิธีการแนะนาํ ตนเองทเ่ี รยี นมาแลว 3. เม่ือมโี อกาสท่จี ะทักทายปราศรยั หรือแนะนาํ ตนเองใหผเู รยี นไดฝ กปฏบิ ัตจิ รงิ ตามหลกั การและ วิธกี ารท่ไี ดศกึ ษามาแลวและสังเกตผลหากมีขอบกพรองผดิ พลาดใหปรับปรงุ แกไขใหถ ูกตอ ง 4. ใหผ ูเรียนเรียงกนั ออกมาเลาเหตุการณใ ด ๆ ก็ไดหนาหองและใหผูฟงวิจารณใ นหัวขอ เนื้อหา วิธีการถา ยทอด และบคุ ลกิ ภาพของผพู ูดวาเขาหลักเกณฑใ นการเปน นกั พดู ที่ดีหรอื ไม การสนทนา การสนทนา หมายถึง การพูดระหวา งบุคคลตั้งแต 2 คน ข้ึนไป ผลัดกันพูดและผลัดกันฟง การสนทนามหี ลายลกั ษณะ อาจจะเปน ลกั ษณะท่ไี มเ ปนแบบแผนคุยตามสบายไมจาํ กัดเรือ่ งท่ีสนทนา เชน การสนทนาในครอบครัว การสนทนากันในเพื่อนผูเรียนท่ีรูจ ักสนิทสนมกัน เปน ตน แตใ นการสนทนา บางครั้งเปน การสนทนาท่ีมีแบบแผน ซ่ึงตองมีการตระเตรียมลว งหนา สวนใหญจ ะเปน การสนทนา เชิงวิชาการ แตใ นท่ีน้ีจะพูดถึงการสนทนาที่ไมเ ปนแบบแผน คือ การสนทนากับบุคคลที่รูจ ักคุน เคย และบุคคลแรกรจู กั การสือ่ สารลกั ษณะน้ีมคี วามสําคัญและเราไดใ ชเปนประจําย่ิงในครอบครัวในท่ีทํางาน ในสถานศึกษาหรือในกลุมของผูเ รียน ถา มีการสนทนากันดว ยดี ก็จะนําความสัมพันธฉ ันพ่ีนอ ง ฉันมิตร มาให กระทําสิ่งใดก็ราบร่ืน เกิดความสามัคคีและนําความสุขมาใหแตใ นทางตรงขา มถา การสนทนา ไมเปน ไปดว ยดี ก็ยอมกอใหเกิดการแตกรา ว ขาดสามัคคี มีแตค วามสับสนวุน วาย การสนทนาระหวา ง บคุ คลทรี่ ูจักคุนเคยมีสิ่งสาํ คญั ท่ตี อ งนกึ ถึงอยู 2 เรอ่ื ง คอื เร่ืองทส่ี นทนาและคณุ สมบัตขิ องผรู ว มสนทนา ก. เรือ่ งทสี่ นทนา เรือ่ งท่ีนาํ มาสนทนา จะทาํ ใหก ารสนทนาดาํ เนินไปดวยดมี ีผลดตี อทัง้ สองฝา ยน้นั ควรมลี ักษณะ ดังนี้ 1. ควรเปนเรื่องทท่ี ้งั สองฝา ยมีความรแู ละความสนใจรว มกันหรอื ตรงกนั 2. ควรเปน ขาวหรือเหตุการณท่ีเกิดข้ึนในชว งเวลาน้ัน ๆ เชน เปน ขา วในหนังสือรายวัน ภาวะเศรษฐกจิ ปญ หาการครองชีพ เหตุการณทางการเมอื งในขณะนน้ั เปนตน 3. ควรเปน เร่อื งทเ่ี หมาะกบั โอกาส กาลเทศะ และเหตกุ ารณ เชน ถา เปน การสนทนางานมงคล ก็ควรพูดแตส ่ิงที่เปน มงคลเปน ส่ิงดีงาม ไมพ ูดในสิ่งท่ีไมเ ปน มงคล หรือเรื่องรายในขณะเดียวกัน ถาเปน งานทเ่ี ศรา โศกกลับไปพูดเรื่องสนุกสนานกไ็ มสมควร
21 4. ควรเปน เรอื่ งทไี่ มสรางความวิตกกงั วล ความเครยี ดใหก ับคูสนทนา ควรเปนเรอื่ งทท่ี ําใหเ กดิ ความพอใจความสบายใจหรอื ความสนกุ สนาน เรอ่ื งท่คี วรงดเวนท่ีจะนาํ มาสนทนา ไดแ ก 1. เรอ่ื งสวนตัวของตนเองและเรื่องท่ีคสู นทนาไมมสี วนเก่ียวขอ งดวย 2. เรอื่ งทเ่ี ปน การนินทาผูอื่น เร่อื งท่ีไมเ ปน สาระแกนสาร 3. คุยโวโออวดความสามารถของตนเอง 4. เร่ืองความทุกขร อนของตน ความโชครายเพ่ือขอความเห็นใจ ยกเวนการสนทนากับ ผูใกลช ิดสนิทสนมกนั จริง ๆ ข. คณุ สมบัตขิ องผรู วมสนทนา 1. มคี วามรอบรใู นเรอื่ งตาง ๆ พอสมควร มกี ารติดตามเหตุการณเ ปลี่ยนแปลงของบานเมือง และโลกอยเู สมอ 2. ใชถ อ ยคาํ สุภาพ ระมัดระวงั ในการใชภาษาใหเหมาะสมเปนกันเอง แสดงการเอาใจใสแ ละ กริ ยิ าทา ทางย้ิมแยมแจม ใส มีการขอโทษ ขออภัยเม่ือพดู ผิดพลาด มกี ารขานรับดวยคํา ครับ คะ ใชครับ ใชค ะ จรงิ ครบั ถกู แลว คะ 3. เปนผูพูดและผูฟ ง ท่ีดี ใหโอกาสคูส นทนาไดพูดขณะที่เขาพูดไมจ บก็ตอ งรอไวกอ น แมจะ เบอ่ื หนายก็ตอ งอดทนเก็บความรสู ึกไว ไมแสดงกริ ยิ าอาการเบ่ือหนายใหเหน็ ใหโ อกาสคูสนทนาไดพ ูดและ แสดงความคดิ เห็นใหม ากทส่ี ดุ 4. รูจกั สังเกตความรูส ึกของคูสนทนา ซึ่งจะแสดงออกทางสีหนาทาทางและนํ้าเสียง คําพูด ถา หากสังเกตเห็นวา คูส นทนาไมสนใจฟง ไมก ระตือรือรน ดูสีหนาแสดงความเบ่ือหนา ยก็ใหเ ปลี่ยน บรรยากาศดว ยการเปล่ยี นเรือ่ งสนทนา หรอื พยายามสงั เกตใหทราบถึงสาเหตุท่ีทาํ ใหคสู นทนาไมส นใจ เกิดการเบ่ือหนา ยแลว จึงแกไขตามสาเหตุน้ัน เชน เห็นวา คูส นทนามีกิจธุระท่ีจะทํา เราก็ปรับเวลาของ การสนทนาใหส นั้ เขา หรือใหพ อเหมาะพอควร 5. พดู ใหกระชับตรงประเด็น ใหร ูวา ส่ิงใดควรพูด สิ่งใดไมค วรพูด ส่ิงใดคูส นทนาพอใจ สิ่งใด คูสนทนาไมพ อใจ ไมพูดขมขู ไมผูกขาดการพูด หากคูส นทนาผิดพลาดไมค วรตําหนิโดยตรง ควรมีวิธีการ และใชค ําพูดทแ่ี ยบยลเพ่ือใหเ ขารสู กึ ไดเอง การสนทนากับบุคคลแรกรูจ ัก บุคคลทเ่ี พ่ิงรจู กั กันทงั้ สองผายยงั ไมรูถึงภูมิหลังนิสัยรสนิยม พ้ืนฐานความรู ความคิดการสนทนา กบั บคุ คลแรกรจู กั ควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. สรางความคุน เคยดวยการบริการหรือแสดงความเอื้อเฟอ ดวยวิธีตาง ๆ 2. สังเกตพฤติกรรมของคูส นทนา เพื่อจะไดท ราบลกั ษณะบางอยางของคสู นทนา 3. เริ่มทักทายดวยถอ ยคําสภุ าพแสดงถึงความเปนมติ ร
22 4. พดู เรือ่ งทว่ั ๆ ไป อาจจะเปนขา วดัง เหตกุ ารณลมฟาอากาศ เมอื่ สงั เกตไดว า ผูสนทนาชอบเรอ่ื ง ประเภทใด ก็จะไดส นทนาเรือ่ งน้นั ตอ ไป หากเห็นวา คสู นทนาไมชอบเรื่องใดกจ็ ะไดเปลี่ยนเรื่อง 5. เม่อื เหน็ วา มีความคนุ เคยมากแลว กส็ ามารถใชหลักของการสนทนากบั บคุ คลที่รจู กั คุน เคยมาใช กับบุคคลดังกลาว กจิ กรรมที่ 2 1. ใหผ เู รยี นแบง กลมุ เพ่ือฝกการสนทนาในวันพบกลมุ โดยใหแ บงกลุม ๆ ละ 5 – 6 คน แยกเปน ผสู นทนา 3 - 4 คน และเปน ผูส ังเกตการณ 2 คน ในขณะกลมุ สนทนา ใหผ สู ังเกตการณบนั ทึกรายละเอยี ด ของการสนทนาของกลุมในหัวขอ ตอ ไปนี้ 1.1 หัวขอเรื่องที่สนทนา มีเรื่องอะไรบาง เรื่องเดียวหรือหลายเร่ือง และใหว ิเคราะหถ ึง ประโยชนข องเร่อื งน้ัน ๆ 1.2 ขณะที่คนหน่ึงพูด คนอ่ืน ๆ ฟงหรือไมห รือมีพฤติกรรมอยางไร ใหแ ตล ะกลุม แสดง ความคิดเหน็ เชงิ วจิ ารณผพู ดู และผฟู ง เชน บคุ คลใดในกลมุ ท่พี ดู มากทีส่ ดุ และบคุ คลใดพดู นอ ยทสี่ ุด พดู ตรง ประเด็นหรอื ไม การใชภ าษา อารมณของคสู นทนาหรอื ผฟู ง พฤติกรรมหรือคาํ พดู ใดที่ไมเ หมาะสม 2. เม่ือเสร็จสนิ้ การสนทนาแลวใหผ ูส ังเกตการณเ สนอขอมูลรายละเอียดตอกลุม แลวใหชว ยกัน เขยี นบทสนทนาตามรายละเอียดทีก่ ลมุ ไดส นทนาไปแลว พรอ มขอสังเกตผูอ ื่นใหครูประจํากลุม ตรวจและ ใหคาํ แนะนํา การสมั ภาษณ การสัมภาษณม ีอยูห ลายลักษณะหลายระดับแตใ นระดับนี้จะขอกลาวเฉพาะสว นที่จําเปน ซ่งึ ผเู รยี นจะตอ งนาํ ไปใชเทานัน้ ก. ผสู ัมภาษณ ควรมกี ารเตรียมตวั และปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ตอ งมีการติดตอประสานงาน นัดหมายกับผูใหส ัมภาษณไวลวงหนา พรอมท้ังกําหนด วนั เวลาทจี่ ะสัมภาษณแ ละบอกจุดประสงคของการสมั ภาษณ เพื่อผทู ่ีใหสัมภาษณจ ะไดเ ตรยี มตัวไดถ ูกตอ ง 2. เม่ือประสานงานแลว ผูส ัมภาษณ ควรเตรียมตัวตั้งแนวคําถามที่จะไปสัมภาษณไวเ ปน ประเดน็ ๆ ตามวัตถปุ ระสงคทว่ี างไว 3. ศึกษาเรือ่ งท่ีจะสมั ภาษณใหเ ขา ใจ 4. เมือ่ ไปพบผใู หส ัมภาษณตอ งตัง้ คําถามใหช ดั เจน เขาใจงาย ใชภาษาสภุ าพ 5. ควรเตรียมการบนั ทึกภาพ เสยี ง และขอความ เตรียมอุปกรณเครื่องมือใหเรียบรอยกอ น เพอื่ ใหก ารบันทกึ สมบูรณไ มผ ดิ พลาด 6. รักษาเวลานัดหมาย เวลาขณะสัมภาษณใ หเปน ไปตามที่กําหนดนัดหมายไว อยา ไดถ าม นอกประเดน็ และอยายดื เย้อื โดยไมจาํ เปน
23 ข. ผูใหสัมภาษณ ผูใ หสัมภาษณมักจะเปน บุคคลสําคัญ ผูประสบความสําเร็จในชีวิต ในอาชีพ ผูม ีความรู ฯลฯ สวนผเู รยี นเองกม็ ีโอกาสเปนผูใ หส ัมภาษณไ ดเ หมือนกัน เชน เม่ือไปสมัครงาน สมคั รเขาเรยี นตอ หรือแสดง ความคิดเห็นตอสอ่ื มวลชนในเร่ืองตาง ๆ เหลาน้ี เปนตน วิธีปฏิบัติตน เมื่อเปน ผูใหสัมภาษณ ควรกระทํา ดังนี้ 1. สรา งบุคลิกภาพใหดี ดว ยการแตงกายใหสะอาดเรียบรอยประณีต สว นตา ง ๆ ของรา งกาย ตองสะอาดเรียบรอยเหมาะสม 2. รกั ษาเวลานดั หมาย แมจะเปน ฝายคอยกต็ อ งใหพรอ มตามเวลาท่นี ดั หมาย 3. สรา งความม่ันใจดวยการเตรียมใหพ รอมไมใ หประหมา ต่ืนเตน เคอะเขิน ขมใจไมใหก ังวล สิ่งใด ๆ 4. พูดใหชัดเจน เสยี งหนกั เบาและนํา้ เสยี งใหพ อดีเหมาะสม ใชภ าษาใหเ หมาะสมกบั กาลเทศะ หลกี เลี่ยงการใชภาษาปากหรือคาํ แสลง ไมพ ดู ยกตนขม ทานไมพ ดู โออวด 5. ต้งั ใจตอบคําถามและตอบใหตรงประเด็น การขยายความพูดใหกระชับ ไมเ ย่ินเยอ มีปฏิภาณ ไหวพริบ แสดงความคิดเห็นอยา งมีเหตุผล หากส่ิงใดที่ตอบไมไ ดก ็ใหอ อกตัว อยา งนุม นวล เชน บอกวา ไมค อยสันทดั หรือไมสูจ ะมคี วามรใู นเร่ืองนี้ เปนตน 6. ตอบคาํ ถามอยา งสุภาพแสดงไมตรจี ิตและความเต็มใจที่จะใหส มั ภาษณ กิจกรรมท่ี 3 ใหผเู รียนฝกการสัมภาษณด วยการแบง กลมุ ออกเปนกลมุ ยอ ยกลมุ ละไมเ กิน 5 คน แลวสมมุติ เปนผสู ัมภาษณและเปน ผูใ หสมั ภาษณ ฝา ยละกคี่ นแลว แตค วามเหมาะสม โดยมขี อกาํ หนดและแนวทางฝก ดงั นี้ 1. รวมกาํ หนดเร่ืองท่จี ะสัมภาษณแ ละตั้งจุดประสงคของการสมั ภาษณ 2. แตละฝา ยเตรยี มการสมั ภาษณ ศึกษาเร่ือง ตง้ั คาํ ถาม หาแนวตอบ ฯลฯ 3. ปฏบิ ัตกิ ารสัมภาษณ 4. บันทกึ บทสมั ภาษณ 5. ใหครู กศน. และเพ่ือนผเู รียนประเมินและใหคําแนะนํา การใชและการพดู โทรศพั ท การส่ือสารดวยการพูดทางโทรศัพทในปจ จุบันมีแพรห ลายโดยท่ัวไป มีทั้งโทรศัพทสาธารณะ ในระดับตําบล หมูบ าน โทรศัพทส วนตัวก็ขยายไปท่ัวเกือบทุกชุมชน การเรียนรูวิธีการใชและการพูด โทรศพั ทจ งึ เปนส่ิงจําเปน สําหรบั ผเู รยี น เพราะจะไดใชใหเ กิดประโยชนส งู สุดและประหยัดคา ใชจ าย
24 วธิ ีการใชโ ทรศัพทแ ละพูดโทรศพั ท มขี อควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. ตองศึกษาใหร ูแ ละเขา ใจการคน หารายช่ือและหมายเลขโทรศัพทจ ากสมุดโทรศัพทแ ละมี สมุดโทรศัพทหรือเครื่องบันทึกหมายเลขโทรศัพทสวนตัว การบันทึกหมายเลขโทรศัพทมือถือของผูท่ีจะ ตอ งตดิ ตอ เปนประจํา 2. เม่อื โทรไปแลวมีผรู บั ใหผ รู ับ บอกช่อื และสถานท่ีรับโทรศพั ททนั ที เชน “สวสั ดีคะ บา นอยูเ ปน สุขคะ” “สวัสดคี รับ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเมอื งสงขลาครบั ” “สวัสดคี ะ 2816286 คะ” 3. ถาผโู ทรศพั ทเขามาตอ งการพดู กบั คนอนื่ และบุคคลนนั้ อยกู อ็ าจตอบกลับไปวา “กรุณารอสกั ครนู ะคะ (นะครับ)” แลวรีบไปตามบคุ คลน้นั ทันที ถาผทู ่ีเขาตองการพดู ดว ยไมอ ยหู รือไมวางจะดว ยกรณีใด ๆ ก็ตาม ควรชี้แจง ใหทราบอยา งสภุ าพ เชน “คุณสมโภช ไมอ ยคู รับกรณุ าโทรมาใหมน ะครบั ” หรอื “คุณเอื้อจติ กําลังตดิ ประชมุ คะ จะมีอะไรสงั่ หรอื ฝากไวหรอื เปลา คะ ฯลฯ” 4. ถาเกิดขอ ผิดพลาดหรอื มีปญหาในขณะใชโทรศัพทค วรกลา วคาํ ขอโทษและรบี ช้แี จงขอขัดของ ใหทราบ “ขอโทษครบั คณุ ตอผิดครบั ” หรือ “ไมเ ปนไรครับ” 5. การพูดโทรศัพททุกคร้ัง ตองพูดอยา งสุภาพใชน ํ้าเสียงใหพ อดีส้ันกระชับไดใ จความและ ตรงประเด็น อยาพดู เรว็ หรอื ใชเสียงดังเกินไป ไมพูดเร่ืองไรสาระยืดยาวเพราะจะเสียคา บริการมาก และ เสยี มารยาททําใหผอู ืน่ ท่ีจะใชโ ทรศพั ทเคร่ืองนัน้ ตอ งคอย 6. การรับโทรศัพทแทนคนอ่ืน และผูโทรศัพทต ิดตอ ฝากขอ ความไวต องจดบันทึกขอความให ครบถวน และอาจขอรายละเอียดเพ่ิมเติมใหช ัดเจน เม่ือจดบันทึกแลว ควรอา นทานใหผูท ่ีติดตอมาฟง เพอ่ื ตรวจสอบความถูกตองวา ครบถว นตามความประสงคห รือไม หากไมครบถว นจะไดเพิ่มเติมและตอง ลงชือ่ ผบู นั ทกึ พรอ ม วนั เวลาท่ีรับโทรศัพท การพดู ตอ ชุมชน 1. เปน วิธที ่ีสะดวกรวดเร็วทจ่ี ะเผยแพรความคดิ เหน็ ของบุคคลตอ สาธารณชนไดอยางกวา งขวาง ความคดิ เห็นนอ้ี าจเปนไดท ้ังในทางสนบั สนุน และคดั คาน 2. เปนวิธกี ารหนึ่งในการถา ยทอดวัฒนธรรมการปลูกฝง คณุ ธรรม การเผยแพรความรู และวิทยาการ ใหม ๆ สปู ระชาชน เชน เรอ่ื งเกีย่ วกบั วฒั นธรรมพนื้ บา น ปาฐกถาธรรม การเผยแพรค วามรูทางการเกษตร การอตุ สาหกรรม เปนตน
25 3. เปน วถิ ีทางท่ที าํ ใหม นุษยส ามารถชีแ้ นะการแกป ญ หาสงิ่ แวดลอม ปญ หาการจราจร ปญ หาทาง ดานเศรษฐกจิ เปนตน นอกจากการพูดตอชุมชนโดยการประชุมรวมกัน หรือการพูดในที่สาธารณะ เชน การหาเสียง การพูดโฆษณาสินคาตาง ๆ แลว ยังมีการพูดอีกวิธีหน่ึง ซ่ึงเปน การพูดผานสื่อมวลชน โดยผา นทาง โทรทศั นหรอื วทิ ยุ ผูเรียนเคยเหน็ เคยฟงวิธีการพูดเชนนี้มาบา งแลว อาทิ การพูดสัมภาษณ การเปน พิธีกร การสนทนา การโฆษณา การเลาเรือ่ ง เปน ตน การพูดโดยผา นสอ่ื มวลชน จะมผี ูฟงหรอื ผชู มทั่วประเทศ ผูดาํ เนินรายการจะตอ งคํานึงถึงวิธีการพูด ดังน้ี 1. วธิ กี ารพูดท่ีนาสนใจ เรา ใจ สนกุ สนาน 2. ภาษาท่ีใชตอ งสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล กระชบั เขา ใจงา ย 3. ใหเกียรตแิ กผูท่กี าํ ลังพดู ดวยหรอื ผูท่กี ลาวถึง 4. ไมพูดกา วราว หรอื เสียดสผี อู ื่น ผูเรียนเคยไดร ับเชิญใหพ ดู ตอ ชมุ ชนไหม? ถาเคย ทบทวนซิวาเคยพูดโดยวิธีใด ขอใหอ า นตอ ไป แลว จะรูวา ที่พูดนั้นอยูในวิธีใดของประเภท การพูด ประเภทของการพูดตอ ชมุ ชนอาจแบง ไดหลายวิธี ดังน้ี 1. แบงตามวิธีการนําเสนอ มี 4 ประเภท คอื ก. การพูดโดยฉับพลัน คือ การพูดท่ีผูพ ูดไมร ูต ัวลวงหนามากอ น เชน การไดร ับเชิญใหพูด อวยพรในงานวนั เกิด งานมงคลสมรส เปน ตน ข. การพดู โดยอาศยั ตนราง คอื การพดู ที่ผูพ ูดรตู วั ลว งหนา มีเวลาเตรยี มรา งขอ ความที่จะพูด และวสั ดุอุปกรณไวกอ น การพดู ดว ยวธิ นี ้ีผูพูดจะมีความม่ันใจในการพดู มากกวา การพดู โดยฉบั พลัน ค. การพดู โดยวิธีการทอ งจาํ คอื การพูดที่ผพู ดู ตอ งเตรยี มเขียนตนฉบบั ทจ่ี ะพูดอยางละเอยี ด แลวทอ งจําเน้ือหาท้ังหมดจนขึ้นใจ การพูดวิธีน้ีไมใครเปน ธรรมชาติ เพราะถาผูพูดลืมตอนใดตอนหน่ึง ก็จะทําใหเสียเวลาคดิ ง. การพดู โดยวิธีอานจากราง คือ การพูดโดยอานจากตนฉบับท่ีเตรียมไวอ ยา งดี สว นมาก มักจะใชใ นโอกาสสําคญั เชน การกลาวปราศรัย การกลา วเปดประชมุ การกลาวใหโ อวาท 2. แบงตามความมุงหมาย มี 4 ประเภท คือ ก. การพดู เพ่อื ใหค วามรูหรือขอเท็จจรงิ เปนการพูดเพอื่ ใหขอมูลหรอื เพ่อื แจง เรอ่ื งราวตา ง ๆ ท่เี ปนประโยชน หรอื มคี วามสําคัญสาํ หรับผูฟ ง การพูดประเภทนี้ผูพ ูดอาจจะใชว ิธีพูดหลายรูปแบบ เชน อาจจะใชวธิ ีเลา พรรณนาวิจารณ อธบิ าย ข. การพูดเพื่อโนมนา วใจ เปน การพูดเพ่ือใหผูฟงเกิดความเช่ือถือ ศรัทธา มีความคิดเห็น คลอยตาม เชน การโฆษณาสนิ คา การพดู หาเสยี ง
26 ค. การพูดเพอื่ จรรโลง เปน การพดู เพือ่ ยกระดับจติ ใจใหส ูงข้ึน และเพื่อใหเกดิ ความสนุกสนาน เพลดิ เพลิน คลายเครยี ด เชน การกลาวคาํ สดดุ ี การเลานทิ าน การเลาประสบการณ ง. การพดู เพอ่ื คนหาคําตอบ เปนการพูดทมี่ ุงหมายใหผูฟง ชว ยคิดแกปญหา เชน การสัมมนา รายการคณุ บอกมา 3. แบง ตามเนอื้ หาทจ่ี ะพูด เชน เนือ้ หาเกีย่ วกบั เศรษฐกจิ การเมือง วิทยาศาสตร 4. แบง ตามโอกาสที่จะพูด อาจแบง กวา ง ๆ ได 3 โอกาส คอื ก. โอกาสท่ีเปนทางการ เชน การกลา วปราศรยั การใหโ อวาท ข. โอกาสก่งึ ทางการ เชน การบรรยายสรุปเมื่อมผี เู ยี่ยมชมสถานที่ ค. โอกาสที่ไมเปนทางการ เชน การสังสรรคกับเพื่อนเกา การเลา เรื่องตลกใหที่ประชุม การพบปะสงั สรรคกบั เพอ่ื นรวมงานเนือ่ งในวนั ข้นึ ปใ หม เปนตน 5. แบงตามรปู แบบ มดี ังนี้ ก. การสนทนาตอหนา ชุมชน คือ รูปแบบที่มีผูพูดสองคนหรือมากกวา นั้นสนทนา ซึ่งกันและกัน เชน รายการสนทนาปญ หาบา นเมอื ง ข. การปาฐกถา ผูป าฐกถาเปนผูเช่ียวชาญเฉพาะดาน ไดศกึ ษาคนความาอยางละเอยี ด ค. การอภิปรายเปนคณะ คือ การพูดของคณะบุคคลประมาณ 3 - 5 คน พูดแสดงความรู และแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นตอหนา ผฟู งเปน จํานวนมาก ง. การซกั ถามหนาทปี่ ระชุม คอื การพูดหนาประชุมโดยแบง ผูพูดออกเปน 2 กลุม กลุม หนึ่ง เปนตัวแทนของผูฟ ง จํานวน 2 - 4 คน มหี นาท่ซี กั ถาม อกี กลุมหนึ่งเปน วิทยากร ประมาณ 2 - 4 คน เปนผูตอบคําถาม จ. การโตว าที เปน การพูดโตแยงระหวา งบุคคล 2 ฝาย ฝายหน่ึงเปน ฝา ยเสนอญัตติ อีกฝายหน่งึ เปนฝา ยคา น มีกรรมการตัดสินชขี้ าดใหฝ ายหนง่ึ ฝา ยใดเปนฝา ยชนะหรือเสมอ การเตรียมการพูดตอหนา ชุมชน การพูดตอ หนาชุมชนนั้น ผูฟง สว นมากก็ต้ังความหวังไววาจะไดร ับความรูหรือประโยชนจาก การฟง ผูพูดจึงตองเตรียมตัวเปนอยา งดี เพราะการเตรียมตัวจะชวยใหผูพูดมีความม่ันใจกลาที่จะแสดง ความคิด ความเหน็ การพูดดวยความมั่นใจยอ มจะทําใหผูฟง เกิดความเชอ่ื ถือ ประทบั ใจในการพูด ผูพดู แตล ะคนอาจใชว ธิ กี ารเตรยี มตัวไดต า ง ๆ กนั ดังนี้ 1. การกําหนดจุดมุง หมายของการพูด ผูพ ูดควรกําหนดใหช ัดเจนทั้งจุดมุงหมายท่ัวไป และจดุ มงุ หมายเฉพาะเรอ่ื ง เชน การใหเ ลาประสบการณเ ก่ียวกบั การทํางาน จดุ มุง หมายทวั่ ไป คือ ใหความรู จุดมุงหมายเฉพาะ คือ วิธกี ารทํางานและอุปสรรคตาง ๆ ทีไ่ ดพ บ 2. การวิเคราะหผ ูฟ ง กอนที่จะพูดทุกครั้ง ผูพูดควรจะไดพ ิจารณาผูฟงอยางละเอียดวา ผูฟ ง สว นใหญสนใจหรือชอบเกี่ยวกับเรื่องใด โดยผูพูดควรเตรียมขอมูลและการใชภาษาใหเหมาะกับเพศวัย สถานภาพทางสังคม (โสดหรอื มีคูส มรสแลว) อาชีพพืน้ ความรู ความสนใจตลอดจนทศั นคตขิ องกลมุ ผูฟง
27 3. การกําหนดขอบเขตของเร่ืองท่ีจะพูด ผูพ ูดตอ งมีเวลาเตรียมตัวในการพูด ผูพูดจึงควร พิจารณาเรื่องที่จะพูดวา ตนเองมีความรูในเรื่องนั้น ๆ เพียงใด หากไมม ีความรูเพียงพอก็ควรหาความรู เพิม่ เตมิ และกําหนดขอบเขตของเรอ่ื งใหเ หมาะกบั ผฟู ง เชน เปน เด็กเล็ก เปนวยั รนุ หรือเปนผใู หญ เปน ตน 4. การรวบรวมเน้อื หาที่จะพูด การพูดใหผูอ ่ืนฟง ผูพูดตอ งเตรียมรวบรวมเนื้อหาใหด ื เพื่อผูฟ ง จะไดรบั ประโยชนม ากทส่ี ดุ การรวบรวมเนื้อหาอาจทาํ ไดโดยการศึกษา คน ควา การไตถ ามผูรกู ารสัมภาษณ และอาจใชอปุ กรณชว ย เพ่ือใหผ ฟู งเขา ใจไดงา ยขึน้ 5. การทําเคา โครงลําดับเรื่องที่จะพูด เพื่อใหก ารพูดเปนไปตามลําดับข้ันตอนไมสับสน ผูพูด ควรทําโครงเร่อื ง ลําดบั หัวขอใหด ี เพื่อกันการหลงลมื และชว ยใหเ กิดความมัน่ ใจในการพูด 6. การฝกซอมการพูด ผูพดู ควรหาเวลาฝก ซอ มการพูดของตนเสียกอน เม่ือถึงเวลาพูดจะไดพูด ดว ยความม่ันใจ ในการฝกซอ มนั้นควรคํานึงถึงบุคลิกลักษณะ ทายืนหรือน่ังกิริยาอาการ การใชเสียง การใชสายตา ถา มีผฟู ง อาจจะชวยติชมการพดู ในขณะฝก ซอมได กจิ กรรมที่ 4 1. ใหผ เู รยี นฟง การสนทนาทางโทรทัศน รายการที่สนใจและเปนรายการเดียวกัน เชน รายการ สนทนาปญหาบานเมือง รายการตรงประเด็น ฯลฯ เม่ือฟง แลวใหผ เู รยี นบันทึกการพูดของผูดําเนนิ รายการ และผรู วมสนทนา วา มวี ิธีการพดู อยา งไร ภาษาที่ใชเ หมาะสมหรือไม มีการพูดกา วราวหรือเสียดสีผูอื่นบา ง หรือไม ฯลฯ แลวนํามาสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในวันพบกลุม หรือตัดตอขอ ความจาก สื่อสงิ่ พมิ พม าอา นและใหว จิ ารณข อความนั้น ๆ ก็ได 2. ใหผ เู รียนสงั เกตการพูดใหขาวของบุคคลสําคัญและนักการเมืองแตล ะคนทางสถานีวิทยุและ โทรทัศน แลว พิจารณาวาการใหขาว หรือการแสดงความคดิ เหน็ นน้ั ควรเชื่อหรือไม เพียงใด เพราะเหตุใด แลวนาํ มาสนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กัน เม่ือมีโอกาสพบปะกันหรือในวันพบกลุม ผูเ รียน อาจจะฟง การพูดแสดงทรรศนะของนกั การเมืองจากเทปบันทกึ เสียงแลว นาํ มาสนทนากนั ก็ได 3. สมมตเิ หตุการณใ หผ เู รียนออกมาสนทนากันทางโทรศัพท ใหเ พ่อื น ๆ วจิ ารณ การพูดแสดงความคดิ เหน็ การพูดแสดงความคิดเห็นเปน ลักษณะการพูดที่จะใชในการปรึกษาหารือกันในกลุม ยอย เพือ่ หาแนวทางในการแกป ญ หา เชน ปญ หาการเรียน ปญ หาในการดําเนนิ ชวี ติ ปญหาของชมุ ชนพ้นื ฐาน การแสดงความคิดเห็นเปน การใชทักษะการฟง การอาน การพูดและการคิดใหส ัมพันธกัน ตองอาศัยการฝก ฝนใหเกิดความชํานาญ เพราะการพูดแสดงความคิดเห็นตองใชท้ังความรู ความคิด เหตุผลหรือหลักการ ทฤษฎีตาง ๆ หลายอยางประกอบกัน ความคิดน้ันจะถูกตองเหมาะสม มีคุณคา นาเชอ่ื ถือ การพูดแสดงความคดิ เห็นจงึ ตอ งใชค วามรอบคอบใหเหตุผล มีใจเปนกลาง บริสุทธิ์ใจ ไมมีอคติ มกี ารฝกฝนจนเกิดความชาํ นาญรบั ผิดชอบในสิง่ ท่พี ูด น่ีเปนหลักของการพูดแสดงความคิดเหน็
28 การพูดในท่ปี ระชมุ ผูเ รียนทราบมาแลววาการประชุมมีหลายประเภทหลายลักษณะทั้งการประชุมกลุม ยอย การประชมุ กลุมใหญ การประชุมเชงิ วชิ าการ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ ฯลฯ แตบุคคลท่ีมีบทบาททจ่ี ะตอ ง พูดในทปี่ ระชมุ ท่สี ําคัญนน้ั มเี พยี ง 2 ฝาย คือ ประธานในทป่ี ระชุมและผูเขารวมประชุม บุคคลท้ัง 2 ฝา ยน้ี จะตองรจู กั หนาท่แี ละมารยาทของการพูดในท่ปี ระชุม มฉิ ะนน้ั การประชมุ ก็จะไมเ รียบรอยและไมบ รรลุผล ตามวัตถุประสงค ประธานในท่ปี ระชมุ จะตองปฏิบตั ิตามหนา ท่ีและมารยาทในการพูด ดงั นี้ 1. แจงใหทราบถึงวัตถุประสงค ปญ หาหรือประเด็นที่นาคิดของการประชุมใหส มาชิกไดทราบ และพจิ ารณากอนดาํ เนนิ การประชมุ 2. พดู ตามหวั ขอ หรือวาระการประชุมอยา งสั้น ๆ ไดเนื้อหาสาระและอยา ถือโอกาสของการเปน ประธานผูกขาดการพูดแตเ พียงผูเ ดยี ว 3. ใหโ อกาสแกผ ูเขา รว มประชุมแสดงความคิดเห็นไดอยางเสรี กวางขวางเปน อิสระและทั่วถึง ประธานคอยสรปุ ความคิดเหน็ ขอ เสนอตาง ๆ ใหก ระชบั ตรงประเดน็ และเปนคนสดุ ทาย 4. ใชค าํ พูดสรา งบรรยากาศท่ีดี มคี วามเปน กนั เอง เพอ่ื ใหผูเขารว มประชุมกลาแสดงความคิดเห็น และเพ่อื ใหก ารประชุมเปนไปดว ยความราบรืน่ 5. ควบคุมการประชุมใหเปนไปตามระเบียบวาระและรักษาเวลาในการประชุมใหเ ปน ไปตาม กําหนด หากผเู ขา รว มประชุมพูดแสดงความคิดเห็นมากจนเกินเวลาหรือพูดไมตรงประเด็น ประธานตอง เตือนใหพ ดู รวบรัดและพูดใหต รงประเด็น ผูเขา รว มประชุม จะตองปฏิบัตติ ามหนา ทแี่ ละมารยาทในการพดู ดงั นี้ 1. พูดแสดงความคิดเห็นหรืออภิปรายอยา งมีเหตุผล ยอมรับฟง ความคิดเห็นของบุคคลอื่น พดู ดว ยใจเปนกลางไมใ ชอ ารมณห รือนาํ ความขัดแยง สวนตวั กบั ผูเขารว มประชมุ มาเก่ยี วขอ งกบั การพูดและ แสดงความคดิ เหน็ ในท่ปี ระชมุ 2. เขาประชมุ ใหตรงเวลาและรกั ษาเวลาในการพดู ตามท่ีประธานกาํ หนดให 3. พดู ใหไดใ จความ กระชับ และกํากับความคิดใหเ ปนไปตามข้นั ตอนมีการโยงความคิด เห็นดวย หรือขัดแยงใหส มั พันธตอ เน่อื งและสอดคลอง ไมควรพดู วกวนจนจับประเดน็ ไมไ ด 4. ไมควรผูกขาดการพูดแตผ ูเ ดียว หรือแสดงความคิดเห็นของตนเองเพ่ือแสดงความรอบรู เมอ่ื เหน็ วาประเด็นใดทมี่ ีแนวทางทด่ี ีและถกู ตองแลว ก็ควรงดเวนการแสดงความคิดเห็น มิฉะน้ันจะทําให ผเู ขารว มประชุมเกิดความเบือ่ หนา ย 5. ควรรักษามารยาทในการพูดในท่ีประชุม อยางเชน ใชภาษาสุภาพ ไมพูดกา วรา ว มีการขอ อนญุ าตตอ ประธานเม่ือตอ งการพดู ไมแสดงกิรยิ าทไี่ มสุภาพในทีป่ ระชมุ เปนตน
29 กจิ กรรมท่ี 5 ใหผูเรยี นแสดงบทบาทสมมตพิ ดู แสดงความคดิ เหน็ ในทปี่ ระชมุ ตามหวั ขอทค่ี รูกําหนด และบางคน แสดงบทบาทของผเู ขา รว มประชมุ สรุปทายมกี ารอภิปรายรวมกันถงึ ขอดี ขอ ดอ ยตามที่แสดงออก การพูดรายงาน การพูดรายงาน หมายถึง การพูดเพื่อนําเสนอเรื่องราว ขอ มูลขอเท็จจริง ผลการปฏิบัติงาน สถานการณ ความกาวหนา ของการดําเนินงานหรือผลของการศึกษาคน ควาตอ กลุม หรือที่ประชุม เชน การรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามโครงการของหนว ยงานหรอื งคกรที่รับผิดชอบ รายงานสถานการณแ ละ ความกา วหนา ของหนวยงาน รายงานผลการทดลองหรือศึกษาคนควา ของผูเรียน เปน ตน การพูดรายงาน ท่ผี เู รยี นจาํ เปน ตอ งใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน คอื การพดู รายงานผลการทดลองและการศึกษาคน ควา เพื่อเสนอ ตอ ครแู ละเพื่อนในกลมุ ซง่ึ มักจะเรยี กวาการรายงานหนาชน้ั ดังนัน้ ผูเรยี นจะตอ งทราบถึงหลักและวิธีการ พูดรายงานพรอ มทัง้ หมั่นฝก ฝนใหเกดิ ทกั ษะ ซง่ึ มีแนวปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. เรียบเรยี งเน้ือหาทีจ่ ะรายงานตามลาํ ดับความสาํ คญั ไดส าระกระชบั และชดั เจน 2. พิจารณาเน้อื หาใหเ หมาะสมกบั สภาพและพ้ืนฐานความรขู องกลุมผฟู ง 3. พิจารณาเนื้อหาท่ีรายงานใหเหมาะสมกบั เวลาทก่ี ําหนด 4. ควรใชภ าษาในการเสนอเนอื้ หาใหเ หมาะสมกับระดับของผฟู ง ใชภ าษาท่สี ือ่ สารเขาใจงา ย ไมใช ศัพทเทคนคิ หรอื ศัพทท างวชิ าการทย่ี ากจะทาํ ใหผ ฟู งไมเ ขา ใจ 5. มกี ารยกตัวอยางสถิติ เอกสารและอุปกรณป ระกอบการรายงานในเนอ้ื หาบางตอน เพื่อใหผ ูฟ ง เขา ใจงายและชัดเจน 6. ควรเปดโอกาสใหผฟู ง ไดซ กั ถามขอสงสยั เพื่อผรู ายงานจะไดอ ธิบาย 7. หากการรายงานมีเน้ือหาสาระมากเกินเวลาที่มีอยู ควรมีการพิมพเ อกสารแจกลว งหนา เพอื่ ผรู ายงานจะไดช้แี จงเฉพาะสว นท่ีสาํ คญั เทา นัน้ สวนรายละเอยี ดจะดูไดจ ากเอกสาร การพดู บรรยายความรูส ึก การพดู บรรยายความรูสึก เปน ลักษณะการถา ยทอดความรู อารมณความรูส ึกหรือความคิดเห็น ในเร่ืองใดเรือ่ งหนึ่ง โดยผูพ ูดมีจุดประสงคเพื่อโนมนา วใจใหผ ูฟ ง คลอ ยตามหรือเชื่อในเรื่องนั้น ๆ การพูด บรรยายความรสู ึกนึกคิดออกมาใหผ ูฟงเชื่อและเห็นคลอ ยตามนั้น จาํ เปนตองใชศิลปะในการพูด ศลิ ปะ ในการใชน ้าํ เสียงและการแสดงกิรยิ าทา ทางประกอบไดอยางเหมาะสม ตลอดจนการเลือกใชถอยคําในการ พูดและการใชกลวิธีในการบรรยายความรูส ึก เชน การพูดแสดงความยินดี การพูดแสดงความขอบคุณ การกลาวแสดงความเสยี ใจ การเลาเหตกุ ารณท ่ีต่ืนเตน เราใจและการพูดปลอบใจ เปนตน การพูดชแ้ี จงรายละเอยี ด การพูดช้ีแจงรายละเอียดเปน การพูดอธิบายวิธีหน่ึงท่ีมีจุดประสงคสําคัญ เพื่ออธิบายหรือช้ีแจง เรือ่ งราวตาง ๆ ท่ีมผี ูติดใจสงสยั ใหเขา ใจในรายละเอียดอยางแจม แจงชดั เจนทง้ั ผูช ี้แจงอาจเปนคน ๆ เดียว
30 หรอื เปน คณะก็ได และผูฟ งอาจจะเปน คน ๆ เดยี วหรือกลุมคนก็ได การพดู ชีแ้ จงรายละเอียดมขี ้นั ตอนและ วิธกี าร ดังนี้ 1. ตองศึกษาทําความเขาใจปญหา ขอ สงสัย เหตกุ ารณความตอ งการและสถานการณของบุคคล กลุมบุคคลที่จะชี้แจงเปน อยา งดี 2. พดู เทาความถงึ ปญหา ขอ สงสัย ความตองการของผูฟ ง คาํ ชแี้ จง เพ่ือเปนหลักฐานท่จี ะนําเขาสู การช้แี จงรายละเอยี ด 3. เร่ิมช้ีแจงรายละเอียดหรือเน้ือเร่ืองท่ีเปนเหตุผลสําคัญเปนขอเท็จจริงหรือเปนวิธีปฏิบัติ ทถี่ กู ตอ งเหมาะสม โดยใชภาษาใหเหมาะสมกบั กาลเทศะ บุคคลและสถานการณในขณะน้ันอธิบายใหผูฟ ง เขาใจในรายละเอยี ดใหแ จม แจง ชดั เจน 4. มีการสรุปในสาระสําคญั แนวปฏบิ ตั หิ รือขอตกลงใหช ดั เจนยิง่ ขึ้น กิจกรรมท่ี 6 ใหผูเ รียนฝก การพูดบรรยายความรสู ึกตอเพื่อนหรือบุคคลทีเ่ กย่ี วขอ งในโอกาสอนั ควร ซึ่งอาจจะ เปนการพูดแสดงความยนิ ดี แสดงความเสียใจหรือการพูดเพ่ือปลอบใจโดยปฏิบัติตามหลักและวิธีการพูด บรรยายความรูสึกใหครบถว นแลว ใหประเมินการพูดของตนเองดวย การอภิปราย ความหมายและความสาํ คัญของการอภิปราย การอภิปราย หมายถึง การท่ีบุคคลคณะหน่ึงจํานวนตั้งแต 2 คนขึ้นไปรว มกันพูดแสดงความรู ความคิดเห็น และประสบการณ เพ่ือใหเกิดความรู ความคิดใหม และกวางขวางเพ่ิมขึ้นหรือชว ยกันหา แนวทางและวิธกี ารในการแกปญหารวมกนั การอภิปราย มีความสําคัญตอสังคมไทยเปนอยางยิ่ง เพราะเปนสังคมประชาธิปไตย ซ่ึงใหสิทธิ เสรีภาพแกคนในสังคมไดใชค วามรู ความสามารถรวมกันในการวางแนวทางในการดําเนินชีวิต แนวทาง ในการแกปญหาในชุมชน สงั คมและประเทศ ปจจุบันไดนําเอาวิธีการอภิปรายมาใชอยา งกวางขวาง ท้ังในดานการศึกษาเลา เรียนการพัฒนา ชุมชน การอนรุ ักษและเผยแพรวัฒนธรรม การบรหิ ารธุรกิจ การประกอบอาชีพ การปกครองทองถิ่นและ ประเทศ ฯลฯ องคประกอบของการอภปิ ราย มดี ังน้ี 1. หวั ขอเรอ่ื งหรือปญหาที่จะอภปิ ราย 2. ผฟู ง 3. คณะหรือหนวยงานทจี่ ัดการอภิปราย 4. คณะผูอ ภปิ ราย
31 1. หวั ขอเร่อื งหรือปญหาท่จี ะอภิปราย ในการอภิปรายแตล ะครง้ั จะตอ งมหี วั ขอ เรอื่ งท่ีจะอภปิ ราย เพอื่ ใหค ณะอภปิ รายไดแ สดงความรู ความคิด และประสบการณในเร่ืองน้ัน ใหผูฟงเขา ใจใหค วามรูใหมแ ละไดค วามรูค วามคิดที่กวางขวางขึ้น หรอื ไม ก็ตองมีประเด็นปญหาทน่ี า สนใจท่คี ณะผอู ภปิ รายจะไดแสดงความรูความคิดและประสบการณท่ีจะ ใชเ ปนแนวทางในการแกปญหานั้น ๆ รว มกัน หัวขอ เรื่องหรือประเด็นปญ หาที่จะนํามาอภิปรายจะตอ งมี คุณคา และมีประโยชนตอกลุมผูฟ ง ซ่ึงการเลือกหัวขอเรื่องและประเด็นปญหาในการอภิปรายมีหลัก ในการเลอื ก ดงั นี้ 1. เปนเร่ืองและปญ หาทส่ี าํ คัญ มีสาระท่เี ปน ประโยชนตอทุกฝา ย 2. เปน เรื่องและปญ หาทอ่ี ยใู นความสนใจของผูฟงและผูอ ภปิ ราย 3. เปน เรื่องและปญ หาท่ีผูอ ภิปรายสามารถที่จะคนควา หาความรูและขอ มูลตาง ๆ มาเสนอ เพ่อื หาแนวทางในการแกป ญ หาได 2. ผูฟง ในการอภปิ รายบางประเภท ผฟู งกบั ผูพูดอาจจะเปนคนกลมุ เดยี วกนั เชน การอภิปรายกลุม ยอ ย การอภปิ รายในการประชมุ สมั มนาเปน ตนและในการอภิปรายบางประเภทผฟู งกบั ผพู ูดหรอื คณะผอู ภปิ ราย แยกกลมุ กัน ผฟู ง ลกั ษณะนีจ้ ะตอ งปฏิบัตติ นเปน ผูฟง ทดี่ ี ซ่ึงจะมีลกั ษณะ ดังนี้ 1. มีมารยาทในการฟง เชน ใหเกียรติผูอ ภิปรายดวยการปรบมือ ตั้งใจฟง ไมก ระทําการใด ๆ ทจ่ี ะเปนการรบกวนบคุ คลอน่ื ฯลฯ 2. ฟงอยางมวี ิจารณญาณ 3. แสดงอาการตอบสนองเปน กาํ ลังใจแกค ณะผูอ ภิปรายดว ยการแสดงออกทางกิริยาอาการ ยิม้ รบั ซักถามเมอื่ มีโอกาสและไมแสดงอาการเย็นชาเบ่ือหนาย ฯลฯ 4. นําความรูค วามคดิ ประสบการณแ ละแนวทางแกไ ขปญหาไปใชใหเกิดประโยชนต อตนเอง และสงั คม 3. คณะหรือหนว ยงานทจี่ ัดการอภปิ ราย การที่จะมีการอภิปรายเกิดข้ึนจะตองมีคณะบุคคลหรือหนวยงานท่ีรับผิดชอบจัดใหมี การอภปิ ราย ซึง่ จะตอ งทําหนา ทใี่ นการจัดสถานทจี่ ดั เตรยี มวัสดุอปุ กรณ เครอ่ื งมือสอ่ื สารตาง ๆ กําหนดวัน เวลา ประสานงาน ประชาสัมพนั ธ เพือ่ ใหการอภิปรายเปน ไปอยางราบร่ืน หากผูเรียนจะจัด การอภิปราย ข้ึนคงจะตองตง้ั คณะทํางานท่จี ะชว ยกนั และตองมผี ใู หญไวเปน ท่ีปรกึ ษา 4. คณะผูอภิปราย คณะผูอ ภิปรายนับเปนองคป ระกอบท่ีสําคัญมาก ซึ่งประกอบดวยบุคคลตั้งแต 3 – 5 คน โดยมีคนหนงึ่ ทําหนาท่ผี ูดําเนินการอภิปราย สว นที่เหลือจะเปน ผูอภิปราย ท้ังผูดําเนินการอภิปราย และ ผอู ภปิ รายจะตองรูบทบาทหนาทข่ี องตน รูวิธีการพูดและรูกระบวนการข้ันตอนตลอดจนวิธีการอภิปราย การอภิปรายจึงจะดําเนนิ ไปดว ยดี
32 ก. การคัดเลือกคณะผูอภิปราย การคัดเลือกบุคคลที่จะมาทําหนา ที่คณะผูอ ภิปรายน้ัน ควรจะเลอื กบุคคลทีม่ ีลกั ษณะ ดงั นี้ ผูดําเนินการอภิปราย ควรเปนผูที่รูก ระบวนการ วิธีการและขั้นตอนในการอภิปรายและ วิธีดําเนินการอภิปรายเปนอยางดีมีความสามารถในการพูด มีปฏิภาณไหวพริบดี เปน ผูรูเ ร่ืองราวท่ีจะ อภปิ รายพอสมควรและรูประวตั ิของผอู ภิปราย พอท่ีจะแนะนําได หากเปน ผูม ีประสบการณ ในการอภิปราย มาบา งก็จะย่งิ เปนการดี ผูอ ภปิ ราย ผูอภิปรายควรเปน ผมู ีความรคู วามสามารถและประสบการณเชยี่ วชาญในเร่ืองที่จะ อภิปรายเปนอยางดี มีความสามารถในการพูด มีปฏิภาณไหวพริบ มีอารมณดี มีความจริงใจ มีใจ เปนกลาง และมมี ารยาทในการพดู อภิปราย ข. บทบาทหนา ทข่ี องผูดําเนินการอภปิ ราย 1. ประสานและพบกบั ผอู ภิปราย เพื่อพูดคยุ ทาํ ความเขาใจในเรอื่ งของการอภปิ ราย 2. กลา วทกั ทายผูฟง บอกหัวเรอื่ งที่จะอภปิ รายและแนะนําผรู ว มอภปิ รายแกผูฟ ง 3. ชแี้ จงวิธกี ารอภิปราย ขอบขา ยของเร่อื งและเงอื่ นไขตาง ๆ ที่ผูฟง ควรทราบ 4. เสนอประเดน็ อภิปรายใหผ อู ภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ พรอ มทัง้ เชิญผอู ภปิ ราย 5. สรุปคําอภิปรายเปนระยะ ๆ ตามความเหมาะสม ซ่ึงไมจําเปนตอ งสรุปทุกคร้ัง ที่ผูอ ภิปรายแตล ะคนพูดจบใหพ ิจารณาตามที่เห็นสมควร และจะตอ งสรุปคําอภิปราย เมื่อการอภิปราย จบส้ินแลว 6. ควบคุมใหผูอภปิ รายรักษาเวลาการพูดเปนไปตามขอตกลง และพยายามใหผ ูอภิปราย พดู ตรงประเดน็ 7. พยายามท่จี ะสรางบรรยากาศในการอภปิ รายใหเปนกันเองและเมือ่ ถึงเวลาสาํ หรับผูฟง ควรจะกระตนุ ใหผฟู งไดมสี ว นรวมแสดงความคิดเห็นหรือตง้ั คําถามใหม ากที่สุด 8. เมื่อมีคําถามจากผฟู ง ควรพิจารณามอบใหผ อู ภิปรายตอบตามความเหมาะสม 9. รกั ษามารยาทในการพูด ไมแ สดงตนเขาขางฝายใดและไมพ ดู มากจนเกนิ ไป 10. กลาวสรุปคําอภิปรายและกลา วขอบคุณคณะผูอภิปราย ผูฟง ผูจัดและผูเ กี่ยวขอ ง พรอมท้ังอาํ ลาผูฟง ค. บทบาทและการพดู ของผอู ภปิ ราย 1. พบปะกบั คณะกอนการอภิปราย เพอ่ื เตรียมความพรอมในการอภปิ ราย 2. เตรียมความรูความคิดประสบการณต ามหัวขอ เร่ืองไวใหพรอ ม ละเอียดชัดเจน พรอมทง้ั สื่อและอปุ กรณท ี่จะใชป ระกอบการพูดอภิปราย 3. ใหค วามเคารพและใหค วามรว มมือผดู ําเนนิ การอภิปรายในขณะทําหนาที่ เปน ผูอ ภิปราย ตลอดเวลาการอภิปราย 4. พูดใหต รงหวั ขอเรือ่ งหรือประเด็นปญหาทผี่ ูดาํ เนินการอภปิ รายไดก ําหนดไว 5. รักษาเวลาในการพูดตามทกี่ ําหนด
33 6. รักษามารยาทในการพดู และปฏิบัตติ ามหลกั การพูดที่ดี มีวาจาสุภาพ สรางบุคลิกภาพ ท่ีดี แสดงกริ ิยาทาทางใหเ หมาะสม ฯลฯ ง. ขั้นตอนการอภิปราย ผูด ําเนินการอภิปรายจะตองแมน ยําในข้ันตอนการอภิปราย เพราะจะเปนผูค วบคุมและ ดาํ เนินการอภิปรายใหเ ปนไปตามลาํ ดับขัน้ ตอนน้ัน ๆ ซึ่งลาํ ดับข้ันตอนของการอภิปราย มีดังนี้ 1. ผูดาํ เนนิ การอภิปรายกลา วเปดการอภิปราย 2. ผูด ําเนินการอภิปรายแนะนําหัวขอ เรื่องหรือปญหาท่ีจะอภิปราย ขอบเขตของปญหา ความสาํ คัญของปญหา จุดมงุ หมายของการอภปิ ราย สุดทายคือ ผลทค่ี าดวาจะไดรับ 3. ผูด าํ เนินการอภิปรายแนะนําผรู วมอภปิ ราย 4. ผดู ําเนนิ การอภปิ ราย เชิญผอู ภปิ รายพดู ตามประเดน็ ท่ใี หหรอื ตามท่ตี กลงกันไวทีละคน 5. ผดู าํ เนนิ การอภปิ ราย สรุป เพอื่ จะโยงไปสูประเด็นท่ีจะใหผอู ภปิ รายคนตอไปพูด 6. เม่ือผูอ ภิปรายพูดครบทุกคนแลว ผูด ําเนินการอภิปรายจะใหโ อกาสผูฟง ไดถามและ แสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเติม 7. ผูดําเนินการอภิปราย มกี ารสรุปคําอภปิ ราย ขอบคุณผเู ก่ยี วของและกลาวปด การอภิปราย กจิ กรรมท่ี 7 ใหผูเ รียนเขา ฟง การอภิปรายตามโอกาสตา ง ๆ แลวนําประสบการณมาถายทอด เพ่ือจะได แลกเปลี่ยนความรแู ละแนวการดําเนนิ การ การโตว าที ความหมายและความสําคัญของการโตวาที การโตว าที คือ การอภิปรายแบบหนึ่ง ซ่ึงประกอบดวยผูม ีความเห็นตรงขามกันในเร่ืองใด เรื่องหน่งึ มีจาํ นวนเทา กนั ตง้ั แต 2 - 4 คน ผลดั กนั พดู แสดงความคิดเห็น เพื่อจูงใจใหผ ูฟง เห็นคลอ ยตาม กบั เหตุผลและความคิดของฝา ยตน ซึง่ เรียกวา ฝา ยเสนอ ฝา ยหนึ่งและฝา ยคา นอีกฝายหน่ึง มีการกําหนด เวลาใหแ ตละฝายพดู ผูพูดแตละคนจะหาเหตุผลมาหกั ลางฝายตรงขามและหาเหตผุ ลมาสนับสนุนฝา ยของ ตนเอง โดยมคี ณะกรรมการเปนผพู ิจารณาตัดสนิ วาฝายใดมเี หตผุ ลดีกวา ฝายใดชนะหรอื เสมอกัน การโตวาที ไมม ีการใหเวลาผฟู ง ไดร วมแสดงความคดิ เห็นเหมอื นการอภปิ รายประเภทอนื่ การโตวาที เปน กิจกรรมการพูดทม่ี คี วามสําคญั ในเชิงของการใชศ ิลปะการพดู เพอื่ แสดงทรรศนะ เพอื่ การชักจูงใจและการโตแ ยง เปนการฝก ฝนการแสดงวาทศลิ ปชนั้ สูง ฝก การยอมรับฟง เหตุผล มีน้ําใจ เปน นักกีฬา และรูจ ักเคารพกติกาเกี่ยวกับการพูด ซึ่งปกติเราไมค อยจะมีกัน การโตว าทีมีจุดประสงค ที่แทจรงิ ดังทก่ี ลาวมามากกวาการจดั เพื่อความบันเทิง
34 ปจ จบุ ันมีการจดั กิจกรรมการพูดโตวาทีอยูเสมอโดยเฉพาะทางสื่อมวลชน เชน รายการยอวาที แซววาที ฯลฯ แตดูเปนการใชค ารมคมคายมากกวาการใชวิธีการแหง ปญญา ไมไดส งเสริมการเพิ่มพูน ภูมิปญ ญา เพยี งแตมงุ ความบันเทงิ มากกวาสาระความรู องคประกอบของการโตวาที การโตว าทเี ปนการพูดอภิปรายสาธารณะ จึงมกี ารแยกกลมุ ผพู ูดออกจากผูฟ ง และไมเปดโอกาส ใหผูฟง ไดม ีสว นรวมในการพูดอาจจะมีเพียงถามความเหน็ ในการตัดสินดวยการขอเสียงปรบมือเทานั้น องคป ระกอบของการโตวาทีมีดงั นี้ 1. ญัตติ คือ หัวขอการโตวาทีหรือประเด็นปญ หาที่กําหนดขึ้น ซ่ึงเปนขอ ท่ีผูพ ูดท้ังสองฝา ย มีความเห็นไมต รงกัน หรืออาจจะกาํ หนดใหเ ห็นไมต รงกัน หยบิ ยกมาใหอ ภปิ รายโตแยง กนั ญัตตทิ ีค่ วรนํามาโตว าทีควรมลี กั ษณะ ดงั นี้ 1. เปนเรื่องทีค่ นสวนใหญใหค วามสนใจและมีสว นเก่ียวของหรอื มผี ลกระทบและเกดิ ประโยชนตอ คนในสงั คมเหลานน้ั 2. เปน เรื่องใหค วามรู มีคุณคา ในการสง เสริมความรู ความคิดและสงเสริมเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง 3. เปน เร่อื งสง เสริมศิลปวัฒนธรรม และไมข ัดตอ ศลี ธรรมอันดีงามไมเปน ภยั ตอ สงั คม 4. เปน เร่ืองที่จะนําไปสูขอตกลงท่ีจะดําเนินการไดห รือสามารถนําผลของการโตว าทีไปใชใ น การแกป ญหาหรอื ใชป ระโยชนด านอ่นื ๆ ได (ควรหลีกเลี่ยงญัตติที่ขาดลักษณะดังกลาวมา เชน ญัตติที่วา ข้เี มา ดกี วาเจาชู พอคาดกี วาขา ราชการ ฯลฯ ซ่งึ เปนญตั ตทิ ี่ไมไ ดป ระโยชนไรสาระ) 2. ประธานการโตวาทแี ละคณะผตู ัดสินใจ ประธานการโตว าที เปนผูทาํ หนา ทค่ี วบคมุ การโตว าทีใหเ ปนไปตามแบบแผนและกฎเกณฑตลอด ท้ังขอตกลงตาง ๆ ประธานการโตว าทีจะมีผูช ว ยทําหนา ท่ีผูก ํากับเวลาของผูโ ตต ามที่กําหนดกันไว ประธานการโตว าทมี หี นา ที่ดงั น้ี 1. กลา วนําบอกญัตตแิ ละชีแ้ จงระเบียบวธิ ีการ หลักเกณฑข องการโตวาที 2. แนะนาํ คณะผูโตท ั้งฝา ยเสนอและฝา ยคา น แนะนําผูกํากับเวลาและคณะผตู ดั สิน 3. ช้ีแจงรายละเอยี ดของกตกิ าตาง ๆ ใหทุกฝายท่ีเกีย่ วของในการโตว าทีทราบ 4. เชญิ ผูโตข ึน้ พูดทลี ะคนตามลําดับ 5. รวมคะแนน แจง ผลการตัดสิน และกลาวปด การโตวาที คณะผูตดั สนิ คณะผูต ัดสนิ จะเลือกผทู ี่มีประสบการณใ นการโตว าทแี ละมีความเชี่ยวชาญในเรื่องทีน่ าํ มาเปน ญัตติ ในการโตว าที อาจจะมี 2 หรือ 5 คน คณะผูตัดสินมีหนา ที่ใหค ะแนนตัดสินช้ีขาด การโตวาทีฝา ยใด ที่เสนอเหตผุ ล ความคดิ ทรรศนะทีด่ ีกวา โดยไมตองถามความเหน็ ตอ ผูฟง
35 3. คณะผโู ตวาที คณะผูโต คอื กลุม 2 กลุม ท่ีมีความเหน็ ขดั แยงกนั ตกลงจะพดู แสดงความคดิ ทรรศนะของตนตอ สาธารณะหรือผูฟงท่ีสนใจ คณะผูโตจ ะแบงออกเปน 2 ฝาย คือ ฝายท่ีเห็นดวยกับญัตติจะพูดสนับสนุน เรยี กวา ฝา ยเสนอ ฝายทไี่ มเ ห็นดว ยหรือเปน ผมู คี วามคิดเหน็ โตแ ยง เรยี กวา ฝา ยคาน ผูโ ตแตล ะฝา ยจะมีหวั หนา คนหน่งึ และมีผสู นบั สนุนฝายละ 2 – 3 คน แตล ะฝา ยจะมี ดงั นี้ ฝายเสนอ ฝายคา น 1. หัวหนาฝา ยเสนอ 1. หวั หนาฝา ยคา น 2. ผูสนับสนนุ ฝา ยเสนอคนที่ 1 2. ผสู นบั สนนุ ฝา ยคา นคนที่ 1 3. ผสู นับสนนุ ฝา ยเสนอคนที่ 2 3. ผูสนับสนุนฝา ยคา นคนท่ี 2 4. ผูสนบั สนุนฝา ยเสนอคนที่ 3 4. ผูสนบั สนนุ ฝายคานคนท่ี 3 คณะผูโ ตวาทีทกุ คนทั้งฝายเสนอและฝายคา นจะตอ งปฏิบัติ ดงั นี้ 1. ปฏบิ ตั ิตามคาํ สัง่ และคําชแี้ จงของประธานอยางเครงครดั 2. ปฏิบัติตามกตกิ าของการโตวาทีอยางเครงครัด 3. รกั ษามารยาทในการพดู อยางเครง ครดั เชน พูดใหสภุ าพไมพูดกาวรา ว ยั่วเยา ดถู กู ฝา ยตรงขา ม และงดเวนการพดู เรื่องสว นตัว เปน ตน การจัดลําดบั และการพูดของผูโตว าที การจัดลําดับและการพูดของผูโตวาทีท้ังสองฝา ยจะมีการจัดลําดับกําหนดเวลาและมีแนวการ นําเสนอ ดงั นี้ ลาํ ดบั ที่ 1 หัวหนาฝายเสนอ หัวหนาฝายเสนอจะไดรับเชิญข้ึนพดู เปนอนั ดบั แรกโดยจะใหเปน ผูเสนอประเดน็ ขอบเขตของญตั ติ การใหนิยามคําและทรรศนะทมี่ ตี อ เร่อื งที่โตวาทใี นครั้งน้ันวา เปน อยา งไร โดยจะบอกถงึ ขอเทจ็ จริง เหตุผล พรอมหลกั ฐานตาง ๆ มาสนับสนุน ปกตหิ วั หนา ท้ัง 2 ฝา ยจะใชเ วลาพูดมากกวาผสู นบั สนนุ เล็กนอ ย ลําดบั ที่ 2 หวั หนา ฝายคา น หัวหนา ฝา ยคา นจะไดร ับเชิญข้ึนพูดเปน อันดับท่ี 2 ตอจากหัวหนา ฝา ยเสนอหัวหนาฝา ยคา นจะ รวบรวมขอเสนอของหัวหนา ฝายเสนอทกุ ขอทกุ ประเด็นมาคดั คานดวยเหตผุ ลและหลักฐาน เพื่อหักลางให ไดทุกประเดน็ แลวจงึ เสนอความคดิ เหตผุ ลและหลกั ฐานสนบั สนุนความคิดของฝา ยคานไวใ หม ากทส่ี ดุ ลาํ ดับท่ี 3 - 6 หรอื 8 ผสู นับสนนุ ท้งั สองฝาย ตอจากหวั หนา ฝา ยคา น ก็จะเปนหนา ท่ีของผูส นับสนุนฝายเสนอและฝา ยคานสลับกันไป โดยทุกคน จะทาํ หนาที่สนบั สนุนความคดิ และเหตุผลของฝา ยตนเอง คัดคานหักลางความคิดและเหตุผลของฝายตรง กันขา มใหครบทกุ ประเดน็ แลวก็จะเสนอความคดิ เหตุผลและหลักฐานตาง ๆ สนบั สนุนฝา ยตนเอง ลําดบั สุดทาย เมื่อผสู นับสนนุ ทงั้ 2 ฝา ยพูดครบทกุ คนแลวจะใหห วั หนาทั้งสองฝา ยมาพดู สรปุ อีกครั้งหนึง่ โดยจะ ใหห วั หนาฝายคา นเปน ผสู รุปกอนแลว จงึ ใหห ัวหนาฝายเสนอสรุปเปน คนสุดทา ย
36 4. ผูฟ ง ผฟู งการโตวาทีเปน ผรู ับความรู ความคดิ ทรรศนะของผโู ตว าทที ั้งสองฝา ย แลวจะตองใช วจิ ารณญาณทีจ่ ะนาํ ไปใชใหเกิดประโยชน ผฟู งการโตว าทีไมม ีโอกาสไดรวมแสดงความคิดเห็นเหมือนกิจ กรรมการฟงอภปิ รายประเภทอนื่ มแี ตเ พียงตอ งปฏบิ ัติตนใหเปน ผฟู งที่ดีเทานน้ั กจิ กรรมท่ี 8 ใหผ ูเ รียนเขา รวมกิจกรรมการโตวาทีของกลุมในโอกาสสําคัญ โดยเขา รว มเปน คณะผูจ ัด คณะผูโ ต หรอื อนื่ ๆ ตามความเหมาะสมเพือ่ ฝกฝนการพูด การเปน พธิ กี ร พิธีกร ในพจนานุกรมบอกความหมายวา ผูด ําเนินการในพิธี ผูดําเนินรายการ ดังนั้น พิธีกร จึงหมายถึง ผูทําหนา ที่ดําเนินรายการของงานท่ีจัดข้ึนอยางมีพิธีการ เชน การประชุม การสัมมนา การอภปิ ราย การไหวครู ฯลฯ พิธีกรจะเปนผทู ําหนา ทบ่ี อกกลาว ใหผูเขารวมพธิ ีไดทราบถงึ ขน้ั ตอนพธิ ีการ วา มอี ะไรบา ง ใครจะเปน ผูพ ูด ใครจะเปน ผูแสดง ใครจะทําอะไร พิธีกรจะเปนผูแ จง ใหท ราบ นอกจากนี้ พิธีกรจะทาํ หนา ทปี่ ระสานงานกับทุกฝา ย เพื่อจะไดข อ มูลท่ีแตละฝา ยจะดําเนินการและพิธีกรจะตอ งจัด และดําเนินการตามขนั้ ตอนกําหนดเวลาใหบรรลุ หากพธิ ีกรทาํ หนา ท่ีบกพรอ งกจ็ ะทาํ ใหเ กิดความเสยี หายได คุณสมบตั ขิ องผูท่เี ปนพิธกี ร มีดังน้ี 1. เปน ผูท ี่มีบุคลิกภาพดี รูปรางดีสงา มีใบหนายิ้มแยม แจมใส รูจักแตงกายใหเหมาะสมกับ กาลเทศะ พธิ ีหรือรายการน้ัน ๆ 2. มีน้าํ เสยี งนุม นวล นา ฟง มีลีลาจงั หวะการพูดพอเหมาะ ชวนฟง มีชีวติ ชวี า 3. พูดออกเสยี งถกู ตอ งตามอักขรวธิ ี ชดั เจน ออกเสียงคําควบกล้ําไดถูกตอง 4. ใชภาษาดี เลือกสรรถอ ยคํานํามาพูดใหผูฟ ง เขาใจงาย ส่ือความหมายไดด ี สั้นและกระชับ มศี ิลปะในการใชภ าษา 5. มีมารยาทในการพดู ใหเ กยี รติผฟู ง ควบคมุ อารมณไ ดดี 6. มมี นษุ ยสมั พันธท ่ดี ี มวี ิธสี รางบรรยากาศดว ยสีหนา ทา ทาง ลลี าและนาํ้ เสยี ง ฯลฯ 7. เปน ผใู ฝใจศึกษารปู แบบวิธีการใหม ๆ มาใช มีความคิดสรางสรรค ยอมรับฟง ความคดิ เหน็ ของ บคุ คลอน่ื และพยายามพัฒนาปรบั ปรงุ ตนเองอยูเสมอ 8. มีความรใู นรายละเอียด ขน้ั ตอน พิธีการของกจิ กรรมทด่ี าํ เนนิ รายการเปนอยา งดี ดว ยการศกึ ษาประสานงาน ซกั ซอ มสอบถามจากทุกฝายใหชดั เจนและแมนยาํ 9. เปน คนมปี ฎิภาณไหวพรบิ ดี มีความสามารถในการแกป ญหาเฉพาะหนาไดอยา งฉับไว ข้นั ตอนการพดู ของพิธีกร การเปนพิธกี รนนั้ มขี ั้นตอนการพดู แตกตา งกันไปตามลกั ษณะของงาน ถา เปน งานทางวิชาการ เชน การประชุม การสัมมนา การอภิปรายก็จะมีขั้นตอนในการพูดลักษณะหน่ึง ถา เปนงานของโรงเรียนหรือ หนว ยงานอ่ืนท่ีมีการแสดงก็อาจจะมีข้ันตอนแตกตา งจากงานทางวิชาการบา ง หรือถา เปน งานประเภท
37 งานมหกรรมงานแสดงดนตรกี จ็ ะมขี ้ันตอนการพดู ทีม่ ขี อแตกตา งในเชิงเนื้อหาบา ง แตโดยท่ัวไปพิธีกรจะมี ขั้นตอนในการพดู ดังน้ี 1. กลาวทักทายและปฏิสนั ถารกบั ผฟู ง 2. แจงวัตถุประสงคหรือกลา วถึงโอกาสของการจัดงาน 3. แจง ถึงกจิ กรรมหรือการแสดงทีจ่ ะจดั ข้ึนวา มีอะไร มขี ้ันตอนอยางไร 4. กลา วเชญิ ประธานเปด งาน เชิญผกู ลา วรายงาน (ถาม)ี และกลา วขอบคณุ เมือ่ ประธานกลาวจบ 5. แจงรายการท่ีจะดาํ เนนิ ในลาํ ดบั ตอไป ถา มีการอภิปรายก็เชิญคณะผอู ภปิ ราย เพ่ือดําเนินการ อภิปราย ถาหากงานนัน้ มีการแสดงกแ็ จง รายการแสดง 6. พดู เชอ่ื มรายการหากมีการแสดงหลายชดุ กจ็ ะตอ งมีการพดู เชอื่ มรายการ 7. เม่ือทุกรายการจบสิ้นลง พิธีกรก็จะกลาวขอบคุณแขกผูม ีเกียรติ ผูฟ งและผูชม ผูท ่ีให การชวยเหลือสนบั สนุนงา หากมพี ิธปี ด พธิ ีกรกจ็ ะตอ งดําเนนิ การจนพธิ ีปดเสร็จเรียบรอ ย กจิ กรรมท่ี 9 1. ใหผูเ รียนดแู ละฟงการพูดของพธิ กี รในรายการตา ง ๆ ทางโทรทัศนแ ละวิทยุเพื่อสังเกตข้ันตอน วธิ กี ารและเทคนคิ ตาง ๆ ของพธิ ีกรเพอ่ื เปน ตัวอยาง จะไดน ําสวนดีมาฝกและใชเ มื่อไดท าํ หนา ทพ่ี ิธีกร 2. ในโอกาสตาง ๆ ทก่ี ลุมหรือสถานศึกษาจดั งานใหผูเ รียนใชโอกาสฝก ทําหนา ท่ีพิธีกร เพ่ือจะได ฝก ทักษะ การพูดเปน พิธีกร หากจะใหเ พื่อนไดชว ยวิจารณและใหค รูประจํากลุมใหค ําแนะนําก็จะทําให พัฒนาการพูดเปน พธิ กี รไดด ี ผมู ีมารยาทดใี นการพดู การมีมารยาทในการพูดก็จะคลา ยคลึงกับลักษณะการพูดท่ีดีดังที่ไดกลาวในตอนตนแลว ซึ่งอาจ ประมวลได ดังนี้ 1. ผพู ูด เปน ผทู ี่ถา ยทอดความรสู กึ ความคดิ เห็น ขอ เท็จจริง ตลอดจนทศั นคตขิ องตนไปสผู ูฟง โดยสื่อทางภาษา เสียง อากัปกิริยา และบุคลิกภาพ ใหม ีประสิทธิภาพที่สุด ผูพูดจะตองมีมารยาทและ คุณธรรมในการพดู และผพู ดู เองตองมีการเตรียมตัว มีความรู และประสบการณใ นเร่ืองท่ีจะพูดอยา งดี และตอ งรวบรวมเรยี บเรยี งความรูเหลานัน้ ใหเ ปนระบบและถายทอดใหผ ูฟง เขา ใจงาย และชัดเจน ผูพูด เองตอ งมที กั ษะในการพูดมคี วามสนใจที่จะพฒั นาบุคลกิ ภาพอยูเสมอ เปนการสรางความมนั่ ใจใหผ พู ดู เอง 2. เรอื่ งและสาระทีพ่ ดู ตองมีประโยชนตอผฟู ง ควรเปนเรอื่ งทนั สมยั เน้อื หาชดั เจน ผพู ูดตอ งขยาย ความคดิ และยกตัวอยา งใหชดั เจน 3. ผพู ูดตอ งรจู ักกลมุ ผฟู ง กอ นลวงหนา ทัง้ อาชพี วัย เพศ ความสนใจของผูฟง ฯลฯ รวมทัง้ จุดมุง หมายในการพูด เพื่อจะไดเตรยี มตัวและเนอื้ หาไดถ ูกตอ งนา สนใจ 4. ผูพูดตองคนควาหาความรู และประมวลความคิดทั้งหมด แยกแยะใหไ ดว า ความคิดหลักคือ อะไร ความคดิ รองคืออะไร และควรหาสงิ่ สนับสนุนมาประกอบความคิดน้นั ๆ เชน เหตุการณท่ีรับรูก ันได
38 ทว่ั ไป หรือบุคคลที่มีช่ือเสียง ฯลฯ พรอ มกันนั้นถามีการอา งอิงเรื่องท่ีมาประกอบการพูดท่ีผูพูดตองบอก แหลง ท่มี าดวย 5. การจัดระเบยี บ และวางโครงเร่ือง ตอ งเตรียมใหด ีเพ่ือจะไดไมพ ูดวกวน เพราะมิฉะนนั้ จะทาํ ให การพูดไมนาสนใจ และอยาลมื วาในการพูดแตละครั้งตอ งใหครอบคลมุ จดุ มุงหมายใหครบถว น 6. ผพู ูดตอ งเราความสนใจของผูฟง ดว ยการใชภาษา เสียง กิริยาทา ทาง และบุคลิกภาพสว นตน เขาชว ยใหผูฟง ฟงอยางต้งั ใจ และผูพ ูดตองพรอมในการแกปญหาเฉพาะหนา ทอี่ าจเกิดขนึ้ ดว ย กิจกรรมที่ 10 ผูเ รยี นทดลองประเมนิ ตนเองวา ทา นสามารถเปน นกั พดู ระดบั ใด ถากําหนดระดับ A B C และ D โดยทานเปนผูตัง้ มาตรฐานเอง และถาไดร ะดับ C ลงมา ทา นคดิ จะปรบั ปรุงตนเองอยา งไรหรอื ไม
39 บทที่ 3 การอาน สาระสาํ คญั การอานเปน การแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเปน ความคิดและนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา และสรางวสิ ัยทศั นใ นการดาํ เนนิ ชวี ิตและมีนสิ ัยรกั การอาน ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั ผเู รียนสามารถ 1. จับใจความ สรุปความ ตคี วาม แปลความและขยายความเรือ่ งทอี่ าน 2. วิเคราะห วิจารณความสมเหตุสมผล ความเปน ไปไดและลาํ ดบั ความคดิ ของเร่อื งทอ่ี านได 3. เขาใจความหมายของภาษาถิน่ สํานวน สภุ าษติ ในวรรณกรรมทองถ่ิน 4. เลือกอา นหนงั สอื จากแหลงความรู เปน ผมู มี ารยาทในการอานและรกั การอา น ขอบขายเนอ้ื หา เรอื่ ง 1 ความสําคญั ของการอา น เรอ่ื ง 2 วจิ ารณญาณในการอาน เรอ่ื ง 3 การอา นแปลความ ตคี วาม ขยายความ จับใจความหรือสรปุ ความ เรื่อง 4 วรรณคดี เรอ่ื ง 5 หลกั การวิจารณว รรณกรรม เรือ่ ง 6 ภาษาถิน่ เรอ่ื ง 7 สํานวน, สภุ าษติ เรอ่ื ง 8 วรรณกรรมทองถิน่
40 เรอ่ื งท่ี 1 ความสาํ คัญของการอา น 1 การอานชว ยพัฒนาคุณภาพชีวิต ทําใหผ ูอานไดรับสาระความรูเ พ่ิมข้ึน เปน คนทันสมัย ทันเหตกุ ารณและความเคลื่อนไหวของเหตุการณบานเมือง ตลอดจนสังคมและวิทยาการใหม ๆ เปน ตน ผูอ า นเม่อื ไดร ับความรูจากการอานแลว จะสามารถนําสาระตาง ๆ มาสรางสรรคใหเ กิดประโยชนตอชีวิต สงั คมและประเทศชาติในโอกาสตอไปได 2. การอา นชวยใหเกิดความเพลดิ เพลิน หนงั สือหลายประเภทนอกจากจะใหความรู ความคิดแลว ยังใหค วามเพลิดเพลนิ อกี ดวย ผอู า นหนังสือจะไดร บั ความเพลดิ เพลนิ ไดรบั ความสขุ อีกทัง้ ยงั สรา งความฝน จนิ ตนาการแกผอู าน ตลอดจนเปน การพกั ผอนและคลายเครียดไดเ ปน อยา งดี 3. การอา นมผี ลตอการดําเนินชวี ติ ทส่ี ขุ สมบรู ณของมนุษย ผลทไี่ ดร บั จากการอาน นอกจากจะเปน พน้ื ฐานของการศึกษา ศลิ ปวทิ ยาการ และชว ยในการพฒั นาอาชีพแลว ยงั มีผลชว ยใหผอู า นไดแนวคดิ และ ประสบการณจาํ ลองจากการอานอีกดว ย ซ่งึ ความคิดและประสบการณจะทําใหผูอ า นมีโลกทัศนก วา งข้ึน เขา ใจตนเอง เขา ใจผูอืน่ และเขาใจสงั คมเปน อยางดี อันจะมีผลตอการดําเนินชีวิตและการดํารงตนอยูใน สงั คมไดอยางมคี วามสุข เรื่องท่ี 2 วจิ ารณญาณในการอาน วิจารณญาณในการอาน คือ การรับสารจากการอานใหเ ขาใจเน้ือหาสาระแลวใชสติปญ ญา ใครครวญหรอื ไตรต รอง โดยอาศัยความรู ความคิด ประสบการณมาเปน เหตุผลประกอบและสามารถนํา ไปใชในชีวติ ไดอยางถกู ตองเหมาะสม การใชว ิจารณญาณในการอาน จะเริ่มตนท่ีการอา นดวยความต้ังใจและพยายามทําความเขา ใจ เนอ้ื หาสาระของเรื่องท่ีอา นแลวใชความรู ความคดิ เหตผุ ลและประสบการณป ระกอบการคิด ใครค รวญ ใหสามารถรบั สารไดถูกตอ ง ถอ งแท การอา นโดยใชว จิ ารณญาณประกอบดว ยการเขา ใจของเรอ่ื ง การรูจ ักเขียน การเขาใจความสมั พนั ธข องสารและการนาํ ไปใช การอานอยา งมีวิจารณญาณจะตอ งใชความคิด วิเคราะห ใครครวญและตัดสินใจวาขอ ความท่ีได อานน้ัน สิ่งใดเปน ความสําคัญ สิ่งใดเปน ใจความประกอบหรือพลความ สามารถแยกขอ เท็จจริงจากขอ คิดเหน็ ได ตลอดจนวนิ จิ ฉัยไดว าขอความท่ีอานน้ันควรเชื่อถือไดห รือไมเพียงใด และการอา น ประเมินคา วาขอความที่ไดอา นมีเนื้อหาสาระหรือมีแงค ิดท่ีดีหรือไม อาจนําไปใชป ระโยชนไดเ พียงไร รวมท้ัง การประเมินคางานเขียนในดานตาง ๆ เชน ความรู ความสามารถ ความจริงใจและกลวิธใี นการเขยี น
41 ขนั้ ตอนของวจิ ารณญาณในการอา น มีดังนี้ 1. อานใหเขาใจตลอดเร่อื ง เปน การอา นสารดว ยความต้ังใจใหเขา ใจรายละเอียดตลอดเรือ่ ง 2. วิเคราะหเ ร่อื ง เมื่ออานและเขา ใจเร่ืองแลว จะตอ งนํามาวิเคราะหส าระสําคัญใหร ูเ รื่องท่ีอาน เปนเรื่องประเภทใด อะไรเปน ขอเท็จจริง อะไรเปนขอ คิดเห็น และอะไรเปนประโยชน ลักษณะของตัว ละครเปนอยางไร เปน เร่ืองประเภทรอ ยแกว รอยกรอง บทความ ขาว หรือละคร ฯลฯ ผูเขียนมีเจตนา อยางไร ในการเขียนเรอ่ื งน้ี ใชก ลวิธีในการนําเสนออยางไร ซึ่งผอู า นตองพจิ ารณาแยกแยะใหได 3. ประเมินคาของเรื่อง เม่ืออา นและวิเคราะหแ ยกแยะเร่ืองแลว นํามาประเมินคาวา สิ่งใดเท็จ สิ่งใดจริง ส่งิ ใดมคี า ไมม คี า มปี ระโยชนใ นดานใด นําไปใชกบั ใครเมื่อไรและอยางไร 4. นําเรอ่ื งที่อา นไปใช หลังจากผา นข้ันตอนของการอา น ทาํ ความเขา ใจ วิเคราะหและประเมนิ คา แลว ตองนําไปใชไ ดท ง้ั ในการถา ยทอดใหผ ูอื่น และนาํ ไปใชในการดาํ เนนิ ชีวติ ไดอยา งเหมาะสมกับกาลเทศะ และบุคคล หลักการอา นอยา งใชว จิ ารณญาณ 1. พิจารณาความถูกตองของภาษาท่ีอาน เชน ดานความหมาย การวางตําแหนงคํา การเวน วรรคตอน ความผิดพลาดดังกลาวจะทําใหการสอ่ื ความหมายผิดไป 2. พิจารณาความตอ เนอ่ื งของประโยความีเหตุผลรับกันดีหรือไม โดยอาศัยความรูดานตรรกวิทยา เขาชว ย ขอความจากประโยคจะตองไมขัดแยง กัน หรือเรียงลําดับไมส ับสนวุน วายจนอา นไมร ูเรื่องหรือ อา นเสยี เวลาเปลา 3. พิจารณาดูความตอเน่อื งของเร่อื งราวระหวางเรอ่ื งทเ่ี ปนแกนหลกั หรอื แกนนํากับแกนรองและ สว นประกอบอ่นื ๆ กลมกลนื กนั ดีหรือเปลา 4. รูจกั แยกแยะขอเท็จจริงออกจากเรื่องการแสดงความรูแ ละขอคิดเห็นของผูแตง เพื่อจะไดนํามา พจิ ารณาภายหลังไดถ กู ตอ งใกลเคียงความเปนจรงิ ย่งิ ขนึ้ 5. พิจารณาความรู เนื้อหา ตัวอยา งท่ีได วามีสวนสัมพันธกันอยา งเหมาะสมหรือไมเ พียงใด เปน ความรูค วามคิด ตัวอยางท่ีแปลกใหมหรืออา งอิงมาจากไหน นาสนใจเพียงใด จากน้ันควรทํา การประเมินผลโดยท่ัวไปวาผลจากการอานจะทําใหเ กิดความรูค วามคิดมากนอ ยเพียงใด โดยเฉพาะ อยา งยิง่ ความคิดสรา งสรรคทผ่ี อู า นประสงคห รือปรารถนาจะไดจากการอา นนน้ั ๆ อยูเสมอ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148