Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

jan

Published by janejirasongkratong, 2018-02-16 04:50:29

Description: jan

Search

Read the Text Version

คาว่า สถติ ิ (Statistics) มาจากภาษาเยอรมนั ว่าStatistik มรี ากศัพท์มาจาก Stat หมายถึง ขอ้ มลู หรือสารสนเทศซ่งึ จะอานวยประโยชน์ตอ่ การบรหิ ารประเทศในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การทาสามะโนครัว เพือ่ ทราบพลเมืองในประเทศท้ังหมดตอ่ มา สถติ ิ หมายถงึ ตัวเลขหรอื ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เช่น จานวนผปู้ ระสบอบุ ตั เิ หตุ บนทอ้ งถนน อตั ราการเกิดของเดก็ ทารก ปรมิ าณน้าฝนในแตล่ ะปีสถิติในความหมายน้ี เรียกวา่ ข้อมูลทางสถติ ิ (Statisticaldata)อีกความหมายหนึง่ สถติ ิ หมายถงึ วธิ ีการที่วา่ ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมลู การนาเสนอข้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมูล และการตีความหมายข้อมูล

สถติ ิแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคอื1.สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)เปน็ สถิติทใี่ ช้อธบิ ายคุณลกั ษณะของส่ิงที่ต้องการศกึ ษากลุ่มใดกลมุ่ หนึง่ไมส่ ามารถอ้างองิ ไปยงั กลุ่มอื่นๆ ได้ สถติ ทิ อี่ ยูใ่ นประเภทนี้เช่น คา่ เฉลย่ี คา่ มธั ยฐาน คา่ ฐานนิยม สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานพสิ ยั ฯลฯ2. สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics)เป็นสถติ ิที่ใช้อธบิ ายคุณลักษณะของสง่ิ ทต่ี ้องการศกึ ษากลมุ่ ใดกลมุ่ หนงึ่หรอื หลายกลุ่มแลว้ สามารถอา้ งอิงไปยังกลุ่มประชากรได้โดยกลุ่มท่ีนามาศกึ ษาจะต้องเปน็ ตวั แทนท่ดี ีของประชากรตัวแทนที่ดขี องประชากรได้มาโดยวธิ ีการสุ่มตัวอย่าง และตวั แทนที่ดขี องประชากรเรียกวา่ กลุ่มตวั อย่าง

การแบ่งขอ้ มูลตามลกั ษณะของข้อมลู- ขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพ (Qualitative Data) เป็นข้อมลู ทไ่ี ด้จากการแจงนับซ่ึงข้อมลู ดงั กลา่ วไดจ้ ากการจาแนกกลุ่ม เชน่ จานวนคนที่นับถอื ศาสนาต่างๆ จานวนรถยนต์จาแนกตามยีห่ อ้ ต่าง ๆ อันดบั ทข่ี องผลการสอบ ความชอบเปน็ ตน้- ข้อมูลเชงิ ปริมาณ (Quantitative Data) เปน็ ข้อมูลทแ่ี สดงตวั เลข ท่ีสามารถวดั เปน็ อตั ราส่วนและเป็นชว่ งได้ เชน่ ค่าใชจ้ า่ ยของแต่ละครอบครวัน้าหนกั ของสง่ิ ของ สว่ นสงู ของนักศกึ ษา ปริมาณน้ามันทีใ่ ช้ เปน็ ต้นการแบ่งขอ้ มลู ตามแหล่งท่มี าของข้อมูล มี 2 แหล่ง คอื- ขอ้ มลู ปฐมภูมิ (Primary data) เปน็ ข้อมูลท่ไี ด้จากการสารวจภาคสนามหรอื ข้อมลู ท่ี ไดจ้ ากการทดลองทผ่ี ตู้ ้องการขอ้ มูลจะตอ้ งดาเนนิ การเกบ็รวบรวมด้วยตนเอง ซง่ึ ขอ้ มลู ดังกล่าวยงั ไม่เคยมใี ครหรอื หนว่ ยงานใดไดท้ าการเกบ็ รวบรวมมากอ่ น การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ปฐมภูมนิ ้ี สามารถใช้เคร่อื งมอืตา่ ง ๆ เชน่ แบบสอบถาม แบบฟอร์มตา่ ง ๆ การสมั ภาษณ์ เป็นตน้- ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เปน็ ข้อมูลทผ่ี ู้อ่ืนหรอื หนว่ ยงานอ่นื ได้ทาการเก็บ รวบรวมมากอ่ นแล้ว การเก็บรวบรวมขอ้ มูลทตุ ยิ ภมู ทิ าไดโ้ ดยการทาเรื่องขออนญุ าตใชข้ อ้ มลู ท่ตี อ้ งการจากหน่วยงานท่เี ป็นเจ้าของขอ้ มูล

มาตรการวดั เป็นส่งิ ทีจ่ ะจาแนกลักษณะของข้อมลู ทีใ่ ช้ในงานวิเคราะหว์ ่าขอ้ มลู ที่เก็บรวบรวมมามีระดับการวัดอยใู่ นระดบั ใด ซึ่งจะเป็นตวั ท่ีชี้ใหเ้ หน็ ว่าควรจะเลือกใช้วธิ กี ารทางสถิตแิ บบใดในการวเิ คราะหข์ อ้ มูลชดุ นน้ั ๆ ต่อไป ซงึ่ มาตรการวัด แบง่ ออกได้เปน็ 4 ระดบั ดังนี้1.มาตรานามบญั ญัติ (Nominal Scale) เปน็ มาตรวดั ท่หี ยาบท่ีสุด จัดขอ้ มูลออกเป็นกลุม่ ๆแยกตามประเภทหรอื ชนดิ โดยถ้ามีลักษณะหรอื คณุ สมบตั หิ รือคณุ ภาพเหมือนกันก็ให้อย่กู ลุ่มเดยี วกัน โดยไม่มีการจัดอนั ดบั จงึ เปน็ เพียงการกาหนดเปน็ ชื่อหรอื เปน็ ตัวเลขใหก้ บั ประเภทหรือชนดิ นนั้ ๆ2. มาตราเรียงลาดับ (Ordinal Scale) เปน็ มาตรการวดั ทีใ่ ชก้ ับขอ้ มลู ทีส่ ามารถจดั เรยี งอันดับความสาคญั ได้ หรือสามารถเปรยี บเทียบกนั ได้วา่ ดีกว่า สวยกว่า สูงกวา่ ต่ากวา่ มากกวา่ นอ้ ยกว่า โดยกาหนดอันดบั ใหก้ ับสง่ิ ตา่ ง ๆ เปน็ อนั ดบั ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ตามลกั ษณะ หรอื คณุ สมบัติหรือคณุ ภาพของสิง่ นนั้ ๆ แต่ยังไม่สามารถบอกขนาดความแตกตา่ งได้ เชน่ การตัดเกรด A, B,C, D และ F3 มาตราอนั ตรภาค (Interval Scale)เปน็ มาตรการวดั ท่สี ามารถบอกได้ทงั้ ทศิ ทางและขนาดของความแตกต่างของขอ้ มลู มาตรวดั นไ้ี ม่มีศนู ย์ที่แทจ้ รงิ (absolute zero) เช่น การวดั อุณหภมู ินา้ ซ่ึงการที่น้ามีอุณหภมู ิ 0 องศาเซลเซยี ส ก็ไมไ่ ดห้ มายความวา่ นา้ ไม่มีความร้อนอย่เู ลย4. มาตราอตั ราส่วน (Ratio Scale) เป็นมาตรการวดั ท่ีมลี ักษณะสมบรู ณ์ทุกอยา่ ง ดีกวา่ มาตรวดั อันตรภาค ตรงทมี่ าตรการวดั น้มี ศี ูนย์ทีแ่ ทจ้ ริง ซึ่งหมายความว่าไมม่ อี ะไรอยู่เลย เช่น สูง 0เซนติเมตร กห็ มายความวา่ ไม่มีความสูงเลย น้าหนกั 0 กโิ ลกรัม กห็ มายความวา่ ไมม่ ีนา้ หนกัเลย เป็นตน้ คา่ ท่ีได้จากมาตรการวดั นี้สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลงั เปรียบเทยี บเปน็สดั ส่วน ดังนนั้ สถติ ทิ ใี่ ช้กับการวัดในระดบั นใ้ี ช้ไดท้ กุ วิธที ี่มอี ยู่

ขอ้ มลู ท่ถี กู แบง่ ลกั ษณะของข้อมลู ไดแ้ ก่ 1. ขอ้ มูลเชิงปริมาณ คอื ขอ้ มลู ที่ใช้แทนขนาดหรื อปรมิ าณซ่ึงวดั ออกมาเป็นจานวนทสี่ ามารถนามา เปรียบเทียบกันได้ 2. ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ คอื ข้อมูลที่ไมส่ ามารถวดั ออกมาเป็นจานวนไดโ้ ดยตรง แต่อธิบายลกั ษณะหรอื คุณสมบัตเิ ชิงคณุ ภาพได้\


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook