Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สิ่งเล็กๆ ที่เรียกว่า Cell

สิ่งเล็กๆ ที่เรียกว่า Cell

Published by nattamon.ayw, 2020-05-22 06:53:16

Description: สิ่งเล็กๆ ที่เรียกว่า Cell

Search

Read the Text Version

ส่งิ เล็กๆ ทเ่ี รียกว่า นางณัฐมน สุชยั รัตน์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ โรงเรียนอยธุ ยาวทิ ยาลัย

คานา หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) เร่ือง สิ่งเล็กๆ ท่ีเรียกว่า Cell เลม่ น้ีนี้จัดทำเพื่อประกอบกำรเรียน กำรสอนวิชำวิทยำศำสตร์ 1 รหัสวิชำ ว21101 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 1 โดยนำเสนอในรูปแบบ ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถศึกษำหำควำมรู้ด้วยตนเอง ร่วมกับกำร จัดกำรเรยี นกำรสอนของครผู ูส้ อน ได้ทกุ เวลำ ทกุ สถำนท่ี หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เล่มน้ี มีเน้ือหำสำระเก่ียวกับเรื่อง กล้องจุลทรรศน์ ลักษณะและ รูปร่ำงของเซลล์สิ่งมีชีวิต เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ และกำรลำเลียงสำรเข้ำออกเซลล์ ซึ่งจะมีทั้งรูปภำพสีสัน สวยงำม คลิปวีดิโอ รวมถึงแบบทดสอบออนไลน์ ท้ังแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนในแต่ละ บทเรียน ซึ่งผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและทรำบผลกำรเรียนรู้ของตนเองโดยทันที ทำให้ผู้เรียน สำมำรถทรำบระดบั พัฒนำกำรเรยี นรูข้ องตนเองได้อย่ำงรวดเรว็ ผู้เขียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เร่ือง สิ่งเล็กๆ ท่ีเรียกว่า Cell หวังว่ำผู้อ่ำนทุกท่ำนจะได้ เรยี นร้วู ิทยำศำสตร์อย่ำงมีควำมสุข และได้พัฒนำตนเองใหม้ ีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เพื่อนำไปใช้กำรศึกษำตอ่ และ ในกำรดำเนินชีวติ ประจำวนั ต่อไป ณฐั มน สุชัยรัตน์ ผเู้ ขยี น 7 กรกฎำคม 2563

สารบญั Chapter 1 กล้องจุลทรรศน์ 1 Chapter 2 ลกั ษณะและรปู ร่ำงของเซลลส์ ่งิ มีชีวิต 14 Chapter 3 เซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์ 25 Chapter 4 กำรลำเลยี งสำรเข้ำออกเซลล์ 38 บรรณานุกรม 53 ประวตั ผิ ูเ้ ขียน 54

มาเรยี นร้แู ละสนกุ กับ Science กนั เถอะ



สิง่ เล็กๆ ทีเ่ รียกว่า Cell 2 สวัสดีค่ะ กอ่ นจะเร่ิมเรียนบทแรก อยากแนะนาใหน้ ักเรียนได้ลอง ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือตรวจสอบความรูพ้ ้ืนฐานของตนเอง ซึ่งจะทาให้นักเรียนทราบผลในทันที และเม่ืออ่านจบบทนี้ให้ นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเพ่ือเปรียบเทียบกัน ถ้าพร้อมทา แบบทดสอบกนั แลว้ กดตรงลงิ คด์ า้ นล่างน้ีได้เลยคะ่ https://bit.ly/3bXcbqx ถ้าหากต้องการสงั เกตปีกของผีเส้ือ ให้ชัดเจนยงิ่ ข้ึนจะใช้เครือ่ งมืออะไรดีนะ ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/tmVvyayQ71d1FuTb7 วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101) WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT

ส่งิ เล็กๆ ท่ีเรียกว่า Cell 3 นักวิทยาศาสตร์ได้คดิ ค้นและพฒั นาเทคโนโลยีทช่ี ว่ ยใหม้ นุษย์ มองเห็นสงิ่ ต่างๆ ที่มขี นาดเล็ก โดยเร่ิมจากการใชแ้ ว่นขยาย และตอ่ มาไดม้ ีการประดษิ ฐ์กล้องจลุ ทรรศนข์ ึ้นมา กลอ้ งจลุ ทรรศน์ คอื เครื่องมือขยำยขอบเขตของประสำท สมั ผสั ทำงตำ ใหเ้ หน็ สิง่ ท่ีไม่สำมำรถเห็นดว้ ยตำเปลำ่ ได้ เชน่ จุลนิ ทรยี ์ เซลลเ์ ม็ดเลือด เปน็ ตน้ ซง่ึ กลอ้ งจุลทรรศน์ชว่ ย ขยำยขนำดภำพของวัตถขุ นำดเลก็ ไดห้ ลำยเท่ำ นักเรยี นคดิ ว่ากล้องจลุ ทรรศน์ มีส่วนประกอบอะไรบา้ ง เราไปเรยี นรู้ หนา้ ถัดไปกันเลยค่ะ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ท่เี รียกวา่ Cell 4 สว่ นประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ องค์ประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์ ท่ีมำ: https://images.app.goo.gl/ySPcWMXkQEqpFa168 วิธใี ชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ วธิ ใี ช้กลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง (Light microscope) ให้ดำเนินตำมลำดับดงั น้ี 1. วำงกลอ้ งให้ฐำนอยู่บนพ้ืนรองรบั ทีเ่ รียบสมำ่ เสมอเพ่ือใหล้ ำกลอ้ งตงั้ ตรง 2. หมุนเลนส์ใกล้วตั ถุ (objective lence) อนั ท่มี ีกำลงั ขยำยต่ำสดุ มำอยู่ตรงกลำงลำกล้อง 3. ปรับกระจกเงำให้แทน่ วำงวตั ถใุ หแ้ สงสะท้องเขำ้ ลำกล้องเต็มท่ี 4. นำสไลดท์ จี่ ะศึกษำวำงบนแทน่ วำงวตั ถุ ใหว้ ัตถุอยกู่ ลำงบริเวณทแี่ สงผำ่ น แลว้ คอ่ ยๆ หมนุ ปุ่มปรับ ภำพหยำบ (coarse adjustment knob) ใหล้ ำกลอ้ งเลือ่ นลงมำอยู่ใกลว้ ตั ถทุ ีจ่ ะศึกษำมำกที่สดุ โดยระวังอย่ำ ให้เลนสใ์ กล้วตั ถสุ มั ผสั กบั กระจกปิดสไลด์ 5. มองผ่ำนเลนส์ใกล้ตำ (eye lence) ลงตำมลำกล้อง พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภำพหยำบข้ึนช้ำๆ จน เห็นวัตถุที่จะศึกษำ แล้วจึงเปล่ียนมำหมุนปรับปมุ่ ภำพละเอยี ด (fine adjustment knob) เพ่อื ปรับภำพให้ชัด WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ท่ีเรียกวา่ Cell 5 อำจเลือ่ นสไลด์ไปมำชำ้ เพื่อให้ส่ิงที่ต้องกำรศึกษำมำอยกู่ ลำงแนวลำกล้องขณะปรับภำพ ถำ้ เป็นกล้องสมัยกอ่ น ลำกลอ้ งจะเคลื่อนที่ขึน้ และลงเข้ำหำวัตถุ แตถ่ ้ำเปน็ กล้องสมัยใหม่ แทน่ วำงวัตถจุ ะทำหน้ำที่เลื่อนข้ึนลงเข้ำหำ เลนส์วตั ถุ 6. ถำ้ ต้องกำรขยำยภำพให้ใหญ่ขน้ึ ให้หมุนเลนสใ์ กล้วัตถุอันท่ีมีกำลังขยำยสูงขึ้นเขำ้ มำในแนวลำกล้อง และไม่ควรขยบั สไลดอ์ กี แล้วหมนุ ปมุ่ ปรับภำพละเอยี ดเพื่อให้เห็นภำพชัดเจนข้นึ 7. กำรปรับแสงท่เี ข้ำในลำกลอ้ งให้มำกหรอื นอ้ ย ให้หมุนแผ่นไดอะแฟรม ปรับแสงตำมตอ้ งกำร หากอา่ นวิธใี ช้กลอ้ งจุลทรรศน์แล้วยงั ไม่เขา้ ใจ สามารถเขา้ ไปดูวีดิโอนี้กนั ไดเ้ ลยค่ะ https://youtu.be/np5QQ5wfgYg ภำพทีต่ ำมองเห็น จำกกลอ้ งจุลทรรศน์ P เป็นภาพเสมอื นหัวกลบั นะจ๊ะ นน่ั กค็ ือภำพจะกลับ บนเป็นล่ำง กลับซ้ำยเป็นขวำ เชน่ หำกเรำนำอกั ษร ไปดดู ้วยกลอ้ งจุลทรรศน์ ภำพทเี่ ห็นคือ P WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ทเ่ี รียกว่า Cell 6 กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กันในโรงเรียนมีจำนวนเลนส์ใกล้วัตถุต่ำงๆ กันไป เช่น 1 อัน 2 อัน หรือ 3 อัน และมีกำลงั ขยำยตำ่ งๆ กันไป อำจเปน็ กำลงั ขยำยตำ่ สดุ X4, กำลังขยำยขนำดกลำง X10, กำลังขยำยสงู X40, X80 หรือท่ีกำลังขยำยสูงมำกๆ ถึง X100 ส่วนกำลงั ขยำยของเลนส์ใกลต้ ำนัน้ โดยทั่วไปจะเป็น X10 แตบ่ ำง กล้องท่ีเปน็ X5 หรือ X15 กำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์คำนวณไดจ้ ำกผลคณู ของกำลังขยำยของเลนสใ์ กล้ วตั ถุกบั กำลังขยำยของเลนส์ใกลต้ ำ ซงึ่ มกี ำกับไวท้ ่ีเลนส์ กาลงั ขยายของกล้องจุลทรรศน์ = กาลงั ขยายของเลนสใ์ กล้วัตถุ x กาลังขยายของเลนส์ใกลต้ า ตัวอยา่ งโจทย์ เด็กหญงิ ข้ำวฟ่ำงตอ้ งกำรใช้กล้องจลุ ทรรศน์ศึกษำส่ิงมชี วี ิตชนดิ หนึ่ง โดยใชก้ ำลงั ขยำยของเลนส์ ใกล้ตำเทำ่ กับ 10 และกำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุ เท่ำกับ 30 เจะเหน็ ภำพที่มีขนำดใหญก่ วำ่ วัตถุจริงก่ีเท่ำ วิธที ำ กำลงั ขยำยของกล้องจุลทรรศน์ = กำลงั ขยำยของเลนส์ใกลว้ ัตถุ x กำลังขยำยของเลนส์ใกลต้ ำ X= 30 x 10 X= 300 ดงั น้นั เดก็ หญิงข้ำวฟำ่ งจะเหน็ ภำพที่มขี นำดใหญ่กวำ่ วตั ถจุ รงิ 300 เทำ่ ถา้ หากนาน้าคลองมาส่องผา่ นกล้องจลุ ทรรศน์ จะเปน็ อยา่ งไรกัน ถ้าอยากรู้ กดลงิ ค์ดา้ นล่างนี้เลยคะ่ https://youtu.be/tIMJWWpOrjw WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ท่ีเรียกวา่ Cell 7 ใชก้ ล้องจุลทรรศน์เรยี บร้อยแล้ว ตอ้ งเก็บให้ถูกวิธดี ้วยนะจะ๊ การระวังรักษากลอ้ งจลุ ทรรศน์ เนื่องจำกกล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์ที่มีรำคำแพง ส่วนประกอบท่ีสำคัญและรำคำแพงท่ีสุดของ กลอ้ งจุลทรรศน์ คือ เลนส์ กำรใช้และกำรระวงั รักษำกล้องต้องปฏิบัตอิ ยำ่ งถูกวิธี ซึง่ มวี ิธีปฏิบัตดิ งั น้ี 1. กำรยกกล้อง ควรใช้มอื หนึง่ จับที่แขนกล้อง และอีกมือหนงึ่ รองท่ีฐำน และต้องให้ลำกล้องตงั้ ตรง เสมอ เพ่ือป้องกันกำรเลอื่ นหลดุ ของเลนส์ใกล้ตำ ซงึ่ สำมำรถถอดออกไดง้ ่ำย 2. สไลด์และกระจกปดิ สไลด์ตอ้ งไม่เปียก เพรำะอำจทำให้แท่นวำงเกิดสนมิ และทำใหเ้ ลนสใ์ กล้วตั ถุ ชื้น อำจเกดิ รำทีเ่ ลนส์ได้ 3. ขณะที่ตำมองผำ่ นเลนส์ใกล้ตำ หมนุ ปุ่มปรับภำพหยำบ ตอ้ งหมุนใหล้ ำกลอ้ งเล่ือนขนึ้ เท่ำนัน้ หำ้ ม หมนุ ให้ลำกลอ้ งเลือ่ นลง เพรำะเลนสใ์ กล้วัตถุอำจกระทบกระจกสไลด์ ทำให้กระจกสไลด์และเลนส์แตกได้ 4. กำรหำภำพตอ้ งเร่ิมตน้ ดว้ ยเลนสว์ ัตถกุ ำลงั ขยำยตำ่ สดุ กอ่ นเสมอ เพรำะปรับหำภำพสะดวกทส่ี ุด 5. เม่อื ใชเ้ ลนสใ์ กลว้ ตั ถุที่มกี ำลงั ขยำยสงู ถ้ำจะปรับภำพให้ชดั ให้หมนุ เฉพำะปมุ่ ปรับภำพละเอยี ด เท่ำนน้ั 6. ห้ำมใชม้ ือแตะเลนส์ ในกำรทำควำมสะอำดให้ใช้กระดำษสำหรับเช็ดเลนสเ์ ช็ดเท่ำนัน้ 7. เมอื่ ใชเ้ สรจ็ แล้วต้องเอำวัตถุท่ศี ึกษำออก เชด็ แทน่ วำงวัตถแุ ละเลนส์ให้สะอำด หมนุ เลนส์ใกล้วัตถุ กำลังขยำยต่ำสุดใหอ้ ยตู่ รงกลำงกับลำกล้อง และเลื่อนลำกล้องลงตำ่ สุด ปรับกระจกให้อย่ใู นแนวต้งั ไดฉ้ ำกกบั แทน่ วำงวัตถุ เพื่อไม่ใหฝ้ นุ่ ลง แล้วเกบ็ ใสก่ ล่องหรือใสตู้ให้เรียบร้อย WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ที่เรียกว่า Cell 8 ทุกคนรหู้ รอื ไม่ว่ากลอ้ งจลุ ทรรศน์ แบง่ เปน็ ก่ีชนดิ ถา้ ยังไม่รู้ เราไปเรียนรู้ตอ่ ไปกนั เลยคะ่ กลอ้ งจลุ ทรรศน์ แบ่งออกเปน็ 2 ชนิด คือ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง และกล้องจลุ ทรรศนอ์ ิเล็กตรอน กลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใช้แสง กล้องจุลทรรศน์ในระยะแรกเป็นกล้องจุลทรรศน์ชนิดใช้แสง โดยมีแสงจำกหลอดไฟหรือแสงจำกดวง อำทิตยเ์ ปน็ แหล่งกำเนิดแสง กลอ้ งจุลทรรศนช์ นิดน้ีจะมีกำรพฒั นำรูปแบบ เพอ่ื ใช้งำนทแ่ี ตกต่ำงกนั กลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใชแ้ สง ที่มำ : https://images.app.goo.gl/tQ8BJ4bYYQLN1D1m8 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สงิ่ เล็กๆ ทีเ่ รียกว่า Cell 9 กล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบทั้งแบบใชัแสงธรรมดำและใช้รังสีแบบอื่นๆ มีข้อจำกัดใน กำรขยำย ภำพ เพรำะกำลงั ขยำยและกำลังแยกนอกจำกขึ้นอยู่กับลักษณะของเลนส์แลว้ ยังขึน้ อยู่กับ ควำมยำวคลื่นของ แสงที่ใช้อีกด้วย กล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบที่มีคุณภำพดีท่ีสุดแล้วมีกำลังแยกขณะใช้ส่อง ดูวัตถุขนำดเล็ก สุดเพียง 0.2 ไมโครเมตรเท่ำน้ัน ส่วนกำลังขยำยรวมก็ไม่เกิน 2,000 เท่ำ ขณะที่ใช้กำลัง ขยำยสูงสุด ยัง มองเห็นวัตถุภำยในเชลล์ท่ีมีขนำดเล็กเป็นจุด ไม่สำมำรถแยกรำยละเอียดได้ว่ำส่วนนั้นเป็นอะไร จึงมีกำร ค้นคว้ำคิดหำวิธีกำรประดิษฐ์ กล้องจุลทรรศน์ให้มีกำลังขยำยมำกกว่ำนี้ ในที่สุดควำมพยำยำมก็ประสบ ผลสำเร็จ เมื่อนักฟิสิกส์หลำยคนได้แสดงให้เห็นว่ำอิเล็กตรอนมีช่วงคลื่นส้ันกว่ำคล่ืนของแสงมำก จึงมีกำร นำเอำอิเล็กตรอนเขำ้ มำใช้ในกล้องจุลทรรศน์แทนคลื่นแสง และใช้เลนส์แม่เหลก็ แทนเลนส์กระจก เรียกกล้อง ดังกลำ่ ว ว่ำ กลอ้ งจุลทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอน กล้องจลุ ทรรศน์ที่ใช้ในห้องปฏบิ ตั กิ ารใน ห้องเรียนเปน็ กล้องจุลทรรศน์แบบใชแ้ สงนะคะ กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอน กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนได้เริ่มประดิษฐ์และพัฒนำเป็นลำดับเริ่มตั้งแต่ปีพุทธศักรำช 2440 เม่ือ จอรน์ โจเชฟ ทอมสนั (John Joseph Thomson ค.ศ.1856-1939) ชำวอังกฤษเปน็ ผคู้ ดิ ค้นพบอิเล็กตรอนและ วดั อัตรำส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนได้ ต่อมำปีพุทธศักรำช 2472-2474 แมกช์นอลล์ (Max Knoll) และ เอิร์นรุสกำ (Ernst Ruska) ชำวเยอรมัน ได้สร้ำงกล้องจลุ ทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องทะลุผ่ำนหรือทรำนมสิ ชัน (TEM : Tranmisson electron microscope) ได้สำเร็จเป็นเครื่องแรกเม่ือปีพุทธศักรำช 2478 แมกช์นอลล์ และรุสกำได้อธิบำยทฤษฏีของ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ ส่องกรำดหรือสเกนนิง (SEM :Scanning electron microscope) และในปีพุทธศักรำช2481 เอ็มวอนเอนเดนนี (M.Von Andenne) สำมำรถพัฒนำ กล้องแบบ SEM ได้สำเร็จเปน็ เครื่องแรก WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่งิ เล็กๆ ท่เี รียกว่า Cell 10 กล้องจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนแบบส่องกรำด (SEM) ท่ีมำ : https://images.app.goo.gl/Zh8cJ2FLFCifScNt5 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ TEM เป็นกล้องท่ีใช้ศึกษำโครงสร้ำงหรือองค์ประกอบของเชลล์และ เน้ือเย่ือในระดับโมเลกุล กำรใช้ต้องมีกำรเตรียมตัวอย่ำงด้วยเทคนิคพิเศษโดยเฉพำะ สำหรับใช้ดูตัวอย่ำงใน ลักษณะภำพตัดขวำง (cross section) ตวั ภำพตดั ขวำง (cross section) ของซีเลยี ทม่ี ำ : https://images.app.goo.gl/trytaf7tBhrDs8aX8 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกรำด SEM เป็นกล้องท่ีใช้ศึกษำโครงสร้ำงหรือองค์ประกอบ พื้นผิวของเซลล์เน้ือเยื่อ เละวัตถุได้ โดยทำให้องประกอบต่ำงๆ ของเซลล์หรือวัตถุให้มีควำมเข้มของเงำ แตกตำ่ งกัน ในปีพุทธศักรำช 2482 บริษัท Simen ได้ผลิตกลอ้ งแบบสอ่ งทะลุผำ่ น (TEM) ออกจำหนำ่ ยเป็นเคร่อื ง แรก และในปีพุทธศักรำช 2499 บริษัท Compirde ได้ผลติ กล้องแบบสอ่ งกรำด SEM ออกจำหน่ำยเป็นเคร่ือง แรก ต่อมำได้มีกำรพัฒนำเรื่อยๆจนกระทั่งปีพุทธศักรำช 2513-ปัจจุบัน กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนทั้งสอง แบบได้กลำยเป็นเคร่ืองมือวิทยำศำสตร์ที่สำคัญมำกสำหรับใช้ในกำรแพทย์ วิทยำศำสตร์ กำรวิจัย กำรเกษตร ซึง่ เปน็ ทีย่ อมรบั และนยิ มใชก้ นั อยำ่ งกวำ้ งขวำงทวั่ โลก WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สง่ิ เล็กๆ ทเ่ี รียกว่า Cell 11 กล้องจุลทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนแบบส่องผำ่ น (TEM) ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/8W8mxR5zNPKgzMAV9 หลักกำรท้ังหมดของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน เหมือนกับกล้องท่ีเลนส์กระจกเพียงแต่เปลี่ยนจำก เลนส์แก้วเป็นแม่เหลก็ และ ใช้อิเล็กตรอนแทนแสง เน่ืองจำกสำมำรถปรับอิเล็กตรอนให้ส้ันแล้ววิง่ ไปตำมเลนส์ แม่เหล็กภำพจงึ ขยำยได้มำก สำมำรถส่องดูวัตถุขนำดเลก็ ทสี่ ดุ ประมำณ 0.0005 ไมโครเมตร หรอื เล็กกว่ำวตั ถุ ที่มองเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบธรรมดำ ถึง 400 เท่ำ ปัจจุบันกล้องนี้สำมำรถขยำยได้สูงสุดถึง 500,000 เท่ำหรือมำกกว่ำ ภำพท่ีเกิดขึ้นเป็นภำพเสมือนเกิดบนจอที่ฉำบด้วยสำรเรืองแสงเช่นเดียวกับ จอรบั ภำพโทรทศั น์ เมื่ออิเลก็ ตรอนตกลงบนจอทำให้วตั ถุที่ฉำบด้วยสำรเรอื งแสงนัน้ เปลง่ รงั สีสเี ขียวแกมเหลอื ง ออกมำ ผู้ใช้สำมำรถศึกษำ ภำพท่ีปรำกฏบนจอโดยตรง หรือบันทกึ ภำพนนั้ ไว้ด้วยกล้องถ่ำยภำพท่ีอยู่ตรงส่วน ลำ่ งสดุ ของกล้องกไ็ ด้ ตาราง เปรียบเทียบกล้องจลุ ทรรศน์แบบใชแ้ สงและกล้องจุลทรรศน์อเิ ลก็ ตรอน สงิ่ เปรียบเทียบ กล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สง กลอ้ งจุลทรรศนอ์ เิ ล็กตรอน ตวั กลางทีใ่ ช้สอ่ งผา่ นวตั ถุ ลำแสงธรรมดำ ลำอิเล็กตรอน เลนสแ์ กว้ เลนส์ในตัวกลอ้ ง มอี ำกำศ เลนสแ์ มเ่ หล็กไฟฟำ้ ตัวกลอ้ ง เลนสแ์ กว้ สญุ ญำกำศ ไม่ต้องใช้ เลนสร์ วมแสง เลนสแ์ ม่เหลก็ ไฟฟ้ำ ระบบถ่ายเทความร้อน ภำพเสมือน หวั กลับ ใช้นำ้ มีชีวิตหรอื ตำยแลว้ ภาพที่ได้ ภำพจริงปรำกฏบนจอรบั ภำพ เซลลท์ ่ใี ชศ้ ึกษา 1,000 เท่ำ ตำยแลว้ กาลงั ขยายสงู สดุ 0.2 ไมโครเมตร ขนาดวัตถุเลก็ สุด 500,000 เทำ่ 0.0005 ไมโครเมตร WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สง่ิ เล็กๆ ทีเ่ รียกว่า Cell 12 ภำพของวตั ถทุ ีน่ ำมำศึกษำกับกลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใช้แสง และกล้องจุลทรรศนอ์ ิเล็กตรอนท้งั 2 แบบ จะปรำกฏแตกต่ำงกัน ดงั ภำพ ภำพถ่ำยดว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์แบบใช้แสง ทม่ี ำ : https://images.app.goo.gl/CsoC6xytJH4ggiao9 ภำพถ่ำยเมด็ เลอื ดแดงด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลก็ ตอนแบบส่องผำ่ น (TEM) ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/3oSU37MHNEDj4fri9 ภำพถำ่ ยเม็ดเลอื ดแดงดว้ ยกล้องจุลทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนแบบสอ่ งกรำด (SEM) ท่ีมำ : https://images.app.goo.gl/ByYKcRaBUzz5Z1Pn8 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิง่ เล็กๆ ท่ีเรียกว่า Cell 13 จบบทแรกแลว้ ไม่ยากเลยใชไ่ หมค่ะ ถา้ อย่างนั้นเราไปทาแบบทดสอบหลังเรียนกนั ค่ะ กดลงิ ค์ด้านล้างนนี้ ะคะ https://bit.ly/2Xkmek3 ไมม่ สี ่งิ ไหนทที่ าไม่ได้ ถา้ เรามุ่งมน่ั และตั้งใจ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่ิงเล็กๆ ที่เรียกวา่ Cell 2 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สงิ่ เล็กๆ ที่เรียกวา่ Cell 1156 ก่อนจะเริ่มเรียนรู้เรื่องตอ่ ไป ลองมาทาแบบทดสอบ กอ่ นเรียน เร่ือง ลักษณะและรูปรา่ งของเซลลส์ ง่ิ มชี ีวติ ทีล่ งิ คด์ า้ นลา่ งน้ีเลยคะ่ https://bit.ly/3cP8vYU สิ่งมชี วี ติ มหี ลายชนิด แตล่ ะชนิดมรี ูปร่างลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกัน สามารถจัดได้เป็นหลายกลุ่มทั้งกลุ่มพืช กลุ่มสตั ว์ และ สิง่ มชี วี ิตทีไ่ ม่อยใู่ นกลุ่มพืชและกลมุ่ สัตว์ เชน่ เหด็ รา แบคทีเรีย แต่สง่ิ มีชีวติ ทุกชนดิ ล้วนประกอบด้วยหนว่ ยพื้นฐาน ที่แสดงสมบตั ิของการมชี วี ติ น่ันก็คือ เซลล์ (Cell) WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่ิงเล็กๆ ท่ีเรียกว่า Cell 16 เซลล์ คอื หนว่ ยท่เี ล็กท่ีสดุ ของส่ิงมีชวี ติ มีรูปร่ำงหลำยแบบ เพือ่ ให้เหมำะสมกบั กำรทำหน้ำท่ที ่ีแตกต่ำงกัน ขนาดและรูปรา่ งของเซลล์ ขนาดของเซลล์ เซลล์มขี นำดต่ำงๆกัน ตั้งแตข่ นำดเลก็ เช่น เซลลแ์ บคทีเรียซึ่งมีขนำดประมำณ 1 ไมโครเมตร ไปจนถงึ เซลล์ขนำดใหญ่ เช่น เซลล์พืชทวั่ ไปมขี นำด 100 ไมโครเมตร สำหรับเซลล์ท่ีขนำดใหญ่ ท่สี ุด คือ เซลล์ไขน่ กกระจอกเทศซ่ึงอำจมีขนำดหลำยเซนติเมตร ภำพขนำดเซลลต์ ำ่ งๆ ท่ีมำ : https://images.app.goo.gl/zcovmL8k3SercNcR7 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สงิ่ เล็กๆ ที่เรียกว่า Cell 17 รูปร่างของเซลล์ เนื่องจำกเซลล์มีลักษณะเฉพำะและถูกควบคุมทำงพันธุกรรม จึงทำให้รูปร่ำงของ เซลล์มีควำมแตกต่ำงกันออกไป แม้แต่เซลล์ของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันแต่ทำหน้ำท่ีแตกต่ำงกันก็จะมีรูปร่ำง ต่ำงกัน เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดงจะมีรูปร่ำงกลม เพ่ือให้เคล่ือนที่ไปได้สะดวกในเส้นเลือด เซลล์ประสำทมี ส่วนท่ยี ืน่ ยำวและแตกแขนงออกไป เพ่ือทำหน้ำท่ีส่งกระแสประสำทไปยังส่วนต่ำงๆ เป็นต้น รูปรำ่ งของเซลล์เม็ดเลอื ดแดง ที่มำ : https://images.app.goo.gl/fjH2E1rqy6MUv8Pv7 รปู รำ่ งของเซลลป์ ระสำท ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/JHZ3Yq8oBZkFrm3V9 รปู รำ่ งเซลล์กลำ้ เน้อื แบบต่ำงๆ ท่มี ำ : https://images.app.goo.gl/JqEyw6hYb2P3qGgX9 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สง่ิ เล็กๆ ทีเ่ รียกวา่ Cell 18 เซลล์ของสง่ิ มีชวี ิตแบง่ เปน็ 2 ประเภท คอื เซลล์ของส่ิงมีชวี ติ เซลล์เดียว และเซลลข์ องสิ่งมชี ีวติ หลำย เซลล์ เซลล์ของส่งิ มชี วี ิตเซลล์เดียว เซลลข์ องส่งิ มีชีวติ เซลล์เดียว มรี ูปรำ่ งและโครงสร้ำงทีไ่ ม่ซับซ้อน ดำเนินกจิ กรรมท้ังหมดในกำร ดำรงชีวิต เช่น กินอำหำร ย่อยอำหำร เคลือ่ นท่ี สบื พันธ์ุ ได้ภำยในเซลล์เพียง 1 เซลล์ เช่น อะมบี ำ รูปรำ่ งไม่แนน่ อน เคลอื่ นท่โี ดยใชข้ ำเทียม ภำพอะมบี ำ ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/8hcNTJw9wt1Kj6cX9 พำรำมีเซียม รูปรำ่ งเรียวยำว คลำ้ ยรองเท้ำแตะ มีขนรอบๆ ตวั และใช้ขนในกำรเคลื่อนท่ี ภำพพำรำมเี ซียม วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101) ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/Fg4eSRQT4wH4encR7 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT

สงิ่ เล็กๆ ท่เี รียกวา่ Cell 19 ยูกลนี ำ รปู รำ่ งรียำว มีแฟกเจลลำ อยูบ่ ริเวณดำ้ นบน ใช้ในกำรเคลื่อนที่ ภำพยกู ลีนำ ที่มำ : https://images.app.goo.gl/n6eSAi1SXZYfRgrc8 เปน็ พืชเซลล์เดียวอย่รู วมกนั เป็นโคโลนี (Colony) ทรงกลมเคล่ือนที่ได้ แต่ละ เซลลม์ ีหนวดสองเส้น มีคลอโรพลำสต์ ภำพวอลวอกซ์ ทม่ี ำ : https://images.app.goo.gl/LrK3u5UnDuLjStBN7 อยากรู้กันไหมว่า พารามีเซยี มมันเคล่ือนทแ่ี ละ กนิ อาหารอยา่ งไร ถา้ อยากรู้กดท่ลี งิ ค์ตรงนี้เลย https://youtu.be/sn3MTYNe8mM WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สง่ิ เล็กๆ ท่เี รียกวา่ Cell 20 เซลล์ของสิ่งมีชวี ิตหลายเซลล์ เซลล์ของสิง่ มชี ีวติ หลำยเซลล์ มีโครงสรำ้ งซบั ซ้อนมำกขึน้ เซลล์จำกบริเวณตำ่ ง ๆ มีลักษณะและ รูปร่ำงต่ำงกัน เพ่ือให้เหมำะสมที่จะทำหน้ำที่ อยำ่ งเฉพำะเจำะจง เซลลป์ ระสาท มลี กั ษณะเสน้ ยำว และมใี ยประสำทเป็นกิ่งแขนงมำกมำย ท้งั ยำวและส้นั เพื่อรับและส่งกระแส ประสำท ภำพเซลล์ประสำท ทมี่ ำ : https://images.app.goo.gl/8FvsaGrhm91YgMyP6 เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว มีรูปรำ่ งกลม ไมม่ ี สี มีขนำดใหญ่กวำ่ เซลล์เม็ดเลอื ดแดง แต่มจี ำนวนน้อยกว่ำ มนี วิ เคลยี สขนำด ใหญ่ ทำหนำ้ ที่ทำลำยเชื้อโรค ภำพเซลลเ์ ม็ดเลือดขำว ทมี่ ำ : https://images.app.goo.gl/ZM3D22tXZMXWHm9G6 ภำพเซลลอ์ สจุ ิ เซลล์อสจุ ิ ประกอบดว้ ย 3 สว่ น คอื หวั ลำตวั หำง โดยหำงเปน็ โครงสรำ้ ง ทม่ี ำ : https://images.app.goo.gl/sqjKUetpDB5fxjGQ7 ท่ีใชใ้ นกำรเคลือ่ นที่ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ทเ่ี รียกว่า Cell 21 เซลลช์ น้ั ในของใบ มีรูปรำ่ งยำวตอ่ กนั ภำยในมีเม็ดคลอโรพลำสต์จำนวนมำก ภำพเซลลช์ ัน้ ในของใบ เซลล์คุม มีรูปรำ่ งคล้ำยเมลด็ ถ่ัว 1 คู่ ประกบกนั ทำใหเ้ กิดรตู รงกลำง เปน็ ทำง ท่มี ำ : https://images.app.goo.gl/qg6UpM2AYRp5TTEM7 แลกเปล่ียนแก๊สและไอนำ้ ระหว่ำง ภำยในและภำยนอก ภำพเซลลค์ มุ ท่ีมำ : https://images.app.goo.gl/8gGn8waxWGjdRvvd7 มาดูโครงสร้างของเซลลอ์ สุจิหรอื Sperm cell กันดีกว่าค่ะ กดตรงน้เี ลย https://youtu.be/sOVpgmxBiqY WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สง่ิ เล็กๆ ทีเ่ รียกวา่ Cell 22 การจัดระบบของเซลลใ์ นสงิ่ มีชีวติ หลายเซลล์ สงิ่ มีชีวติ หลำยเซลลม์ ีกำรจัดเรียงตัวของเซลล์ โดยเริม่ จำก 1. เซลลท์ ีร่ ูปร่ำงเหมือนกนั และทำหนำ้ ที่อยำ่ งเดียวกันมำอยู่รวมกนั เรียกว่ำ เนื้อเยอ่ื (tissue) เชน่ เนอ้ื เยอ่ื ประสำท เนื้อเย่อื บผุ นังลำไส้ 2. เน้อื เยอ่ื หลำยๆ ชนดิ ที่อยรู่ วมกัน ทำหน้ำท่ีอย่ำงเดียวกนั เรียกว่ำ อวัยวะ (organ) เชน่ กระเพำะ อำหำร ประกอบด้วย เน้ือเย่ือบุผวิ เน้ือเยอ่ื กล้ำมเนื้อ และเน้ือเยื่อประสำท ในพชื ก็มีอวัยวะต่ำง ๆ และ แต่ละอวยั วะประกอบดว้ ยเน้ือเยื่อหลำยชนิด เชน่ ใบไมป้ ระกอบดว้ ย เนอ้ื เยื่อผิวใบ เนอ้ื เยื่อลำเลียงนำ้ เนือ้ เย่อื ลำเลยี งอำหำร เปน็ ต้น 3. อวัยวะหลำยๆ อวยั วะทท่ี ำงำนรว่ มกนั ในกำรทำหน้ำท่ีอย่ำงใดอย่ำงหนง่ึ เรยี กวำ่ ระบบอวัยวะ (organ system) เช่น คนมรี ะบบทำงเดินอำหำรประกอบด้วย ปำก กระเพำะอำหำร ลำไส้เลก็ ลำไสใ้ หญ่ ตับ และตับอ่อน สรุปการจดั ระบบของเซลลใ์ นสิ่งมีชวี ติ หลายเซลลส์ ามารถแสดงได้ดังแผนภาพ เซลล์ เนอ้ื เยอ่ื อวัยวะ รำ่ งกำย ระบบอวยั วะ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิง่ เล็กๆ ที่เรียกว่า Cell 23 ภำพกำรจัดระบบของเซลล์ในส่ิงมชี ีวิตหลำยเซลล์ ทมี่ ำ : https://images.app.goo.gl/ShMSFFxvKS1yNmj27 มาดกู ารจัดระบบเซลลข์ องของส่ิงมชี ีวิตหลายเซลล์ จากวีดิโอนี้เพิม่ เติมกันค่ะ https://youtu.be/VO2QkpwAG9o WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สงิ่ เล็กๆ ท่ีเรียกว่า Cell 24 อา่ นจบบทท่ี 2 กนั แลว้ เห็นไหมว่าวิทยาศาตร์สนุกกว่าท่ีคิด ถ้าเชน่ น้ันไปทดสอบหลังเรียนกนั เลยดีกว่าคะ่ กดลงิ คต์ รงน้ีเลย https://bit.ly/2LL4xVn ความพยายามคอื หนทางแหง่ ความสาเร็จ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ท่เี รียกวา่ Cell 25 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่งิ เล็กๆ ท่เี รียกว่า Cell 26 ถงึ บทท่ี 3 กันแล้ว พร้อมจะเรยี นรู้กันต่อหรือยงั ค่ะ ถา้ พร้อมแลว้ เรามาทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรอ่ื ง เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ ที่ลิงค์ด้านล่างน้กี ันเลยคะ่ https://bit.ly/2WNsQZa รูห้ รือไม่ วา่ ใครเป็นคนใช้คาว่าเซลลเ์ ป็นคนแรกคะ ถา้ อยากรู้คาตอบ ไปเรียนรู้พรอ้ มกันหนา้ ถดั ไปเลยคะ่ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

การค้นพบเซลล์ ส่ิงเล็กๆ ทเ่ี รียกวา่ Cell 27 โรเบิรต์ ฮุค (Robert Hooke) เป็นคนแรกทใี่ ช้กล้องจลุ ทรรศน์ศึกษำชิ้นไม้คอร์กท่ีตดั เป็นแผน่ บำงๆพบวำ่ ไมค้ อรก์ ประกอบด้วยชอ่ งรปู เหล่ยี มเช่อื มต่อกันเปน็ จำนวนมำกจงึ ใหช้ ่อื ว่ำ “เซลล์ (cell)” มีควำมหมำยว่ำ “ห้องเลก็ ๆ” ในปี ค.ศ.1665 ภำพกลอ้ งจุลทรรศน์และเซลลข์ องไม้คอรก์ ของโรเบริ ์ตฮุก ทม่ี ำ : https://images.app.goo.gl/RN3CvN8jJdP9cTeHA ในปี ค.ศ.1838 มทั ทีอัส ยาคอบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) ทำกำรศึกษำเน้ือเย่ือพืชชนิดตำ่ ง ๆ สรปุ วำ่ “เน้ือเยื่อพืชทุกชนิดประกอบดว้ ยเซลล์” WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ท่ีเรียกวา่ Cell 28 ในปี ค.ศ.1839 ทีโอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwann) ทำกำรศึกษำเน้ือเย่ือของสัตว์ สรุปว่ำ “เนือ้ เยื่อทกุ ชนดิ ประกอบดว้ ยเซลล์” ในเวลำตอ่ มำ Schleiden และ Schwan ไดร้ ่วมกนั ตั้ง ทฤษฎเี ซลล์ (Cell Theory) มสี ำระสำคัญ คือ “สิ่งมีชวี ติ ทั้งหลาย ประกอบด้วย เซลล์ และผลติ ภัณฑ์ของเซลล์” (All animal and plant are composed of cell and products) และในปี ค.ศ.1855 Rudolf Virchow ได้ศึกษำกำรเจริญเตบิ โตของ เซลลแ์ ละกำรเพม่ิ จำนวนเซลลจ์ ำกเซลล์ทเ่ี จริญเตบิ โต จึงเพ่มิ เติมทฤษฎีเซลล์ว่ำ “เซลลท์ ุกชนิดยอ่ มมีกำเนิดมำ จำกเซลลท์ ีม่ ีอยูก่ ่อน” กำรศกึ ษำเกย่ี วกับเซลล์ในปจั จบุ นั ก้ำวหน้ำไปมำกและคน้ พบควำมจรงิ เก่ียวกับเซลลม์ ำกมำย ทฤษฎี เซลล์ได้พฒั นำมำเป็นทฤษฎีในปจั จบุ นั ซึ่งถือเปน็ รำกฐำนสำคญั ของชวี วทิ ยำสมัยใหม่ มีสำระสำคญั คือ 1. สง่ิ มชี ีวิตทง้ั หลำยประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑข์ องเซลล์ 2. เซลลท์ ่ีเกดิ ใหม่ย่อมต้องมำจำกเซลลเ์ ดมิ เทำ่ นัน้ 3. เซลล์ทกุ ชนิดมีสว่ นประกอบพืน้ ฐำนและกระบวนกำรสรำ้ งและสลำย (Metabolism) เหมือนกนั 4. พฤติกรรม กจิ กรรม และกระบวนกำรตำ่ ง ๆ ที่ดำเนินอยู่ของสง่ิ มชี วี ิต เป็นผลมำจำกกำรทำงำนร่วม และประสำนกนั ของกลุ่มเซลล์ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่งิ เล็กๆ ทเี่ รียกว่า Cell 29 ส่งิ มีชีวติ มีหลายชนิด แตล่ ะชนิดมรี ูปรา่ งและ รูปแบบการดารงชีวติ ทแ่ี ตกต่างกนั เช่น พชื สามารถสร้างอาหารเองได้ ส่วนสัตว์สร้างเองไม่ได้ ต้องกินสง่ิ มีชีวิตอื่นเป็นอาหาร แตท่ ง้ั พชื และสัตว์ ตา่ งมีเซลลเ์ ป็นหน่วยพื้นฐาน แล้วคดิ วา่ เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั วม์ รี ูปร่างและโครงสรา้ งเหมือนกันหรือ แตกต่างกนั หรอื ไม่ เซลลจ์ ะมีโครงสรำ้ งและหนำ้ ทีค่ ลำ้ ยคลงึ กัน แตจ่ ะ ตำ่ งกนั ไปบำ้ งข้นึ กบั ชนิดของเซลล์ เชน่ เซลล์พชื มกั มีรูปร่ำง เป็นเหลี่ยม มผี นังเซลล์ห่อหุ้ม มคี ลอโรพลำสต์ แต่ไม่มีเซนท รโิ อล ซงึ่ เป็นส่วนท่ีเกี่ยวขอ้ งกับกำรแบ่งเซลล์ สว่ นเซลลส์ ตั ว์มี รูปรำ่ งไมแ่ น่นอน เพรำะไม่มีผนงั เซลล์ ไมม่ ีคลอโรพลำสต์ แตม่ ีเซนทรโิ อล ถงึ แม้วำ่ รูปรำ่ งของเซลลส์ ง่ิ มีชวี ติ จะแตกตำ่ งกนั แต่ โครงสร้ำงหลกั ก็ยงั คงมเี หมือนกัน คอื จะมีเยื่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียส และไซโทพลำสซึม WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่ิงเล็กๆ ท่เี รียกวา่ Cell 30 สว่ นประกอบของเซลล์ทสี่ าคญั ท่ีพบท้ังในเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ตำ่ งมโี ครงสร้ำงพืน้ ฐำนท่ีเหมอื นกัน เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) ภำพเยื่อหุ้มเซลล์ เป็นสว่ นท่หี ่อหมุ้ เซลล์ กน้ั สว่ นท่อี ยู่ ท่มี ำ : https://images.app.goo.gl/kz3wuVu1eCZvV7bM9 ภำยในนิวเคลียสกบั สิ่งแวดล้อม ภำยนอกเซลล์ มีลกั ษณะเป็นเยอ่ื บำงๆ ซ่ึงเปน็ สำรประเภทโปรตีนและไขมนั ทำหนำ้ ท่หี ่อหุ้มไซโทพลำสซมึ ให้ รวมกนั อยู่ไดแ้ ละทำหน้ำที่ควบคุม ปรมิ ำณและชนดิ ของสำรท่ผี ่ำนเขำ้ ออก จำกเซลล์ เช่น นำ้ อำกำศ ของเสยี เกลือแร่ และอ่นื ๆ เย่ือหมุ้ เซลล์มสี มบตั ิ เป็นเยื่อเลอื กผำ่ น (semipermeable membrane) ไซโทพลาสซึม (cytoplasm) ภำพไซโทพลำสซึม มลี กั ษณะเปน็ ของเหลวภำยในเซลล์ท่ี ท่มี ำ : https://images.app.goo.gl/b3F8e67TMxcdvrDA8 อยรู่ อบๆ นิวเคลียส ประกอบด้วย สำรประกอบหลำยชนดิ เช่น นำ้ ตำล วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101) โปรตนี ไขมัน คำรโ์ บไฮเดรตและเกลือ แรต่ ำ่ งๆ และยังมีออร์แกเนลล์ (organelle) ซ่ึงเปรยี บเหมอื นอวยั วะ ของเซลลท์ ่ีมี โครงสร้ำงที่มรี ปู รำ่ ง ลักษณะและหนำ้ ท่แี ตกต่ำงกันอยูใ่ น ไซโทพลำสซึม WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT

ออรแ์ กเนลล์ (organelle) คอื สงิ่ เล็กๆ ท่เี รียกว่า Cell 31 โครงสรำ้ งย่อยที่มีขนำดเล็กอย่ภู ำยใน ภำพออรแ์ กเนลต่ำงๆ เซลลแ์ ละมีหนำ้ ทเี่ ฉพำะ ท่ีอยู่ภำยในไซ โทพลำสซมึ เช่น ท่มี ำ : https://images.app.goo.gl/sXMxKRMvnk3SRKreA แวคิวโอล (vacuole) เปน็ ถงุ ใสสำหรบั เก็บอำหำรและของเสียก่อนถูกขับออก ภำพโครงสร้ำงนิวเคลียส นอกเซลล์ แวคิวโอลในเซลล์พืชมขี นำด ใหญ่ สว่ นแวคิวโอลในเซลล์สตั ว์มีขนำด ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/iqw4Lm87mA3XSQvz9 เล็กกว่ำและมีจำนวนมำกกวำ่ ไรโบโซม (ribosome) เปน็ แหลง่ วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101) สังเครำะหโ์ ปรตีน ไมโทคอนเดรีย (Mitocondria) เป็น แหลง่ สร้ำงพลังงำนใหเ้ ซลล์ ร่างแหเอนโดพลาซึม (Endoplasmic reticulum) มี 2 ชนดิ คือ ร่ำงแหเอน โดพลำซมึ แบบขรขุ ระ ทำหน้ำทส่ี รำ้ งและ ขนส่งโปรตีน และแบบเรยี บ ทำหนำ้ ท่ี สงั เครำะหส์ ำรพวกไขมนั และรำ่ งแห เอนโดพลำซึมแบบเรียบ กอลจิบอดี (golgi body) ทำหนำ้ ที่ ดัดแปลงโปรตนี ท่ไี ดจ้ ำกรำ่ งแห เอนโดพลำซึม นวิ เคลยี ส (Nucleus) มรี ูปรำ่ ง ค่อนข้ำงกลม มีเยอื่ ห้มุ 2 ชั้น ภำยใน นิวเคลยี สมีสำรทท่ี ำหนำ้ ท่ีควบคุมกำร ถ่ำยทอดลกั ษณะทำงพนั ธกุ รรม จำกพ่อ แมไ่ ปสลู่ ูกหลำนและควบคุมกำรทำงำน ของเซลล์ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT

ส่งิ เล็กๆ ทเี่ รียกว่า Cell 32 ส่วนประกอบของเซลลท์ พี่ บเฉพาะในเซลล์พืช เซลล์พืช คอื หน่วยชวี ิตเล็กๆ ซึง่ แสดงสมบตั ิของพชื เซลลม์ ีอยูใ่ นทุกสว่ นของพชื อำจจะมีรูปร่ำง หนำ้ ที่และสว่ นประกอบแตกต่ำงกันบำ้ ง ผนังเซลล์ (cell wall) อยู่ช้ันนอกสดุ ของเซลล์พืช เป็นผนงั แข็งแรงซงึ่ ส่วนใหญ่ สรำ้ งจำกเซลลโู ลส ซ่งึ เป็นคำร์โบไฮเดรตที่มี โมเลกลุ ใหญ่ ทำใหเ้ ซลลท์ นทำน แข็งแรง แมว้ ำ่ เซลลอ์ ำจตำยแล้วกต็ ำม ผนงั เซลล์ ทำหน้ำท่เี พิ่มควำมแข็งแรงและป้องกนั อันตรำยใหแ้ กเ่ น้ือเยื่อพืช ซง่ึ ผนงั เซลล์มี เฉพำะในเซลล์พชื เทำ่ นัน้ ภำพผนงั เซลล์ ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/JVnLXra7quc8Z6897 คลอโรพลาสต์ (chloroplast) พบในไซโทพลำสซึมของเซลล์บำงชนิด มลี ักษณะเป็นเม็ดสีเขียว มเี ยื่อหมุ้ 2 ชัน้ โดยเย่อื ชั้นนอกทำหนำ้ ทีค่ วบคุมโมเลกุล ของสำรท่ผี ำ่ นเข้ำออก ชั้นในมีสำรสีเขยี ว ทีเ่ รียกว่ำ คลอโรฟิลล์ (chlorophyll) เก่ยี วข้องกับกำรรับพลงั งำนแสง และมี ของเหลวที่ประกอบด้วยเอนไซมห์ ลำยชนิด ทใ่ี ชใ้ นกำรสร้ำงอำหำรของพืช ภำพคลอโรพลำสต์ ทม่ี ำ : https://images.app.goo.gl/9At6Jdcri7uBqszB8 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ท่เี รียกวา่ Cell 33 สว่ นประกอบของเซลลท์ พ่ี บในเซลล์สัตว์ เนือ้ เยอ่ื ของเซลลส์ ตั ว์มลี ักษณะอ่อนนุ่ม ไมแ่ ข็งแกร่งเหมือนเนือ้ เยอ่ื ของพชื เน่ืองจำกเซลลพ์ ชื และ เซลล์สตั ว์มโี ครงสรำ้ งบำงอย่ำงทแ่ี ตกต่ำงกนั ไลโซโซม (lysosome) เปน็ ออรแ์ กเนลลท์ ่ี พบมำกในเซลลส์ ตั ว์ ลักษณะเปน็ ถงุ กลมรี ทำหน้ำยอ่ ยสำรอำหำรภำยในเซลล์และยอ่ ย สว่ นของเซลลท์ ี่ได้รับควำมเสียหำยหรือ อนภุ ำคแปลกปลอมท่เี ขำ้ มำภำยในเซลล์ ภำพไลโซโซม ที่มำ : https://images.app.goo.gl/d2coYNwwBogCaRkdA รไู้ ว้นะ เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตวจ์ ะมีลกั ษณะและรปู รำ่ งแตกตำ่ งกัน แตม่ ีโครงสรำ้ งพืน้ ฐำนหรือส่วนประกอบที่สำคัญภำยในเซลล์ คลำ้ ยคลงึ กนั พชื เป็นสง่ิ มีชวี ติ ทม่ี โี ครงสรำ้ งของเซลล์และเนอื้ เยือ่ ท่ี แขง็ แรงมำกกวำ่ เน้ือเยื่อของสัตว์ เนอ่ื งจำกในเซลล์พชื มีโครงสรำ้ ง ผนังเซลล์ทแี่ ขง็ แรง WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่งิ เล็กๆ ทเี่ รียกว่า Cell 34 เม่ือนำเซลล์สำหรำ่ ยหำงกระรอก เซลลเ์ ยื่อหอม และเซลลว์ ำ่ น กำบหอยมำสอ่ งดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ นักเรียนจะมองเหน็ ดังรปู เซลลส์ าหร่าย หางกระรอก เซลล์เย่ือหอม เซลล์วา่ น กาบหอย เซลล์สำหร่ำยหำงกระรอก และเซลล์เย่ือหอม มีรูปร่ำงเหมือนกนั คือเปน็ ช่องส่ีเหลี่ยม เซลล์ว่ำนกำบหอย มีรปู ร่ำง 2 แบบ คือ แบบเปน็ ชอ่ งสี่เหลี่ยม และแบบคลำ้ ยเมลด็ ถว่ั ซ่งึ เรียกว่ำ เซลล์คุม โดยจะพบเมด็ คลอโรพลำสต์ที่เซลล์คุมด้วย ส่วนเซลล์สำหรำ่ ยหำงกระรอกจะพบเม็ดคลอโรพลำสต์ แต่เซลลเ์ ยอ่ื หอม ไมพ่ บคลอโรพลำสต์ แต่จะพบท่ีใบของตน้ หอม WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สง่ิ เล็กๆ ทเี่ รียกวา่ Cell 35 ภาพแสดงส่วนประกอบภายในของเซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์ ภำพส่วนประกอบเของเซลล์พืช ที่มำ : https://images.app.goo.gl/5cBoYHABmuP6S6tHA ภำพส่วนประกอบเของเซลล์สัตว์ ที่มำ : https://images.app.goo.gl/T2xRrdKKmjrUGNqF8 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่ิงเล็กๆ ทีเ่ รียกวา่ Cell 36 ตารางเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ การเปรียบเทยี บ เซลลพ์ ชื ชนิดของเซลล์ ความเหมือน มเี ยื่อหมุ้ เซลล์ เซลลส์ ตั ว์ มีนวิ เคลยี ส ความแตกตา่ ง มไี ซโทพลำสซึม มเี ยือ่ หุ้มเซลล์ มรี ปู ร่ำงสเี่ หลี่ยม มนี วิ เคลียส มีคลอโรพลำสต์ มีไซโทพลำสซึม มีคลอโรฟลิ ล์ มรี ูปร่ำงกลมรี มีผนงั เซลล์ ไมม่ ีคลอโรพลำสต์ มแี วคิวโอลขนำดใหญ่ ไม่มีคลอโรฟิลล์ พบไลโซโซมน้อยมำก ไมม่ ผี นังเซลล์ มแี วคิวโอลขนำดเล็ก มไี ลโซโซม มำดูกำรต์ นู เร่อื ง ควำมแตกต่ำงระหว่ำงเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั วก์ ัน เพือ่ ใหเ้ กิดควำมเข้ำใจกันมำกขึ้นดกี วำ่ กดตรงลงิ คน์ ้เี ลยคะ่ https://youtu.be/Hbpe3FhsQp8 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สง่ิ เล็กๆ ทเ่ี รียกว่า Cell 37 เปน็ อยา่ งไรกันบ้างค่ะ เรยี นรู้กนั ไปหลายเร่อื งแล้ว คราวนีล้ องมาทาแบบทดสอบหลังเรียนกันดีกวา่ ค่ะ กดตรงลงิ ค์นี้เลยคะ่ https://bit.ly/3gct9nO รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวติ คือการศึกษา WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ท่เี รียกว่า Cell 38 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วทิ ยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่ิงเล็กๆ ท่เี รียกวา่ Cell 39 คราวน้กี ม็ าถึงบทเรียนสดุ ท้ายกนั แลว้ นะคะ เรามาทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง การแพร่และ การออสโมซิส ที่ลิงคด์ า้ นลา่ งนก้ี นั เลยคะ่ https://bit.ly/2ZniSzi นกั เรียนทราบหรอื ไมว่ า่ สง่ิ มชี ีวิตนาสารเข้าและออก จากเซลล์ไดอ้ ย่างไร ถา้ อยา่ งนน้ั เราไปเรียนรกู้ ันใน หนา้ ถดั ไปเลยคะ่ WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สงิ่ เล็กๆ ทเี่ รียกว่า Cell 40 กำรทำมะมว่ ง โดยใช้เกลือในกำรทำดอง ทำให้มะมว่ งทไ่ี ด้มรี สเคม็ เน่ืองจำกเกลือเคลอ่ื นทเี่ ขำ้ สูภ่ ำยในเซลลข์ องมะมว่ ง รหู้ รอื ไม่วำ่ กระบวนกำรน้ีเกิดขึ้นได้อยำ่ งไร การแพร่ (Diffusion) กำรแพร่ คือ กำรเคล่ือนที่ของอนุภำคของสำร ซ่ึงจะเคล่ือนท่ีจำกบริเวณที่มีควำมหนำแน่นของ โมเลกลุ ท่มี ำกหรือเป็นบริเวณทมี่ ีควำมเข้มข้นของสำรสูง ไปยงั บริเวณทีม่ ีควำมหนำแนน่ ของโมเลกลุ ที่นอ้ ยกว่ำ หรือเป็นบริเวณท่ีมีควำมเข้มข้นของสำรต่ำ ซึ่งกำรแพร่ของอนุภำคของสำรจะเป็นไปอย่ำงอิสระ สำมำรถแพร่ ไปไดท้ ิศทกุ ทำง กำรแพร่ของสำร ที่มำ : https://images.app.goo.gl/GRtzdVTRscDY5afd8 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ทเ่ี รียกว่า Cell 41 กำรแพร่เกิดจำกพลังงำนจลน์ (kinetic energy) ของโมเลกุลหรือไอออนของสำร บริเวณที่มีควำม เข้มข้นมำกโมเลกุลหรือไอออนก็มีโอกำสชนกันมำก ทำให้โมเลกุลกระจำยไปยังบริเวณอื่นๆ ท่ีมีควำมเข้มข้น ของโมเลกุลหรอื ไอออนเทำ่ กนั จึงเรียกวำ่ ภำวะสมดลุ ของกำรแพร่ (diffusion equilibrium) มำดูวีดิโอกำรแพร่ของสำรกนั ดกี วำ่ กดตรงลงิ ค์นีเ้ ลยคะ่ https://images.app.goo.gl/d159tgsMgWp6CDuZ8 เซลล์ร่ำงกำยเรำต้องกำรอำหำรและออกซิเจน ส่งิ เหลำ่ น้ีมำยังเซลลข์องเรำพร้อมกบั เลือด โมเลกุล ของอำหำรและออกซิเจนจะแพรอ่ อกจำกเลือดเขำ้ สเู่ ซลลเ์ มื่อเซลลใ์ ช้อำหำรและออกซเิ จนหมดไป จะเกดิ ของ เสยี ของเสียน้ี คือกำ๊ ซคำรบ์ อนไดออกไซด์และสำรเคมบี ำงชนิด ซ่ึงเป็นพษิ ต่อเซลลถ์ ำ้ เกิดกำรสะสม คำร์บอน ไดออกไซด์และสำรเคมีที่เป็นของเสยี จะแพร่ออกจำกเซลล์เขำ้ สเู่ ลอื ด ภำพกำรแพรข่ องแก๊สออกซเิ จนและแกส๊ คำรบ์ อนไดออกไซด์ ทมี่ ำ : https://images.app.goo.gl/BhZsEG5GDLYGeyCL6 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สิ่งเล็กๆ ท่ีเรียกวา่ Cell 42 ตวั อยา่ งกระบวนการแพร่ กำรแพร่ของนำ้ ตำลทรำยในน้ำ ท่ีมำ : https://images.app.goo.gl/CHSQ6kN84WH452Gq8 กำรแพร่ของเกล็ดดำ่ งทบั ทิมในน้ำ ทมี่ ำ : https://images.app.goo.gl/uGKoUqBu7U6nUESk9 กำรแพร่ของนำ้ หอมในอำกำศ ท่มี ำ : https://images.app.goo.gl/miQWrdcAjUKLhwh98 กำรแพร่ของกำ๊ ซคำรบ์ อน ที่มำ : https://images.app.goo.gl/vsuFTWLrfen9nkRY6 ไดออกไซด์เข้ำสูใ่ บไม้เพอ่ื ใช้ใน วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101) กระบวนกำรสังเครำะห์ ดว้ ยแสง WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT

ส่งิ เล็กๆ ท่เี รียกว่า Cell 43 ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ การแพร่ มีดังน้ี 1. อณุ หภมู ิ ในขณะท่ีอณุ หภูมสิ งู โมเลกลุ ของสำรมพี ลงั งำนจลน์มำกข้ึน ทำใหโ้ มเลกลุ เหล่ำน้ีเคลือ่ นที่ ได้เร็วกว่ำ เม่ืออุณหภูมิต่ำ กำรแพร่จงึ เกิดขนึ้ ได้เรว็ 2. ความแตกต่างของความเขม้ ขน้ ถ้ำหำกมีควำมเข้มขน้ ของสำร 2 บรเิ วณแตกตำ่ งกนั มำก จะทำ ให้กำรแพร่เกดิ ข้ึนไดเ้ ร็วข้นึ ดว้ ย 3. ขนาดของโมเลกุลสาร สำรที่มขี นำดโมเลกุลเล็กจะเกิดกำรแพร่ได้เร็วกว่ำสำรโมเลกุลใหญ่ 4. ความเข้มขน้ และชนดิ ของสารตัวกลาง สำรตวั กลำงทีม่ ีควำมเข้มขน้ มำกจะมีแรงดงึ ดูดระหวำ่ ง โมเลกุลของตัวกลำงมำก ทำให้โมเลกุลของสำรเคลอ่ื นที่ไปไดย้ ำก แตถ่ ำ้ หำกสำรตัวกลำงมคี วำมเข้มข้นน้อย โมเลกุลของสำรกจ็ ะเคลื่อนท่ีไดด้ ที ำใหก้ ำรแพร่เกิดขน้ึ เรว็ ด้วย 5. ความดนั กำรเพ่มิ ควำมดนั ชว่ ยให้โมเลกุลหรืออิออนของสำรเคลอื่ นที่ไดด้ ีขนึ้ 6. ส่งิ เจือปนอื่นๆ ทปี่ นอยใู่ นสำรจะเปน็ อุปสรรคขดั ขวำงทำให้กำรแพร่เกดิ ได้ช้ำลง 7. การดูดติดของสารอ่นื ถ้ำโมเลกุลหรือออิ อนของสำรท่ีแพร่ถูกดดู ตดิ ด้วยองค์ประกอบของสำรตำ่ งๆ จะทำให้ควำมสำมำรถในกำรแพรล่ ดลง สาระนา่ รู้ การแพร่ของก๊าซทร่ี าก ก๊ำซออกซิเจนจำกอำกำศท่ีอยู่ตำมช่องว่ำงระหว่ำงอนุภำคดินจะแพร่เข้ำสู่เซลล์ขนรำก แล้ว แพรก่ ระจำยไปยงั เซลล์ข้ำงเคียงต่อ ๆ กนั ไป ท้ังนเี้ ซลล์จะใชก้ ๊ำซออกซเิ จนในกระบวนกำรทำงเคมีของเซลล์ เพอื่ สลำยสำรอำหำรใหก้ ลำยเป็นพลังงำน จำกนั้นจะปล่อยกำ๊ ซคำร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกมำจำกเซลล์ ก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมำนี้จะแพร่ออกในทิศทำงตรงกันข้ำมกับทิศทำงกำรแพร่ ของก๊ำซ ออกซเิ จน ในบรเิ วณทด่ี นิ มีน้ำท่วมขงั กำรแลกเปล่ียนก๊ำซจะเกิดขนึ้ ไม่สะดวก เพรำะอำกำศระหว่ำงอนภุ ำคดนิ มี นอ้ ย พืชจะขำดก๊ำซออกซเิ จน ยกเวน้ พืชทสี่ ำมำรถสร้ำงรำกให้โค้งข้นึ โผลพ่ น้ ผวิ ดิน เช่น รำกของตน้ โกงกำง และตน้ ลำพู ทีม่ ำ : https://images.app.goo.gl/u71ctrhSzYMiEqkS8 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

ส่ิงเล็กๆ ท่เี รียกว่า Cell 44 รู้หรือไม่ การแพร่กับการเปิดและปดิ ของปากใบ เซลล์คุมเป็นเซลล์ท่ีมคี ลอโรพลำสตอ์ ยู่ภำยในจึงเกิดกำรสังเครำะห์ดว้ ยแสงขึ้นในเวลำกลำงวัน ทำให้ ควำมเข้มข้นของสำรภำยในเซลล์คุมสูงกว่ำควำมเข้มข้นของสำรในเซลลข์ ้ำงเคียง น้ำจำกเซลลข์ ้ำงเคียงจะ แพร่ผ่ำนเข้ำมำในเซลล์คุม เกิดแรงดันดันให้ส่วนผนังด้ำนนอกซ่ึงบำงกว่ำด้ำนในโป่งออกทำงด้ำนข้ำงและ ดงึ ผนังเซลลด์ ้ำนในใหโ้ คง้ ออกด้วย ทำให้ปากใบเปิด ในเวลำกลำงคืนจะไม่เกิดกำรสังเครำะห์ด้วยแสงภำยในเซลล์คุม ทำให้ควำมเข้มข้นของสำรภำยใน เซลล์คุมต่ำกว่ำควำมเข้มข้นของสำรในเซลล์ข้ำงเคียง น้ำในเซลล์คุมจึงแพร่ออกไปยังเซลล์ข้ำงเคียง เซลล์ คมุ จึงเหี่ยว ทำให้ปากใบปดิ กำรเปิดและปิดของปำกใบมีควำมสำคัญต่อกำรแลกเปลี่ยนก๊ำซของพืชเนื่องจำกก๊ำซต่ำงๆ จะแพร่ ผ่ำนเข้ำออกทำงปำกใบเปน็ ส่วนใหญ่ โดยพืชจะดูดก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์จำกอำกำศผำ่ นปำกใบไปใช้ใน กำรสังเครำะห์ด้วยแสง และพืชยังปล่อยก๊ำซออกซิเจนที่เกิดจำกกำรสังเครำะห์ด้วยแสงออกสู่บรรยำกำศ ผำ่ นทำงปำกใบด้วย ภำพกำรเปดิ และปิดของปำกใบ ทม่ี ำ : https://images.app.goo.gl/8KXtU98V2vB3JQ9m8 ภำพกำรเขำ้ และออกของแก๊สในเซลล์คมุ วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101) ทมี่ ำ : https://images.app.goo.gl/NCoDSzAXBXKRnSSq8 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT

ส่ิงเล็กๆ ทเี่ รียกว่า Cell 45 สิ่งมีขีวิตมีกำรลำเลยี งสำรเขำ้ และออกจำกเซลล์โดยกำร แพร่อยู่ตลอดเวลำ ในมนุษย์ก็เช่นกัน เช่น กำรแพร่ของ แกส๊ ออกซิเจนและแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ระหว่ำงเซลล์ เม็ดเลอื ดแดงและถงุ ลมปอดภำยในปอด มำดกู ำรแลกเปลยี่ นแกส๊ บรเิ วณปอดกดตรงลงิ ค์นีเ้ ลยคะ่ https://youtu.be/8NUxvJS-_0k ภำพกำรแลกเปลย่ี นแก๊สบริเวณถุงลมปอด ท่ีมำ : https://images.app.goo.gl/FfocdBrqM8Ugwscu5 นอกจำกกำรแพรเ่ ข้ำและออกจำเซลลข์ องแก๊ส ออกซเิ จนและคำร์บอนไดออกไซด์แล้ว เซลลย์ งั มี กำรลำเลยี งสำรอื่นๆ เชน่ นำ้ ซึ่งมีควำมสำคญั ยิ่ง ตอ่ ส่งิ มชี วี ติ เพรำะตอ้ งใชใ้ นกระบวนกำรตำ่ งๆ เพ่อื กำรดำรงชวี ิตของส่งิ มีชวี ิต รหู้ รือไม่วำ่ นำ้ มี กำรเคลอ่ื นท่เี ข้ำและออกจำกเซลลไ์ ด้อย่ำงไร WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วชิ า วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)

สง่ิ เล็กๆ ทเี่ รียกว่า Cell 46 เมอ่ื เรำวำงผกั สดทิ้งไวส้ กั ครู่ ใบผักจะค่อยๆ เหย่ี วลง แต่เม่ือ เรำนำผักไปแชใ่ นน้ำสกั ครหู่ น่ึงใบและกำ้ นผักจะค่อยๆ เตง่ ขน้ึ จนกระท่ังกลบั มำสดเหมือนเดิม กำรเปลี่ยนแปลงนเ้ี กิดขึ้นได้ อยำ่ งไรกนั ท่ีมำ : https://images.app.goo.gl/E2VBjgowAcZx5hTH7 ออสโมซิส (Osmosis) ออสโมซิส คือ กำรเคลื่อนที่ของน้ำผำ่ นเยื่อเลอื กผำ่ น (Semipermeable Membrane) จำกบรเิ วณท่ี มีควำมเข้มข้นของอนภุ ำคของน้ำมำกไปสูบ่ รเิ วณที่มีควำมเข้มขน้ ของอนภุ ำคของน้ำนอ้ ยหรือกล่ำวได้ว่ำนำ้ จะ เคลอ่ื นทจี่ ำกสำรละลำยที่มคี วำมเข้มข้นน้อย (มนี ้ำมำก) ไปสบู่ ริเวณทม่ี ีควำมเขม้ ข้นสำรละลำยสงู (มีน้ำน้อย) ภำพออสโมซิสของน้ำผำ่ นเย่อื เลอื กผ่ำน ที่มำ : https://images.app.goo.gl/e9M2m6t6JVVbmKYE6 WRITTEN BY NATTAMON SUCHAIRUT วิชา วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook