สิ่งเล็กๆ ทเี่ รียกวา่ Cell 47 ส่งิ สาคัญท่ตี อ้ งรู้ สารละลายเข้มข้น มตี ัวละลำยจำนวนมำกละลำยอยู่ในตัวทำละลำย สารละลายเจือจาง มตี วั ละลำยจำนวนนอ้ ยละลำยอยู่ในตัวทำละลำย กำรวดั แรงดันที่เกิดจำกกระบวนกำรออสโมซสิ จะใช้เครื่องมือชอ่ื ออสโมมเิ ตอร์ ซงึ่ ในกำรทดลองอำจ ใชเ้ ยอ่ื ชั้นในของเปลอื กไข่หรือกระดำษเซลโลเฟนหุ้มหลอดแก้วที่ใช้วดั ควำมสูงของของเหลว แล้วใส่สำรละลำย 2 ชนดิ ทม่ี คี วำมเข้มข้นต่ำงกัน ภำพเครอ่ื งออสโมมิเตอร์ ที่มำ : https://images.app.goo.gl/EjFbWKs4wvRNQCow8 รหู้ รือไม่ เยือ่ เลือกผ่าน เป็นเย่อื บำงๆ ทย่ี อมใหส้ ำรท่มี ีขนำดเลก็ ผ่ำนเขำ้ และออกได้ เช่น น้ำ แก๊ส สำรอำหำรโมเลกลุ เดย่ี ว (กลูโคส กรดอะมิโน กรดไขมนั ) ส่วนสำรท่มี ขี นำดใหญ่ เชน่ แปง้ ไขมัน โปรตนี น้ำตำล จะผำ่ นไม่ได้ ตวั อยำ่ งของเย่ือเลอื กผ่ำน เช่น เย่อื หมุ้ เซลล์ เยอ่ื หุ้มนิวเคลยี ส เยือ่ ชนั้ ใน ของเปลือกไข่ เซลโลเฟน WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)
สิง่ เล็กๆ ที่เรียกว่า Cell 48 ประเภทของสารละลายท่ีเกี่ยวข้องกบั ออสโมซิส แบ่งเปน็ 3 ชนดิ คอื 1. สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution) สำรละลำยภำยนอกเซลล์มีควำมเข้มข้นสูง เมื่อ เทียบกับควำมเข้มข้นของสำรละลำยภำยในเซลล์ ดังน้ัน ถ้ำเซลล์อยู่ในสภำวะท่ีมีสำรละลำยไฮเปอร์โทนิกอยู่ ล้อมรอบ เย่ือหุ้มเซลล์จะหดตัวและเห่ียวแฟบลง เนื่องจำกมีกำรสูญเสียน้ำออกจำกเซลล์ เรำเรียกขบวนกำร แพร่ของนำ้ ออกมำจำก cytoplasm และมผี ลทำใหเ้ ซลลม์ ปี ริมำตรเล็กลงน้ีวำ่ พลำสโมไลซสิ (Plasmolysis) 2. สารละลายไฮโปโทนกิ (Hypotonic solution) สำรละลำยภำยนอกมคี วำมเข้มข้นต่ำ เมอื่ เทียบกับควำม เข้มข้นของสำรละลำยภำยในเซลล์ ดังนั้น ถ้ำเซลล์อยู่ในภำวะท่ีมีสำรละลำยไฮโปโทนิกล้อมรอบ เซลล์จะ ขยำยขนำด หรือมีปริมำตรเพ่ิมขึ้น เน่ืองจำกเกิดกำรแพร่ของน้ำ จำกสำรละลำยภำยนอกเข้ำสู่ภำยในเซลล์ และทำให้เซลล์เกิดแรงดันเต่งเพิ่มข้ึน เรียกปรำกฏกำรณ์น้ีว่ำ พลำสมอบไทซิส (Plasmoptysis) หรือ เอนโดสโมซสิ (Endosmosis) 3. สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution) สำรละลำยที่มีควำมเข้มข้นเท่ำกับเข้มข้นของสำรละลำย ภำยในเซลล์ ดงั นัน้ เซลล์ท่ีอยใู่ นภำวะทมี่ ีสำรละลำยไอโซโทนกิ ล้อมรอบ จึงไม่มีกำรเปล่ียนแปลง เกิดขึ้น ซ่ึงมี ควำมสำคัญมำกในส่ิงมีชวี ิต โดยเฉพำะกำรคงรูปร่ำงของเซลล์สัตว์ กำรที่เม็ดเลือดแดงไหลเวียนอยู่ในน้ำเลอื ด โดยไม่เหย่ี วแฟบหรือพองโตจนแตก ภำพกำรออสโมซสิ ในเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/cP6wRuT1qWPsdzgU9 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)
สงิ่ เล็กๆ ทเี่ รียกว่า Cell 49 มาเพิ่มความเขา้ ใจเร่ือง การออสโมซิสในเซลล์สิ่งมชี ิวิต จากวีดิโอกนั ดีกว่าคะ่ กดลงิ ค์น้ีเลยคะ่ https://youtu.be/MCvbfqz7ASs ปัจจัยทคี่ วบคมุ ออสโมซิส 1. ความเข้มขน้ ของสารทีเ่ กิดการออสโมซิส ควำมเขม้ ข้นของสำรที่อย่ทู ง้ั 2 ขำ้ งของเย่ือเลอื กผำ่ น ถำ้ ควำมเขม้ ข้นต่ำงกันมำก กำรออสโมซสิ จะ เกิดข้นึ ไดร้ วดเรว็ แต่ถ้ำควำมเขม้ ขน้ ของสำรละลำยใกล้เคียงกนั กำรออสโมซิสจะเกิดข้นึ ช้ำ 2. อุณหภูมิ กำรเพ่ิมอุณหภูมิ เป็นกำรเพิ่มพลงั งำนจลน์ใหแ้ กอ่ นุภำคของสำร ทำใหอ้ นุภำคเคลอ่ื นทีเ่ ร็วขนึ้ กำรออสโมซสิ จึงเกดิ ข้นึ เรว็ การดูดนา้ ในพืช ออสโมซิสเป็นกระบวนกำรดูดน้ำที่พบมำกที่สุดในพชื ท่ัวๆ ไป ในสภำวะปกติและเกิดข้ึนอย่ำงต่อเนอ่ื ง ตลอดเวลำ เนื่องจำกสำรละลำยในดินท่ัวไปจะมีควำมเข้มข้นน้อยกว่ำสำรละลำยในเซลล์รำกทำให้เกิดกำร ออสโมซิสข้ึน โดยน้ำในดินจะแพร่เข้ำสู่เซลล์รำก ทำให้เซลล์รำกที่รับน้ำจำกดินเข้ำไปมีควำมเข้มข้นของสำร น้อยกว่ำเซลล์รำกท่ีอยู่ถัดไป จึงเกิดกำรออสโมซิสต่อไป น้ำมีกำรแพร่ไปยังเซลล์ที่อยู่ถัดไปเป็นเช่นนี้อย่ำง ตอ่ เน่ืองกันไปเร่ือยๆ จนถงึ ทอ่ ลำเลียงน้ำท่เี รยี กว่ำ ไซเลม (xylem) ซ่งึ จะลำเลียงน้ำส่งไปยงั สว่ นต่ำงๆ ของพืช ต่อไป ดวู ีดิโอการดูดน้าและแรธ่ าตขุ องพืช กดตรงลงิ คน์ ี้กนั เลยค่ะ https://youtu.be/rK2DIF_tgCg WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)
สงิ่ เล็กๆ ทีเ่ รียกว่า Cell 50 ปจั จัยที่มผี ลตอ่ การดดู น้าของราก 1. ปรมิ าณนา้ ในดิน ดินท่ีมีปริมำณน้ำมำก จะทำให้สำรละลำยในดินมีควำมเข้มข้นต่ำกว่ำควำมเข้มข้นของสำรละลำยใน เซลล์รำก อัตรำกำรดูดน้ำของรำกจะมีค่ำสูง รำกจึงดูดน้ำได้มำก ในสภำพน้ำท่วมขัง ปริมำณน้ำท่ีมำกเกินไป จะทำใหร้ ำกพชื ไม่ได้รบั ออกซเิ จน ถ้ำอยู่ในสภำพนเ้ี ป็นเวลำนำนพชื ก็จะตำย 2. ความเขม้ ขน้ ของสารละลายในดิน ในดินท่ีมีปริมำณแร่ธำตุปริมำณมำก จะทำให้ควำมเข้มข้นของสำรละลำยในดินสูงกว่ำควำมเข้มข้น ของสำรละลำยภำยในเซลล์รำก น้ำในเซลล์รำกจะแพร่ออกจำกรำกไปสู่ดิน เมื่อเกิดต่อเน่ืองเป็นเวลำนำนพืช จะขำดนำ้ และตำยได้ 3. อณุ หภูมขิ องดิน อณุ หภูมิที่เหมำะต่อกำรดูดน้ำของพืชอยู่ระหว่ำง 20-30 องศำเซลเซียส ถ้ำอุณหภูมิสูงเกินไป ปำก ใบจะปิดเพื่อลดกำรคำยน้ำ ทำให้กำรดูดน้ำลดลงตำมไปด้วย เพรำะกำรคำยน้ำจะทำให้เกิดแรงดึงน้ำจำกรำก ข้ึนไปสยู่ อด คอื เมื่อมีกำรคำยน้ำออก รำกพชื ก็จะดูดนำ้ ขน้ึ มำทดแทนนำ้ ท่ีคำยออกไป 4. การถ่ายเทอากาศในดิน ในดินท่ีอำกำศถ่ำยเทดี จะทำให้พืชได้รับก๊ำซออกซิเจนเพียงพอกับควำมต้องกำร ทำให้กระบวนกำร ตำ่ งๆ ดำเนินไปไดด้ ว้ ยดี รวมทง้ั กำรดูดน้ำของรำกก็จะเกดิ ในอัตรำทส่ี ูงดว้ ย รหู้ รือไม่ เมือ่ ใสเ่ ซลล์พืชลงในนำ้ นำ้ จะออสโมซสิ เข้ำส่เู ซลล์ เม่อื น้ำออสโมซสิ เขำ้ เซลล์จะพองขน้ึ นำ้ จะทำใหเ้ กดิ แรงดันต้ำนผนังเซลล์ ในท่สี ุดเซลล์จะมนี ำ้ มำก เท่ำท่ีจะรับได้ ผนังเซลลท์ ่ีแข็งแรงยับยงั้ กำรระเบดิ ของเซลล์ เซลล์ในขณะน้นั มี สภำพเต่ง เซลลท์ ี่เต่งช่วยค้ำจุนพืช ทำใหล้ ำตน้ ของพืชหลำยชนิดชอู ยไู่ ด้ เมื่อเซลล์ เหล่ำนี้สูญเสียนำ้ เซลลจ์ ะไม่แข็งแรงและไมเ่ ตง่ อกี ต่อไป ลำต้นพชื ทส่ี ญู เสยี นำ้ จะ เห่ียว ภำพเซลลพ์ ชื เต่งและเซลล์พืชแฟบ วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101) ที่มำ : https://images.app.goo.gl/84karAMJPfrsYYqj8 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT
ตัวอยา่ งการออสโมซิส ส่งิ เล็กๆ ท่ีเรียกว่า Cell 51 กำรแชผ่ ักในนำ้ กอ่ น ท่มี ำ : https://images.app.goo.gl/YgjTEf1Nwp3weTtg7 รับประทำน ทำให้ผกั กรอบ สด ท่มี ำ : https://images.app.goo.gl/LME5dB8qiQecmxnp6 และอร่อย ที่มำ : https://images.app.goo.gl/zAKNtqKhcedRafxQA กำรออสโมซิสของนำ้ เขำ้ สู่ขนรำก (เพรำะปริมำณนำ้ ในดนิ มีมำกกวำ่ ปรมิ ำณน้ำในเซลลข์ องรำกพืช) กำรใส่ปุย๋ ครำวละมำกๆ จะเป็น ผลเสียแก่พืช เพรำะป๋ยุ ที่ใส่ในดินจะ ทำให้ควำมเขม้ ขน้ ของสำรละลำยใน ดินสงู กวำ่ ในรำก ทำให้น้ำในเซลล์ ของรำกออสโมซสิ ออกจำกเซลลม์ ำ อยู่ในดนิ จึงทำให้พชื ขำดน้ำและ เหี่ยวเฉำ กำรรดน้ำผักใหช้ ุม่ ชืน้ ทำใหผ้ ัก กำงใบออกเต็มที่ ไม่เหีย่ วเฉำ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT ท่ีมำ : https://images.app.goo.gl/rEtV2fVFBGwXxg1R8 วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)
สิง่ เล็กๆ ท่เี รียกวา่ Cell 52 เราเรยี นกนั มาจนจบเร่อื ง การลาเลยี งสารเขา้ และ ออกจากเซลลก์ ันแล้ว เพ่อื นๆนา่ จะไดเ้ รียนรู้มากข้ึนและสนุก กันมากเลยใช่ไหมคะ่ ถา้ อย่างน้นั เราไปทาแบบทดสอบหลัง เรยี นกันเลย กดตรงลิงค์ดา้ นล่างนีเ้ ลยค่ะ https://bit.ly/2zgXuBb คนท่ปี ระสบความสาเร็จ จะพยายามอีกครง้ั ...เสมอ.. WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)
สงิ่ เล็กๆ ที่เรียกวา่ Cell 53 บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร. (2552). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ: องคก์ ำรค้ำของครสุ ภำ. ________. (2560). มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ สาระภูมศิ าสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรับปรงุ 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ชมุ นุม สหกรณก์ ำรเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด. ประดบั นำคแกว้ และดำวัลย์ เสริมบุญสขุ . (2553). หนงั สือเรยี น วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1. กรงุ เทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด. พัชรินทร์ แสนพลเมือง. (2552). แบบวดั และบันทึกผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม. 1. กรุงเทพฯ: บริษัทอักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกดั . ยุพำ และคณะ. (2551). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ม. 1 เลม่ 1. กรงุ เทพฯ: บริษทั อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกดั . ศรลี ักษณ์ ผลวัฒนะ และเจยี มจิต กลุ มำลำ. (2558). หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม. 1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท แม็ค เอด็ ดเู คชั่น จำกดั . ศรีลักษณ์ ผลวฒั นะ, รัตนำภรณ์ อทิ ธไิ พสิฐพนั ธุ์ และสุภำภรณ์ หรินทรนิตย์. (2552). สื่อการเรยี นรู้และ เสริมสร้างทักษะตามมาตรฐานและตวั ชี้วดั ช้ันปี กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพน์ ิยมวิทยำ. สถำบันสง่ เสริมกำรสอนวทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2553). หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลำดพร้ำว. ______. (2561).หนงั สือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 เล่ม 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลำดพรำ้ ว. ______. (2561). คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 เลม่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลำดพรำ้ ว. WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)
สิ่งเล็กๆ ที่เรียกว่า Cell 54 ประวัติผูเ้ ขยี น ชอื่ -สกลุ นางณฐั มน สชุ ัยรตั น์ การศึกษา ปรญิ ญาตรี: การศึกษาบัณฑติ วิทยาศาสตร์ทวั่ ไป (เกียรตินิยมอันดบั 1) การทางาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ รางวลั ที่ได้รับ ปริญญาโท: ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ วิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปรญิ ญาเอก: ครุศาสตรดุษฎีบณั ฑติ หลกั สตู รและการสอน จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ครูชานาญการ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนอยุธยาวทิ ยาลยั - ไดร้ ับการคัดเลือกขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาดีเด่น ประจาปี 2560 ประเภทครูผู้สอนดีเด่น - ไดร้ บั รางวัล ครดู ี ประจาปีพทุ ธศักราช 2563 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)
ส่งิ เล็กๆ ทเ่ี รียกวา่ Cell 55 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยhาttศpาsส:/ต/รb์it.1ly/(3วb2U11K0q1y)G
Search