60 7. กำรวดั และกำรประเมินผล 7.1 การประเมินก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 4 เรอ่ื ง การวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ 7.2 การประเมินระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง หลกั การวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ 2) ตรวจใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง รปู แบบของผลงานทศั นศลิ ป์ 3) ตรวจใบงานท่ี 3.1 เรอ่ื ง การวเิ คราะหเ์ น้อื หาของผลงานทศั นศลิ ป์ 4) ตรวจใบงานท่ี 4.1 เร่อื ง การวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ 5) ตรวจแบบบนั ทกึ การอา่ น 6) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 7) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล 8) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ 9) สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 7.3 การประเมินหลงั เรยี น - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 4 เรอ่ื ง การวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ 7.4 การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจการวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ 8. กิจกรรมกำรเรยี นรู้ นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 เรือ่ ง การวิเคราะห์ผลงานทศั นศิลป์
61 เรอ่ื งท่ี 1 กำรวิเครำะหผ์ ลงำนทศั นศิลป์ เวลำ 1 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยการจดั การเรียนรแู้ บบร่วมมือ : เทคนิคค่คู ิด ขนั้ นำเข้ำสู่บทเรยี น ครทู บทวนความรเู้ ดมิ เก่ยี วกบั การวเิ คราะหก์ ารใชท้ ศั นธาตุ หลกั การออกแบบ รปู แบบ เน้อื หา และคุณค่าใน งานทศั นศลิ ป์ ทเ่ี รยี นมาในชวั่ โมงทแ่ี ลว้ ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเกดิ ความเขา้ ใจมากขน้ึ ขนั้ สอน 1. ครอู ธบิ ายเกย่ี วกบั การวเิ คราะห์ ใหน้ กั เรยี นฟัง จากนัน้ สมุ่ เรยี กนกั เรยี น 2-3 คน ออกมาแสดง ความคดิ เหน็ ว่า การวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ มคี วามสาคญั อย่างไร และผวู้ เิ คราะหค์ วรมคี ุณสมบตั อิ ะไร 2. ครใู หน้ กั เรยี นจบั ค่กู บั เพอ่ื น แลว้ ร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง การวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ จากหนงั สอื เรยี น โดยแบ่งหน้าทก่ี นั ดงั น้ี - คนท่ี 1 ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง ความสาคญั - คนท่ี 2 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง คณุ สมบตั ขิ องผวู้ เิ คราะห์ 3. เม่อื นกั เรยี นแต่ละคนศกึ ษาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ แลว้ ใหผ้ ลดั กนั อธบิ ายความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาให้ สมาชกิ ทเ่ี ป็นคฟู่ ัง 4. นกั เรยี นแต่ละคชู่ ว่ ยกนั ทาใบงำนที่ 1.1 เรอ่ื ง หลกั กำรวิเครำะห์ผลงำนทศั นศิลป์ 5. ครสู ุม่ เรยี กนกั เรยี น 5-6 คู่ ออกมานาเสนอใบงานท่ี 1.1 หน้าชนั้ เรยี น แลว้ ใหเ้ พอ่ื นคอู่ น่ื ช่วยเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ในสว่ นทแ่ี ตกตา่ ง ขนั้ สรปุ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรเู้ ก่ยี วกบั ความสาคญั และคุณสมบตั ขิ องผวู้ เิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์
62 เรือ่ งที่ 2 รปู แบบของผลงำนทศั นศิลป์ เวลำ 1 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด ขนั้ ท่ี 1 สงั เกต ครแู บ่งนกั เรยี นเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ จากนนั้ ครแู จกบตั รภาพใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่ม กลุ่มละ 1 ชดุ แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั พจิ ารณาภาพแต่ละภาพวา่ มลี กั ษณะอย่างไร ขนั้ ท่ี 2 จำแนกควำมแตกต่ำง นกั เรยี นแต่ละกลุ่มวเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บความแตกต่างของสง่ิ ตา่ งๆ ในภาพแตล่ ะภาพ แลว้ สง่ ตวั แทนกลุม่ ออกมา นาเสนอผลการวเิ คราะหห์ น้าชนั้ เรยี น ขนั้ ท่ี 3 หำลกั ษณะร่วม นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั เปรยี บเทยี บภาพแตล่ ะภาพในชุดวา่ มสี ง่ิ ใดทเ่ี หมอื นกนั หรอื คลา้ ยคลงึ กนั แลว้ สง่ ตวั แทน กลมุ่ ออกมานาเสนอผลการเปรยี บเทยี บหน้าชนั้ เรยี น ขนั้ ที่ 4 ระบุชื่อควำมคิดรวบยอด 1. ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มออกมาบอกว่า ภาพทก่ี ลมุ่ ตนเองไดร้ บั คอื อะไร 2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง รปู แบบของผลงานทศั นศลิ ป์ จากหนงั สอื เรยี น ขนั้ ที่ 5 ทดสอบและนำไปใช้ นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ช่วยกนั ทาใบงำนที่ 2.1 เร่ือง รปู แบบของผลงำนทศั นศิลป์ จากนนั้ ครสู ุม่ เรยี กตวั แทนกลุ่ม 3-5 กลมุ่ ออกมานาเสนอคาตอบในใบงานหน้าชนั้ เรยี น ครมู อบหมำยให้นักเรียนแต่ละคนเลือกสรำ้ งผลงำนทศั นศิลป์ ในรปู แบบใดรปู แบบหนึ่ง มำ 1 ผลงำน โดยใชอ้ งคป์ ระกอบทำงทศั นธำตุและใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั กำรออกแบบทำงศลิ ปะ พรอ้ มเขยี นบอกวตั ถุประสงคห์ รอื แนวคดิ ทเี่ ลอื กใชแ้ บบนนั้ ในกำรสรำ้ งสรรคผ์ ลงำน
63 เร่อื งที่ 3 เนื้อหำของผลงำนทศั นศิลป์ เวลำ 1 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยการจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ : เทคนิคค่คู ิดสีส่ หาย ขนั้ นำเข้ำสู่บทเรยี น ครนู าภาพผลงานจติ รกรรมทม่ี เี น้อื หาหลายๆ ดา้ น มาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ตงั้ คาถามถามนกั เรยี น ขนั้ สอน 1. นกั เรยี นกลมุ่ เดมิ (จากเร่อื งท่ี 2) จบั ค่กู นั เป็น 2 คู่ ใหแ้ ต่ละครู่ ่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง เน้อื หาของผลงานทศั นศลิ ป์ จากหนงั สอื เรยี น โดยแบง่ หน้าทก่ี นั ศกึ ษาความรตู้ ามหวั ขอ้ ทก่ี าหนด ดงั น้ี - คนท่ี 1 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง เน้อื หาสว่ นตวั - คนท่ี 2 ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง เน้อื หาเพอ่ื สงั คม 2. เมอ่ื นกั เรยี นแต่ละคนศกึ ษาความรจู้ นเขา้ ใจแลว้ ใหผ้ ลดั กนั อธบิ ายความรใู้ หเ้ พอ่ื นอกี คนทเ่ี ป็นค่ฟู ัง เพอ่ื เป็นการ แลกเปลย่ี นความรคู้ วามเขา้ ใจ 3. นกั เรยี นแตล่ ะคกู่ ลบั มารวมกล่มุ เดมิ (กลมุ่ ละ 4 คน) แลว้ นาความรทู้ แ่ี ตล่ ะค่ไู ดศ้ กึ ษามาผลดั กนั อธบิ ายใหเ้ พอ่ื น อกี ค่หู น่งึ ฟัง และซกั ถามขอ้ สงสยั 4. ครอู ธบิ ายเกย่ี วกบั เน้อื หาสว่ นตวั และเน้อื หาเพอ่ื สงั คม ใหน้ กั เรยี นฟัง ประกอบภาพ 5. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ช่วยกนั ทาใบงำนท่ี 3.1 เรื่อง กำรวิเครำะห์เนื้อหำของผลงำนทศั นศิลป์ 6. ครสู ุม่ เรยี กนกั เรยี น 5-6 กลมุ่ ออกมานาเสนอใบงานท่ี 3.1 หน้าชนั้ เรยี น ขนั้ สรปุ ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ความรเู้ ร่อื ง เน้อื หาของผลงานทศั นศลิ ป์
เร่อื งท่ี 4 คณุ ค่ำของผลงำนทศั นศิลป์ 64 วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) เวลำ 1 ชวั่ โมง ขนั้ ท่ี 1 กระตุ้นควำมสนใจ (Engage) ครนู าภาพผลงานทศั นศลิ ป์ มาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ตงั้ ประเดน็ คาถามถามนกั เรยี น ขนั้ ที่ 2 สำรวจค้นหำ (Explore) นกั เรยี นกล่มุ เดมิ (จากเรอ่ื งท่ี 1) จบั ค่กู นั เป็น 2 คู่ ใหแ้ ตล่ ะค่รู ่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง คณุ ค่าและผลงานทศั นศลิ ป์ จากหนงั สอื เรยี น หอ้ งสมดุ และแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ ตามหวั ขอ้ ทก่ี าหนดให้ ดงั น้ี - คทู่ ่ี 1 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง คณุ คา่ ทางโครงสรา้ ง - ค่ทู ่ี 2 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง คุณค่าทางการเหน็ ขนั้ ท่ี 3 อธิบำยควำมรู้ (Explain) นกั เรยี นแต่ละค่กู ลบั มารวมกลมุ่ เดมิ (กล่มุ ละ 4 คน) แลว้ ใหแ้ ตล่ ะค่ผู ลดั กนั อธบิ ายความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาใหส้ มาชกิ อกี ค่หู น่งึ ฟัง ขนั้ ที่ 4 ขยำยควำมเขำ้ ใจ (Expand) 1. ครตู งั้ ประเดน็ คาถามใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั อภปิ ราย แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการอภปิ ราย หน้าชนั้ เรยี น 2. ครสู ุม่ เรยี กนกั เรยี น 2-3 คน ออกมาสาธติ การวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ หน้าชนั้ เรยี น แลว้ ใหน้ กั เรยี น ดตู วั อย่างการวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ จากเอกสารประกอบการสอนทค่ี รแู จกให้ 3. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั ทาใบงำนที่ 4.1 เรื่อง กำรวิเครำะหผ์ ลงำนทศั นศิลป์ ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ผลดั กนั ออกมานาเสนอใบงานท่ี 4.1 หน้าชนั้ เรยี น 2. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปความรเู้ ก่ยี วกบั คณุ คา่ ของผลงานทศั นศลิ ป์ ครใู ห้นักเรยี นแต่ละคนวิเครำะหผ์ ลงำนทศั นศิลป์ จำนวน 2 ชิ้น โดยวิเครำะห์ผลงำนทศั นศิลป์ ของตนเอง 1 ชิ้น (ผลงานจากเรอ่ื งท่ี 2) และผลงำนท่ีผอู้ ื่นหรือศิลปิ นสรำ้ งสรรค์ 1 ชิ้น โดยใหค้ รอบคลุมประเดน็ ตำมทกี่ ำหนด นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรอื่ ง การวิเคราะห์ผลงานทศั นศิลป์
65 9. ส่ือ/แหลง่ กำรเรยี นรู้ 9.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี น ทศั นศลิ ป์ ม.3 2) เอกสารประกอบการสอน 3) บตั รภาพ 4) ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง หลกั การวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ 5) ใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง รูปแบบของผลงานทศั นศลิ ป์ 6) ใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง การวเิ คราะหเ์ น้อื หาของผลงานทศั นศลิ ป์ 7) ใบงานท่ี 4.1 เร่อื ง การวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ - http://www.cm-club.com/vb/forumdisplay.php?f=438
66 กำรประเมนิ ช้ินงำน/ภำระงำน (รวบยอด) แบบประเมนิ การวิเคราะหผ์ ลงานทศั นศิลป์ รำยกำรประเมิน คำอธิบำยระดบั คณุ ภำพ / ระดบั คะแนน 1. กำรวิเครำะห์ ดมี ำก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) ผลงำนทศั นศิลป์ วเิ คราะหผ์ ลงาน วเิ คราะหผ์ ลงาน ของตนเองและ ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ วเิ คราะหผ์ ลงาน วเิ คราะหผ์ ลงาน ทศั นศลิ ป์ ของตนเอง ของศิลปิ นดำ้ น ของศลิ ปินดา้ นรปู แบบ และของศลิ ปินดา้ น รปู แบบ ไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ รปู แบบไดถ้ กู ตอ้ งเป็น อา่ นเขา้ ใจงา่ ย และใช้ ส่วนน้อย อ่านเขา้ ใจ 2. กำรวิเครำะห์ ศพั ทท์ างทศั นศลิ ป์ ของศลิ ปินดา้ นรปู แบบ ของศลิ ปินดา้ นรปู แบบ ยาก และไมใ่ ชศ้ พั ทท์ าง ผลงำนทศั นศิลป์ มากกว่า 20 คา ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ของศิลปิ นด้ำน วเิ คราะหผ์ ลงาน วเิ คราะหผ์ ลงาน เนื้อหำ ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ อ่านเขา้ ใจงา่ ย และใช้ แตอ่ ่านเขา้ ใจยาก ทศั นศลิ ป์ ของตนเอง ของศลิ ปินดา้ นเน้อื หา และของศลิ ปินดา้ น 3. กำรวิเครำะห์ ไดถ้ กู ตอ้ ง ชดั เจน ศพั ทท์ างทศั นศลิ ป์ และใชศ้ พั ทท์ าง เน้อื หาไดถ้ ูกตอ้ งเป็น ผลงำนทศั นศิลป์ อ่านเขา้ ใจงา่ ย และใช้ สว่ นน้อย อ่านเขา้ ใจ ของตนเองและ ศพั ทท์ างทศั นศลิ ป์ มากกวา่ 20 คา ทศั นศลิ ป์ น้อยกว่า 20 ยาก และไมใ่ ชศ้ พั ทท์ าง ของศิลปิ นด้ำน มากกว่า 20 คา ทศั นศลิ ป์ คณุ ค่ำในผลงำน คา วเิ คราะหผ์ ลงาน วเิ คราะหผ์ ลงาน ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ วเิ คราะหผ์ ลงาน วเิ คราะหผ์ ลงาน ทศั นศลิ ป์ ของตนเอง ของศลิ ปินดา้ นคุณค่าใน และของศลิ ปินดา้ น ผลงานไดถ้ กู ตอ้ งชดั เจน ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ คณุ คา่ ในผลงานได้ อ่านเขา้ ใจงา่ ย และใช้ ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นน้อย ศพั ทท์ างทศั นศลิ ป์ ของศลิ ปินดา้ นเน้อื หา ของศลิ ปินดา้ นเน้อื หา อา่ นเขา้ ใจยาก และไม่ มากกวา่ 20 คา ใชศ้ พั ทท์ างทศั นศลิ ป์ ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ อา่ นเขา้ ใจงา่ ย และใช้ แต่อ่านเขา้ ใจยาก ศพั ทท์ างทศั นศลิ ป์ และใชศ้ พั ทท์ าง มากกวา่ 20 คา ทศั นศลิ ป์ น้อยกวา่ 20 คา วเิ คราะหผ์ ลงาน วเิ คราะหผ์ ลงาน ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ ทศั นศลิ ป์ ของตนเองและ ของศลิ ปินดา้ นคณุ ค่าใน ของศลิ ปินดา้ นคุณค่าใน ผลงานไดถ้ กู ตอ้ งเป็น ผลงานไดถ้ ูกตอ้ งเป็น สว่ นใหญ่ อ่านเขา้ ใจงา่ ย ส่วนใหญ่ แต่อ่านเขา้ ใจ และใชศ้ พั ทท์ าง ยาก และใชศ้ พั ทท์ าง ทศั นศลิ ป์ มากกว่า 20 ทศั นศลิ ป์ น้อยกวา่ คา 20 คา เกณฑก์ ำรตดั สินคณุ ภำพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภำพ 11 - 12 ดมี าก 9 - 10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ากวา่ 6 ปรบั ปรงุ
67 แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรยี น หน่วยกำรเรยี นร้ทู ่ี 4 คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว 1. ขอ้ ใดคอื ประโยชน์ของการวเิ คราะหผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ 6. เรอ่ื งราวทศ่ี ลิ ปินถ่ายทอด คอื ขอ้ ใด ก. ประเมนิ วสั ด-ุ อุปกรณ์ ก. ส่อื ใหเ้ หน็ เรอ่ื งราว ข. เน้อื หาของผลงาน ข. ประเมนิ เทคนิควธิ กี าร ค. บอกถงึ วตั ถปุ ระสงค์ ค. ประเมนิ คณุ คา่ ของผลงาน ง. ความสมบรู ณ์ของภาพ ง. ประเมนิ รปู แบบของผลงาน 7. งานทศั นศลิ ป์ ขอ้ ใด เป็นการแสดงออกทางจติ สานกึ 2. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่คณุ สมบตั ขิ องผวู้ เิ คราะห์ ก. งานออกแบบบา้ นสสี นั สดใส ก. มคี วามมนั ่ ใจสงู ข. งานสอ่ื ผสมใชว้ สั ดุหลากหลาย ข. มคี วามรทู้ างศลิ ปะ ค. งานปัน้ กระปุกออมสนิ เป็นตวั สตั ว์ ค. มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย ง. การวาดภาพทวิ ทศั นท์ ใ่ี หค้ วามรสู้ กึ อา้ งวา้ ง ง. มคี วามสามารถในการวเิ คราะห์ 8. ผลงานทศั นศลิ ป์ ทเ่ี กย่ี วกบั การเมอื ง มกั ถา่ ยทอด 3. ขอ้ ใดคอื ศลิ ปะรปู ลกั ษณ์ ออกทางรปู แบบใด ก. ภาพวาดการต์ นู ก. โปสเตอรล์ อ้ เลยี น ข. ภาพวาดทวิ ทศั น์ ข. ภาพวาดการต์ นู ขาขา ค. ภาพวาดลายไทย ค. ภาพวาดเหตุการณ์ตา่ งๆ ง. ภาพวาดออกแบบโฆษณา ง. ภาพพมิ พเ์ ร่อื งราวการเมอื ง 4. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ภาพไรร้ ปู ลกั ษณ์ 9. คุณภาพของการวเิ คราะหผ์ ลงานขน้ึ อยกู่ บั สงิ่ ใด ก. ภาพเขยี นพรา่ มวั ไมช่ ดั เจน ก. ประเภทผลงาน ข. ภาพเขยี นรปู ทรงลลี าซา้ ๆ กนั ข. ผวู้ เิ คราะหศ์ ลิ ปิน ค. ภาพเขยี นดดั แปลงจากตน้ แบบ ค. คณุ ภาพของผลงาน ง. ภาพเขยี นวรรณคดฝี าผนงั โบสถ์ ง. ประสบการณ์ของผวู้ เิ คราะห์ 5. งานทศั นศลิ ป์ ทอ่ี ย่รู ะหวา่ งรปู ธรรมและนามธรรม 10. ขอ้ ใดคอื คณุ คา่ ของการมองเหน็ ทม่ี ตี อ่ ผลงานทศั นศลิ ป์ คอื ขอ้ ใด ก. ทศั นธาตแุ ละองคป์ ระกอบศลิ ป์ ก. ทศั นศลิ ป์ รปู ลกั ษณ์ ข. เทคนิควธิ กี ารสรา้ งสรรค์ ข. ทศั นศลิ ป์ ไรร้ ปู ลกั ษณ์ ค. เน้อื หาและสุนทรยี ภาพ ค. ทศั นศลิ ป์ กง่ึ รปู ลกั ษณ์ ง. ทศั นศลิ ป์ กง่ึ ไรร้ ปู ลกั ษณ์ ง. ตรงตามวตั ถุประสงค์ 1. ค 2. ก 3. ข 4. ง 5. ง ตวั ชี้วดั ศ 1.1 ขอ้ 8 6. ข 7. ง 8. ข 9. ง 10. ค ไดค้ ะแนน คะแนนเตม็ 10
68 บนั ทึกหลังการสอน รายวิชาศลิ ปะ นกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 วชิ าศลิ ปะ ครูผู้สอน นายปฏภิ าณ ไชยเทพา เรื่อง การวิเคราะห์ผลงานทัศนศลิ ป์ ดา้ นความรู้ . ผู้เรียนเกดิ ทักษะกระบวนการปฏิบตั ิ การสรา้ งสรรค์ เพ่มิ เติมความร้ใู หม่ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เกิดกระบวนการสร้างความคิด รวบยอด ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 1.สมรรถนะด้านการจดั การตัวเอง นักเรียนมีความรับผิดชอบในระดบั ปานกลาง คือให้ทำงานยงั ไม่กระตือรือลน้ เท่าไหร่ 2.สมรรถนะดา้ นการส่ือสาร นักเรียนได้มสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเกยี่ วกับเทคนิควิธีการในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ทศั นศิลป์ โดยครสู ่มุ ถาม ซง่ึ นักเรยี นได้แสดงความคิดโดยการสือ่ สารพดู ในความคดิ ของนักเรยี นเอง 3.สมรรถนะดา้ นการรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม นกั เรียนมีการแบ่งหนา้ ทใี่ นการทำงาน เช่น การแบง่ กล่มุ สมาชิก และแบง่ ช่อื เรือ่ งที่จะศึกษาเองโดยครูคอยชีแ้ นะ เป็นต้น 4.สมรรถนะด้านการคิดชน้ั สงู นกั เรียนยังมีความร้เู กี่ยวกบั ทัศนศิลป์ไมม่ ากพอ และขาดการไตรตรองในการใช้ความคิดใน การตอบ 5.สมรรถนะดา้ นการเป็นพลเมอื งท่ีเขม้ แขง็ นักเรียนบางส่วนมีความรับผดิ ชอบต่อหน้าท่ีท่ีได้รับเปน็ อยา่ งดี ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั นกั เรยี นสว่ นมากมีวนิ ยั ในตนเองดี รบั ผดิ ชอบต่อตนเองดี มีบางสว่ นยังขาดวนิ ยั ต่อตนเอง 2. ใฝ่เรียนรู้ นกั เรียนสืบค้นหาข้อมลู เองโดยท่คี รูกำหนดหวั ข้อให้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน นกั เรียนบางคนมุง่ ม่นั ตง้ั ใจในการทำงานเป็นอย่างดี ดา้ นอ่นื ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤตกิ รรมที่มีปญั หาของนักเรยี นเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี ) ปญั หา/อุปสรรค เดก็ นกั เรียนบางคนไมเ่ ขา้ เรยี น นักเรียนชายหลายคนสนใจในเร่ืองอ่ืนมากกวา่ การเรยี น เช่น อยากซ้อมกีฬา คุยกนั เสียง ดงั แนวทางการแก้ไข คนท่ไี ม่เข้าเรยี นครจู ะไมเ่ ชค็ เวลาเรียนให้ และมีการหักคะแนน และครตู ัง้ เง่อื นไขกับนักเรียน ถ้าตั้งใจเรียนจะปลอ่ ยเร็ว
69 ความเห็นของครูพ่ีเลีย้ ง ขอ้ เสนอแนะ มกี ารจดั การเรียนการสอนตามแผนการสอน ทำให้นักเรียนบรรลุตามตัวชว้ี ดั ทตี่ ้ังไว้ มคี ำถามทหี่ ลากหลาบ มกี าร ประเมินตามตวั ช้ีวัด ใชส้ ่ือได้เหมาะสมกับการเรียนการสอน . ลงชือ่ . (นางสาวมณรี ตั น์ เนียรประดษิ ฐ) ตำแหน่ง หวั หนา้ กลุ่มสาระศิลปะ ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น . ขอ้ เสนอแนะ การสอนครอบคลุมเนือ้ หาและตวั ช้วี ัดเหน็ ควรใชใ้ นการสอนนกั เรยี นได้ . . ลงชอื่ . (นายเชิดศกั ด์ิ เอกปรญิ ญา) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเหล่าหลวงประชานุสรณ์
70 แผนการจัดการเรยี นรู้ โรงเรยี นเหล่าหลวงประชานุสรณ์ ตำบลเหล่าหลวง อำเภอเกษตรวสิ ยั จังหวดั ร้อยเอด็ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 เรื่อง ทัศนศิลป์กับการประกอบอาชพี เวลา 6 ช่วั โมง 1. มำตรฐำนกำรเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั ศ 1.1 ม.3/10 ระบอุ าชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานทศั นศลิ ป์ และทกั ษะทจ่ี าเป็นในการประกอบอาชพี นนั้ ๆ 2. สำระสำคญั /ควำมคิดรวบยอด อาชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานทศั นศลิ ป์ นนั้ มหี ลายอาชพี ซง่ึ แตล่ ะอาชพี จาเป็นตอ้ งอาศยั ทกั ษะพน้ื ฐานทเ่ี หมอื นกนั หลาย ประการ มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื ทาใหผ้ ลงานของตนเองประสบความสาเรจ็ 3. สำระกำรเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง - การประกอบอาชพี ทางทศั นศลิ ป์ 3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่ (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน 4.1 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการวเิ คราะห์ 4.2 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ มนั่ ในการทางาน 6. ชิ้นงำน/ภำระงำน (รวบยอด) รายงาน เร่อื ง ทศั นศลิ ป์ กบั การประกอบอาชพี
71 7. กำรวดั และกำรประเมินผล 7.1 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เร่อื ง ทศั นศลิ ป์ กบั การประกอบอาชพี 7.2 การประเมินระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง การนาความรทู้ างทศั นศลิ ป์ ไปใชป้ ระโยชน์ 2) ตรวจใบงานท่ี 2.1 เร่อื ง สนิ คา้ ดา้ นทศั นศลิ ป์ กบั ผปู้ ระกอบอาชีพ 3) ตรวจใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง อาชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานทศั นศลิ ป์ 4) ตรวจแบบบนั ทกึ การอ่าน 5) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 6) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล 7) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม 8) สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 7.3 การประเมินหลงั เรียน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เรอ่ื ง ทศั นศลิ ป์ กบั การประกอบอาชพี 7.4 การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจรายงาน เร่อื ง ทศั นศลิ ป์ กบั การประกอบอาชพี 8. กิจกรรมกำรเรียนรู้ นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรอื่ ง ทศั นศิลป์ กบั การประกอบอาชีพ
72 เรอื่ งที่ 1 ทศั นศิลป์ กบั ชีวิตประจำวนั เวลำ 1-2 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยการจดั การเรยี นร้แู บบร่วมมอื : เทคนิคเลา่ เรือ่ งรอบวง ขนั้ นำเข้ำสู่บทเรียน ครพู ดู คยุ กบั นกั เรยี นเกย่ี วกบั ตลาดนดั ทส่ี าคญั ๆ แลว้ ตงั้ ประเดน็ คาถามถามนกั เรยี น ขนั้ สอน 1. ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตสภาพแวดลอ้ มทอ่ี ย่รู อบตวั วา่ มสี งิ่ ของอะไรบา้ งทเ่ี ป็นผลงานทศั นศลิ ป์ หรอื เกดิ จากการนา ความรทู้ างทศั นศลิ ป์ ไปใชป้ ระโยชน์ ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ 2. ครแู บ่งนกั เรยี นเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ ใหแ้ ตล่ ะคนในกลมุ่ ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ทศั นศลิ ป์ กบั ชวี ติ ประจาวนั จากหนงั สอื เรยี น 3. เมอ่ื นกั เรยี นแต่ละคนศกึ ษาความรจู้ นเขา้ ใจแลว้ ใหก้ ลบั มารวมกลมุ่ เดมิ (กลุ่มละ 4 คน) แลว้ ผลดั กนั เล่าความรทู้ ไ่ี ด้ ศกึ ษามาใหเ้ พอ่ื นในกลุ่มฟังเรยี งตามลาดบั ทลี ะคนแบบเลา่ เร่อื งรอบวง 4. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ชว่ ยกนั ทาใบงำนที่ 1.1 เรื่อง กำรนำควำมรทู้ ำงทศั นศิลป์ ไปใช้ประโยชน์ จากนนั้ ครสู มุ่ เรยี ก นกั เรยี น 5-6 กลุ่ม ออกมานาเสนอใบงานท่ี 1.1 หน้าชนั้ เรยี น ขนั้ สรปุ นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรเู้ ก่ยี วกบั ทศั นศลิ ป์ กบั ชวี ติ ประจาวนั
73 เร่ืองท่ี 2 ทกั ษะพืน้ ฐำนของผ้ปู ระกอบอำชีพทำงทศั นศิลป์ เวลำ 1-2 ชวั่ โมง วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขนั้ ที่ 1 กระตุ้นควำมสนใจ (Engage) ครสู นทนากบั นกั เรยี นเกย่ี วกบั การประกอบอาชพี ทน่ี าความรทู้ างทศั นศลิ ป์ ไปใช้ โดยครยู กตวั อย่างประกอบ แลว้ ให้ นกั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ วา่ ผปู้ ระกอบอาชพี ทย่ี กตวั อยา่ งน้มี ที กั ษะพน้ื ฐานอย่างไรจงึ ทาใหส้ นิ คา้ ประสบความสาเรจ็ ขนั้ ท่ี 2 สำรวจค้นหำ (Explore) 1. นกั เรยี นแต่ละคนศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ทศั นศลิ ป์ กบั การประกอบอาชพี จากหนงั สอื เรยี น 2. ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความสาคญั ของสนิ คา้ ดา้ นทศั นศลิ ป์ ในปัจจุบนั และทกั ษะพน้ื ฐาน ของผทู้ จ่ี ะประกอบอาชพี ทางดา้ นทศั นศลิ ป์ ขนั้ ท่ี 3 อธิบำยควำมรู้ (Explain) นกั เรยี นแตล่ ะคนนาขอ้ มลู ทส่ี บื คน้ ไดม้ าอภปิ รายรว่ มกนั ภายในกลมุ่ เพอ่ื ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ขนั้ ที่ 4 ขยำยควำมเข้ำใจ (Expand) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั ทาใบงำนที่ 2.1 เรื่อง สินค้ำด้ำนทศั นศิลป์ กบั ผ้ปู ระกอบอำชีพ ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ผลดั กนั ออกมานาเสนอใบงานท่ี 2.1 หน้าชนั้ เรยี น แลว้ เกบ็ รวบรวมใบงานสง่ ครู 2. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปความรเู้ กย่ี วกบั ทกั ษะพน้ื ฐานทผ่ี ปู้ ระกอบอาชพี ควรมี เพอ่ื ใหผ้ ลงานประสบความสาเรจ็
74 เรอ่ื งท่ี 3 อำชีพท่ีเกี่ยวข้องกบั งำนทศั นศิลป์ เวลำ 1-2 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด ขนั้ ที่ 1 สงั เกต ครใู หน้ กั เรยี นกลมุ่ เดมิ (จากเร่อื งท่ี 1) ร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ กย่ี วกบั อาชพี ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั งานทศั นศลิ ป์ ไดแ้ ก่ อาชพี นกั ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ครสู อนศลิ ปะ ศลิ ปินอสิ ระ ช่างศลิ ป์ ผผู้ ลติ ผลติ ภณั ฑท์ าดว้ ยมอื จากหนงั สอื เรยี น แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่ม ชว่ ยกนั พจิ ารณาว่า ผปู้ ระกอบอาชพี ทางทศั นศลิ ป์ แตล่ ะอาชพี นนั้ มที กั ษะพน้ื ฐานอย่างไร ขนั้ ท่ี 2 จำแนกควำมแตกต่ำง นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของทกั ษะพน้ื ฐานทผ่ี ปู้ ระกอบอาชพี แตล่ ะอาชพี ควรมี แลว้ สง่ ตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอผลการวเิ คราะหห์ น้าชนั้ เรยี น ขนั้ ท่ี 3 หำลกั ษณะร่วม นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ช่วยกนั เปรยี บเทยี บทกั ษะพน้ื ฐานทผ่ี ปู้ ระกอบอาชพี แต่ละอาชพี วา่ มที กั ษะใดบา้ งทเ่ี หมอื นกนั หรอื คลา้ ยคลงึ กนั แลว้ สง่ ตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอผลการเปรยี บเทยี บหน้าชนั้ เรยี น ขนั้ ที่ 4 ระบุชื่อควำมคิดรวบยอด นกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ทกั ษะพน้ื ฐานทผ่ี ปู้ ระกอบอาชพี ทางทศั นศลิ ป์ ตอ้ งมี เป็นองคค์ วามรขู้ องหอ้ ง ขนั้ ท่ี 5 ทดสอบและนำไปใช้ นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั ทาใบงำนที่ 3.1 เร่ือง อำชีพที่เกี่ยวข้องกบั งำนทศั นศิลป์ แลว้ เกบ็ รวบรวมใบงานสง่ ครู ครมู อบหมำยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำรำยงำน เรื่อง ทศั นศิลป์ กบั กำรประกอบอำชีพ โดยใหค้ รอบคลมุ ประเดน็ ตำมทกี่ ำหนด นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 เรอื่ ง ทศั นศิลป์ กบั การประกอบอาชีพ 9. สื่อ/แหลง่ กำรเรียนรู้ 9.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี น ทศั นศลิ ป์ ม.3 2) ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง การนาความรทู้ างทศั นศลิ ป์ ไปใชป้ ระโยชน์ 3) ใบงานท่ี 2.1 เร่อื ง สนิ คา้ ดา้ นทศั นศลิ ป์ กบั ผปู้ ระกอบอาชพี 4) ใบงานท่ี 3.1 เรอ่ื ง อาชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานทศั นศลิ ป์ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ —
75 กำรประเมินช้ินงำน/ภำระงำน (รวบยอด) แบบประเมนิ รายงาน เรือ่ ง ทศั นศิลป์ กบั การประกอบอาชีพ รำยกำรประเมิน คำอธิบำยระดบั คณุ ภำพ / ระดบั คะแนน 1. กำรระบุอำชีพ ดมี ำก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) ที่เก่ียวขอ้ งกบั งำน ทศั นศิลป์ ระบอุ าชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบุอาชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบอุ าชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบุอาชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง งานทศั นศลิ ป์ ไดถ้ กู ตอ้ ง กบั งานทศั นศลิ ป์ ได้ 2. กำรอธิบำยทกั ษะ 5 อาชพี ขน้ึ ไป งานทศั นศลิ ป์ ไดถ้ กู ตอ้ ง งานทศั นศลิ ป์ ไดถ้ ูกตอ้ ง ถกู ตอ้ ง 1 อาชพี ท่ีจำเป็ นในกำร ประกอบอำชีพ อธบิ ายทกั ษะทจ่ี าเป็นใน 3-4 อาชพี 2 อาชพี อธบิ ายทกั ษะทจ่ี าเป็น การประกอบอาชพี ได้ ในการประกอบอาชพี ถูกตอ้ งทุกทกั ษะ และ อธบิ ายทกั ษะทจ่ี าเป็นใน อธบิ ายทกั ษะทจ่ี าเป็นใน ไดถ้ ูกตอ้ งทกุ ทกั ษะ ครบทงั้ 5 อาชพี ขน้ึ ไป การประกอบอาชพี ได้ การประกอบอาชพี ได้ 1 อาชพี ถูกตอ้ งทกุ ทกั ษะ ถกู ตอ้ งทุกทกั ษะ 3-4 อาชพี 2 อาชพี เกณฑ์กำรตดั สินคณุ ภำพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภำพ 8 ดมี าก ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรุง ต่ากว่า 4
76 แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรยี น หน่วยกำรเรียนร้ทู ่ี 5 คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบท่ถี ูกต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว 1. หลกั ฐานผลงานทศั นศลิ ป์ ยคุ หนิ เกา่ คอื ขอ้ ใด 6. สว่ นประกอบทส่ี าคญั ของอาชพี อสิ ระ คอื ขอ้ ใด ก. อาวุธ ข. ภาพเขยี น ก. มเี วลา ข. ทุนทรพั ย์ ค. ภาพแกะสลกั ง. เคร่อื งล่าสตั ว์ ค. ประสบการณ์ ง. เชอ่ื มนั ่ ในตนเอง 2. การนาความงามทางศลิ ปะมาประยกุ ตเ์ ขา้ กบั การ 7. รอบรเู้ ทคนคิ เฉพาะดา้ นเป็นคณุ สมบตั ขิ องอาชพี ใด ดารงชวี ติ ประจาวนั คอื ขอ้ ใด ก. ช่างไม้ ข. ช่างปัน้ ก. พานิชศลิ ป์ ข. นเิ ทศศลิ ป์ ค. ช่างหลอ่ ง. ชา่ งศลิ ปะ ค. ประยกุ ตศ์ ลิ ป์ ง. ศลิ ปะกบั ชวี ติ 3. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ทกั ษะพน้ื ฐานในการประกอบอาชพี ทาง 8. ลกั ษณะเด่นของสนิ คา้ ทผ่ี ลติ ดว้ ยมอื คอื ขอ้ ใด ก. ใชว้ สั ดุธรรมชาติ ทศั นศลิ ป์ ข. เป็นสนิ คา้ ราคาถกู ก. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ค. ใชแ้ รงงานคนเป็นหลกั ข. มคี วามรทู้ างดา้ นศลิ ปะ ง. จาหน่ายตามแหลง่ ท่องเทย่ี ว ค. มคี วามอดทนมานะพยายาม ง. มปี ระสบการณ์ทางดา้ นศลิ ปะ 9. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ทกั ษะของอาชพี ผลติ ภณั ฑด์ ว้ ยมอื 4. ถา้ เป็นคนชา่ งคดิ ควรประกอบอาชพี ใดทางทศั นศลิ ป์ ก. มเี งนิ ลงทนุ ก. ครศู ลิ ปะ ข. เขา้ ใจเร่อื งตลาด ข. ชา่ งศลิ ป์ ค. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ค. ศลิ ปินอสิ ระ ง. มคี วามสามารถในการจดั การ ง. นักออกแบบผลติ ภณั ฑ์ 10. ขอ้ ใดคอื ช่างสบิ หมู่ 5. อาชพี ใดตอ้ งมคี วามรพู้ น้ื ฐานทางศลิ ปะเป็นอยา่ งดี ก. ชา่ งฝีมอื ข. ช่างศลิ ป์ ก. ครศู ลิ ป์ ค. ชา่ งหลวง ง. ชา่ งเอก ข. ช่างศลิ ป์ ค. ศลิ ปินอสิ ระ ง. นักออกแบบผลติ ภณั ฑ์ 1. ข 2. ค 3. ง 4. ง 5. ก ตวั ชี้วดั ศ 1.1 ขอ้ 10 6. ง 7. ง 8. ค 9. ก 10. ค ไดค้ ะแนน คะแนนเตม็ 10
77 บนั ทกึ หลังการสอน รายวิชาศลิ ปะ นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 วชิ าศลิ ปะ ครูผู้สอน นายปฏิภาณ ไชยเทพา เรอื่ ง ทัศนศิลปก์ ับการประกอบอาชีพ ดา้ นความรู้ . ผู้เรียนเกดิ ทักษะกระบวนการปฏิบตั ิ การสร้างสรรค์ เพิ่มเติมความรู้ใหม่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ เกิดกระบวนการสรา้ งความคิด รวบยอด ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 1.สมรรถนะด้านการจดั การตัวเอง นักเรยี นมีความรบั ผิดชอบในระดับปานกลาง คือใหท้ ำงานยังไม่กระตือรือลน้ เท่าไหร่ 2.สมรรถนะดา้ นการส่ือสาร นักเรียนไดม้ ีส่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เก่ียวกับเทคนคิ วิธกี ารในการสร้างสรรค์ผลงาน ทศั นศิลป์ โดยครสู ่มุ ถาม ซง่ึ นักเรยี นได้แสดงความคดิ โดยการส่อื สารพดู ในความคิดของนักเรยี นเอง 3.สมรรถนะดา้ นการรวมพลงั ทำงานเป็นทีม นักเรยี นมีการแบ่งหน้าทใ่ี นการทำงาน เช่น การแบง่ กล่มุ สมาชกิ และแบง่ ช่อื เรือ่ งที่จะศึกษาเองโดยครูคอยชีแ้ นะ เป็นตน้ 4.สมรรถนะด้านการคิดชน้ั สงู นกั เรียนยังมีความร้เู กยี่ วกบั ทศั นศลิ ป์ไม่มากพอ และขาดการไตรตรองในการใช้ความคิดใน การตอบ 5.สมรรถนะดา้ นการเป็นพลเมอื งท่ีเข้มแข็ง นักเรยี นบางสว่ นมคี วามรบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ีท่ไี ด้รับเปน็ อยา่ งดี ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั นกั เรยี นสว่ นมากมีวนิ ยั ในตนเองดี รบั ผิดชอบต่อตนเองดี มีบางส่วนยังขาดวนิ ยั ตอ่ ตนเอง 2. ใฝ่เรียนรู้ นกั เรียนสืบค้นหาข้อมลู เองโดยทคี่ รูกำหนดหัวขอ้ ให้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน นกั เรียนบางคนมงุ่ มั่นต้งั ใจในการทำงานเปน็ อย่างดี ดา้ นอ่นื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่มี ปี ัญหาของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี)) ปญั หา/อุปสรรค เดก็ นกั เรียนบางคนไมเ่ ขา้ เรยี น นักเรียนชายหลายคนสนใจในเรื่องอนื่ มากกวา่ การเรียน เชน่ อยากซ้อมกีฬา คุยกนั เสียง ดงั แนวทางการแก้ไข คนท่ไี ม่เข้าเรยี นครจู ะไมเ่ ชค็ เวลาเรียนให้ และมกี ารหักคะแนน และครูตงั้ เงื่อนไขกับนกั เรียน ถ้าตั้งใจเรียนจะปลอ่ ยเร็ว
78 ความเห็นของครูพ่ีเลีย้ ง ขอ้ เสนอแนะ มกี ารจดั การเรียนการสอนตามแผนการสอน ทำให้นักเรียนบรรลุตามตัวชว้ี ดั ทตี่ ้ังไว้ มคี ำถามทหี่ ลากหลาบ มกี าร ประเมินตามตวั ช้ีวัด ใชส้ ่ือได้เหมาะสมกับการเรียนการสอน . ลงชือ่ . (นางสาวมณรี ตั น์ เนียรประดษิ ฐ) ตำแหน่ง หวั หนา้ กลุ่มสาระศิลปะ ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น . ขอ้ เสนอแนะ การสอนครอบคลุมเนือ้ หาและตวั ช้วี ัดเหน็ ควรใชใ้ นการสอนนกั เรยี นได้ . . ลงชอื่ . (นายเชิดศกั ด์ิ เอกปรญิ ญา) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเหล่าหลวงประชานุสรณ์
79 แผนการจัดการเรียนรู้ โรงเรยี นเหล่าหลวงประชานสุ รณ์ ตำบลเหล่าหลวง อำเภอเกษตรวิสยั จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด กล่มุ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 เรื่อง การจัดนทิ รรศการทางทัศนศลิ ป์ เวลา 5 ช่วั โมง 1. มำตรฐำนกำรเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั ศ 1.1 ม.3/11 เลอื กงานทศั นศลิ ป์ โดยใชเ้ กณฑท์ ก่ี าหนดขน้ึ อย่างเหมาะสมและนาไปจดั นทิ รรศการ 2. สำระสำคญั /ควำมคิดรวบยอด การเลอื กผลงานทศั นศลิ ป์ เพอ่ื นาไปจดั นิทรรศการ จาเป็นตอ้ งมกี ารกาหนดเกณฑส์ าหรบั ใชค้ ดั เลอื ก ซง่ึ เกณฑท์ ่ี กาหนดตอ้ งเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั นิทรรศการ 3. สำระกำรเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - การจดั นิทรรศการ 3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่ (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการคดั แยก 2) ทกั ษะการประเมนิ 4.2 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน 6. ชิ้นงำน/ภำระงำน (รวบยอด) การจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์
80 7. กำรวดั และกำรประเมินผล 7.1 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เร่อื ง การจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์ 7.2 การประเมินระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1) ตรวจใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง ความสาคญั ของการจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์ 2) ตรวจใบงานท่ี 2.1 เร่อื ง การสรา้ งแบบสอบถามการประเมนิ นิทรรศการ 3) ตรวจใบงานท่ี 3.1 เรอ่ื ง เกณฑท์ ใ่ี ชส้ าหรบั คดั เลอื กผลงานทศั นศลิ ป์ 4) ตรวจแบบบนั ทกึ การอา่ น 5) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 6) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล 7) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม 8) สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 7.3 การประเมินหลงั เรียน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เรอ่ื ง การจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์ 7.4 การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจการจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์ 8. กิจกรรมกำรเรียนรู้ นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 6 เรือ่ ง การจดั นิทรรศการทางทศั นศิลป์
81 เรื่องท่ี 1 ควำมสำคญั ของนิทรรศกำรทำงทศั นศิลป์ เวลำ 1 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสรา้ งความตระหนัก ขนั้ ท่ี 1 สงั เกต ครใู หน้ กั เรยี นชมคลปิ วดิ โี อเกย่ี วกบั นทิ รรศการศลิ ปะ แลว้ ใหน้ กั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ หรอื ความรสู้ กึ ตอ่ บรรยากาศ ของงาน ขนั้ ที่ 2 วิเครำะห์วิจำรณ์ 1. ครแู บ่งนกั เรยี นเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ ใหแ้ ต่ละกล่มุ ร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง ความสาคญั ของการจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์ จากหนงั สอื เรยี น 2. ครใู หน้ กั เรยี นทเ่ี คยมโี อกาสไปชมการจดั นทิ รรศการทางศลิ ปะนอกโรงเรยี นออกมาเล่าประสบการณ์ใหเ้ พอ่ื นฟัง หน้าชนั้ เรยี น แลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั สรุปประเดน็ สาคญั ทผ่ี ชู้ มจะไดร้ บั จากการไปชมนทิ รรศการ 3. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ช่วยกนั ทาใบงำนท่ี 1.1 เร่ือง ควำมสำคญั ของกำรจดั นิทรรศกำรทำงทศั นศิลป์ เสรจ็ แลว้ ครสู ุม่ เรยี กนกั เรยี น 5-6 กลุ่ม ออกมานาเสนอใบงานหน้าชนั้ เรยี น ขนั้ ที่ 3 สรปุ นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ ความรเู้ ก่ยี วกบั ความสาคญั ของการจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์
82 เร่ืองที่ 2 ขนั้ ตอนกำรจดั นิทรรศกำรทำงทศั นศิลป์ เวลำ 1-2 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยการจดั การเรียนร้แู บบร่วมมอื : เทคนิคการต่อเรอื่ งราว (Jigsaw) ขนั้ นำเข้ำสู่บทเรียน ครถู ามนกั เรยี นเกย่ี วกบั วตั ถุประสงคห์ ลกั ของการจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์ คอื อะไร ใหน้ กั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งอสิ ระ จากนนั้ ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ ขนั้ สอน 1. นกั เรยี นรวมกลุ่มเดมิ (จากเรอ่ื งท่ี 1) ซง่ึ เรยี กวา่ กลมุ่ บา้ น แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มกาหนดหมายเลขประจาตวั ใหส้ มาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มเป็นหมายเลข 1-4 2. สมาชกิ ทม่ี หี มายเลขเดยี วกนั มารวมกนั เป็นกลมุ่ ใหม่ เรยี กวา่ กลุ่มผเู้ ชย่ี วชาญ แลว้ ใหก้ ล่มุ ผเู้ ชย่ี วชาญร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ขนั้ ตอนการจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์ จากหนงั สอื เรยี น โดยแบ่งหน้าทก่ี นั ศกึ ษาความรู้ ดงั น้ี - กลุ่มหมายเลข 1 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ขนั้ การวางแผน - กลมุ่ หมายเลข 2 ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง ขนั้ ปฏบิ ตั งิ าน - กลมุ่ หมายเลข 3 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ขนั้ แสดงผลงาน - กลุ่มหมายเลข 4 ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง ขนั้ ประเมนิ ผล 3. เม่อื กล่มุ ผเู้ ชย่ี วชาญศกึ ษาความรตู้ ามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ แลว้ ใหแ้ ยกยา้ ยกนั กลบั มายงั กลมุ่ บา้ น แลว้ ผลดั กนั อธบิ ายความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาใหส้ มาชกิ ในกลุ่มบา้ นฟัง 4. ครอู ธบิ ายเกย่ี วกบั ความสาคญั ของการประเมนิ ผลใหน้ กั เรยี นฟัง แลว้ ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ศกึ ษาตวั อยา่ ง แบบสอบถามการประเมนิ ผลนทิ รรศการ จากเอกสารประกอบการสอน 5. ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกนั ทาใบงำนที่ 2.1 เรื่อง กำรสร้ำงแบบสอบถำมกำรประเมินนิทรรศกำร เมอ่ื ทา เสรจ็ แลว้ ใหต้ วั แทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอใบงานทห่ี น้าชนั้ เรยี น ขนั้ สรปุ นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรเู้ ก่ยี วกบั ขนั้ ตอนการจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์
83 เรอื่ งท่ี 3 เกณฑก์ ำรคดั เลือกผลงำนทศั นศิลป์ เพอ่ื จดั นิทรรศกำร เวลำ 1-2 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยใช้ทกั ษะกระบวนการเผชิญสถานการณ์ ขนั้ นำเข้ำสู่บทเรยี น ครนู าภาพผลงานจติ รกรรมหลายๆ ภาพ มาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ สุม่ เรยี กนกั เรยี น 4-5 คน ออกมาเลอื กภาพเพอ่ื จดั นิทรรศการ แลว้ ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามตามประเดน็ ทก่ี าหนด ขนั้ สอน ขนั้ ที่ 1 รวบรวมขา่ วสาร ข้อมูล ขอ้ เทจ็ จริง ความรู้ และหลกั การ 1. นกั เรยี นกลมุ่ เดมิ (จากเร่อื งท่ี 1) รว่ มกนั สบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั เกณฑก์ ารคดั เลอื กผลงานทศั นศลิ ป์ เพอ่ื จดั นทิ รรศการ จากหนงั สอื เรยี น หอ้ งสมุด และแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ 2. สมาชกิ แต่ละกลุ่มรว่ มกนั อภปิ รายประเดน็ สาคญั ของขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ วบรวมมา แลว้ ดตู วั อยา่ งเกณฑส์ าหรบั ใช้ คดั เลอื กผลงานทศั นศลิ ป์ เพ่อื จดั นทิ รรศการ จากเอกสารประกอบการสอน ขนั้ ที่ 2 ประเมินคณุ คา่ และประโยชน์ นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั อภปิ รายเก่ยี วกบั ความสาคญั ของเกณฑค์ ดั เลอื กผลงานทศั นศลิ ป์ เพอ่ื นาไปจดั นทิ รรศการ ขนั้ ที่ 3 เลอื กและตดั สินใจ 1. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั สรา้ งเกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการคดั เลอื กผลงานทศั นศลิ ป์ เพอ่ื จดั นิทรรศการ แลว้ บนั ทกึ ลงใน ใบงำนท่ี 3.1 เร่อื ง เกณฑท์ ่ีใช้สำหรบั คดั เลอื กผลงำนทศั นศิลป์ 2. นกั เรยี นช่วยกนั นาเกณฑท์ ส่ี รา้ งขน้ึ ในใบงานท่ี 3.1 มาคดั เลอื ก เพอ่ื สรา้ งเป็นเกณฑก์ ลางสาหรบั ชนั้ เพอ่ื นาไปใช้ ในการคดั เลอื กผลงานทศั นศลิ ป์ ในการจดั นิทรรศการ ขนั้ ที่ 4 ปฏิบตั ิ ครมู อบหมำยให้นักเรยี นทงั้ ห้องช่วยกนั จดั นิทรรศกำรทำงทศั นศิลป์ โดยนำควำมรทู้ ่ีเรยี นมำเป็น แนวทำงในกำรดำเนิ นงำน เพือ่ ให้ครปู ระเมินผล โดยใหค้ รอบคุลมประเดน็ ตำมทกี่ ำหนด ขนั้ สรปุ นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ผลการจดั นทิ รรศการทางทศั นศลิ ป์ นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 6 เรอื่ ง การจดั นิทรรศการทางทศั นศิลป์
84 9. ส่ือ/แหล่งกำรเรียนรู้ 9.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี น ทศั นศลิ ป์ ม.3 2) เอกสารประกอบการสอน 3) บตั รภาพ 4) คลปิ วดิ โี อเกย่ี วกบั นทิ รรศการศลิ ปะ 5) ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ความสาคญั ของการจดั นิทรรศการทางทศั นศลิ ป์ 6) ใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง การสรา้ งแบบสอบถามการประเมนิ นิทรรศการ 7) ใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง เกณฑท์ ใ่ี ชส้ าหรบั คดั เลอื กผลงานทศั นศลิ ป์ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ - http://www.askorn.com/LC/Va/M3/13
85 กำรประเมนิ ช้ินงำน/ภำระงำน (รวบยอด) แบบประเมนิ การจัดนทิ รรศการทางทศั นศิลป์ รำยกำรประเมิน คำอธิบำยระดบั คณุ ภำพ / ระดบั คะแนน 1. กำรเลือกผลงำน ดมี ำก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) ทศั นศิลป์ กาหนดเกณฑแ์ ละเลอื ก กาหนดเกณฑแ์ ละเลอื ก ผลงานทศั นศลิ ป์ ได้ กาหนดเกณฑแ์ ละเลอื ก กาหนดเกณฑไ์ ด้ ผลงานทศั นศลิ ป์ ไม่ 2. กำรจดั เหมาะสม และสอดคลอ้ ง สอดคลอ้ งกบั นิ ทรรศกำร กบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการ ผลงานทศั นศลิ ป์ ได้ ค่อนขา้ งเหมาะสม วตั ถุประสงคข์ องการ จดั นทิ รรศการ จดั นิทรรศการ ค่อนขา้ งเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั จดั นิทรรศการไดถ้ กู ตอ้ ง จดั นิทรรศการไม่ ตามขนั้ ตอนของการจดั และสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการจดั ถูกตอ้ งตามขนั้ ตอน นทิ รรศการ คอื ของการจดั นิทรรศการ 1) การวางแผน วตั ถุประสงคข์ องการจดั นทิ รรศการ แต่เลอื ก 2) การปฏบิ ตั งิ าน 3) การแสดงผลงาน นทิ รรศการ ผลงานไมส่ อดคลอ้ งกบั 4) การประเมนิ ผล เกณฑท์ ก่ี าหนด จดั นิทรรศการไดถ้ ูกตอ้ ง จดั นทิ รรศการไดถ้ กู ตอ้ ง ตามขนั้ ตอนของการจดั ตามขนั้ ตอนของการจดั นทิ รรศการทงั้ 4 ขนั้ ตอน นทิ รรศการทงั้ 4 ขนั้ ตอน แตม่ จี ดุ บกพร่องบา้ ง แต่มจี ดุ บกพรอ่ งเป็น เลก็ น้อย สว่ นใหญ่ เกณฑก์ ำรตดั สินคณุ ภำพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภำพ 8 ดมี าก ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรุง ต่ากวา่ 4
86 แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรยี น หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ 6 คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว 1. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ความสาคญั ของการจดั นทิ รรศการ 6. ขอ้ ใดจะช่วยสะทอ้ นภาพของการจดั นิทรรศการ ก. ส่งเสรมิ การทาธรุ กจิ ก. ผชู้ มงานประเมนิ ข. สง่ เสรมิ ความสามคั คี ข. มผี ลงานหลากหลาย ค. สง่ เสรมิ การแสดงออก ค. คณะทางานประเมนิ ง. สง่ เสรมิ ความสนใจทางศลิ ปะ ง. การจดั สถานทส่ี วยงาม 2. การจดั นิทรรศการควรพจิ ารณาจากเร่อื งใด 7. การจะคดั เลอื กผลงานทางทศั นศลิ ป์ ควรคานึงถงึ ขอ้ ใด ก. การเชญิ สอ่ื มวลชน ก. เป็นผลงานของศลิ ปิน ข. การเตรยี มวสั ดุ-อุปกรณ์ ข. ผลงานทม่ี ขี นาดพอเหมาะ ค. การเตรยี มผลงานทศั นศลิ ป์ ค. มผี ลงานใหเ้ ลอื กหลายประเภท ง. การวางแผนการจดั นิทรรศการ ง. ควรมเี กณฑก์ ารคดั เลอื กผลงาน 3. การออกแบบการจดั นทิ รรศการ คอื ขนั้ ตอนใด 8. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่เกณฑก์ ารคดั เลอื กผลงานทศั นศลิ ป์ เพ่อื ของการจดั นิทรรศการ จดั นทิ รรศการ ก. ขนั้ วางแผน ก. ควรคดั เลอื กเพยี งคนเดยี ว ข. ขนั้ ปฏบิ ตั งิ าน ค. ขนั้ เตรยี มงาน ข. มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ง. ขนั้ แสดงผลงาน ค. มคี ณุ คา่ ความงามทางสุนทรยี ์ ง. เน้อื หาสาระตรงตามหวั ขอ้ ทก่ี าหนด 4. วตั ถุประสงคใ์ นการจดั นทิ รรศการอย่ใู นขนั้ ตอนใด ของการจดั นิทรรศการ 9. สจู บิ ตั ร มปี ระโยชน์อย่างไร ก. ขนั้ วางแผน ก. อานวยแก่ผเู้ ขา้ ชม ข. ขนั้ ปฏบิ ตั งิ าน ข. จดั จาหน่ายเพอ่ื หารายได้ ค. ขนั้ เตรยี มงาน ค. ประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมต่างๆ ง. ขนั้ แสดงผลงาน ง. เป็นรปู แบบของการจดั นิทรรศการ 5. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ขนั้ แสดงผลงานของการจดั นิทรรศการ 10. ผลงานทศั นศลิ ป์ แบบใดทค่ี วรนามาจดั นทิ รรศการ ก. พธิ เี ปิด ก. เป็นผลงานของนักเรยี น ข. การประเมนิ ผล ข. เป็นผลงานของบคุ คลทวั่ ๆ ไป ค. การประชาสมั พนั ธ์ ค. เป็นผลงานของศลิ ปินทม่ี ชี อ่ื เสยี ง ง. การดาเนินกจิ กรรม ง. เป็นผลงานทศั นศลิ ป์ ทม่ี ที งั้ ปรมิ าณและคุณภาพ 1. ก 2. ง 3. ข 4. ก 5. ข ตวั ชี้วดั ศ 1.1 ขอ้ 11 6. ง 7. ง 8. ก 9. ค 10. ง ได้คะแนน คะแนนเตม็ 10
87 บนั ทึกหลังการสอน รายวชิ าศิลปะ นักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 วิชาศลิ ปะ ครผู สู้ อน นายปฏภิ าณ ไชยเทพา เรอ่ื ง การจัดนทิ รรศการทางทัศนศลิ ป์ ดา้ นความรู้ . ผเู้ รยี นเกดิ ทกั ษะกระบวนการปฏบิ ตั ิ การสร้างสรรค์ เพิม่ เติมความรู้ใหม่ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ เกิดกระบวนการสรา้ งความคิด รวบยอด ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1.สมรรถนะดา้ นการจดั การตัวเอง นกั เรียนมีความรบั ผิดชอบในระดบั ปานกลาง คือใหท้ ำงานยังไมก่ ระตือรือล้นเทา่ ไหร่ 2.สมรรถนะด้านการส่ือสาร นกั เรยี นได้มสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เกี่ยวกับเทคนคิ วิธกี ารในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ทัศนศลิ ป์ โดยครสู ุ่มถาม ซึ่งนักเรยี นได้แสดงความคิดโดยการส่ือสารพดู ในความคดิ ของนักเรียนเอง 3.สมรรถนะด้านการรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม นักเรยี นมีการแบ่งหนา้ ท่ใี นการทำงาน เช่น การแบ่งกลุ่มสมาชกิ และแบง่ ช่อื เรอื่ งทีจ่ ะศึกษาเองโดยครูคอยช้ีแนะ เป็นต้น 4.สมรรถนะด้านการคิดชน้ั สูง นกั เรียนยังมคี วามรูเ้ ก่ียวกับทัศนศลิ ป์ไม่มากพอ และขาดการไตรตรองในการใชค้ วามคิดใน การตอบ 5.สมรรถนะด้านการเปน็ พลเมืองท่ีเข้มแขง็ นักเรียนบางสว่ นมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่ทีไ่ ด้รับเป็นอยา่ งดี ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั นักเรียนสว่ นมากมีวนิ ัยในตนเองดี รับผดิ ชอบต่อตนเองดี มีบางส่วนยงั ขาดวนิ ัยตอ่ ตนเอง 2. ใฝเ่ รยี นรู้ นักเรียนสบื ค้นหาข้อมูลเองโดยทีค่ รูกำหนดหวั ขอ้ ให้ 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน นักเรียนบางคนมุ่งมนั่ ต้งั ใจในการทำงานเป็นอย่างดี ดา้ นอื่นๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถ้าม)ี ) ปญั หา/อปุ สรรค เดก็ นกั เรยี นบางคนไม่เข้าเรยี น นกั เรียนชายหลายคนสนใจในเรอ่ื งอนื่ มากกวา่ การเรียน เชน่ อยากซ้อมกีฬา คยุ กนั เสียง ดงั แนวทางการแก้ไข คนที่ไมเ่ ขา้ เรยี นครจู ะไมเ่ ชค็ เวลาเรยี นให้ และมกี ารหักคะแนน และครตู ง้ั เงื่อนไขกับนักเรยี น ถา้ ต้งั ใจเรียนจะปลอ่ ยเร็ว
88 ความเห็นของครูพ่ีเลีย้ ง ขอ้ เสนอแนะ มกี ารจดั การเรียนการสอนตามแผนการสอน ทำให้นักเรียนบรรลุตามตัวชว้ี ดั ทตี่ ้ังไว้ มคี ำถามทหี่ ลากหลาบ มกี าร ประเมินตามตวั ช้ีวัด ใชส้ ่ือได้เหมาะสมกับการเรียนการสอน . ลงชือ่ . (นางสาวมณรี ตั น์ เนียรประดษิ ฐ) ตำแหน่ง หวั หนา้ กลุ่มสาระศิลปะ ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น . ขอ้ เสนอแนะ การสอนครอบคลุมเนือ้ หาและตวั ช้วี ัดเหน็ ควรใชใ้ นการสอนนกั เรยี นได้ . . ลงชอื่ . (นายเชิดศกั ด์ิ เอกปรญิ ญา) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเหล่าหลวงประชานุสรณ์
89 แผนการจัดการเรียนรู้ โรงเรยี นเหล่าหลวงประชานสุ รณ์ ตำบลเหล่าหลวง อำเภอเกษตรวิสยั จงั หวดั ร้อยเอด็ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 7 เรือ่ ง ทศั นศลิ ปก์ บั วฒั นธรรม เวลา 5 ชว่ั โมง 1. มำตรฐำนกำรเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั ศ 1.2 ม.3/1 ศกึ ษาและอภปิ รายเกย่ี วกบั งานทศั นศลิ ป์ ทส่ี ะทอ้ นคณุ คา่ ของวฒั นธรรม ม.3/2 เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของงานทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยุคสมยั ของวฒั นธรรมไทยและสากล 2. สำระสำคญั /ควำมคิดรวบยอด งานทศั นศลิ ป์ ทส่ี ะทอ้ นคณุ ค่าของวฒั นธรรมไทยและสากลในแต่ละยุคสมยั จะมคี วามแตกต่างกนั 3. สำระกำรเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 1) งานทศั นศลิ ป์ กบั การสะทอ้ นคุณคา่ ของวฒั นธรรม 2) ความแตกตา่ งของงานทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยคุ สมยั ของวฒั นธรรมไทยและสากล 3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่ (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ 2) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 3) ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้ 4.2 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 5. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน
90 6. ชิ้นงำน/ภำระงำน (รวบยอด) รายงาน เร่อื ง ทศั นศลิ ป์ กบั วฒั นธรรม 7. กำรวดั และกำรประเมินผล 7.1 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 7 เร่อื ง ทศั นศลิ ป์ กบั วฒั นธรรม 7.2 การประเมินระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ผลงานทศั นศลิ ป์ ทส่ี ะทอ้ นคุณค่าทางวฒั นธรรม 2) ตรวจใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง ผลงานทศั นศลิ ป์ ของไทย 3) ตรวจใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง ผลงานทศั นศลิ ป์ ของตะวนั ตก 4) ตรวจแบบบนั ทกึ การอ่าน 5) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 6) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล 7) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 8) สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 7.3 การประเมินหลงั เรียน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 7 เร่อื ง ทศั นศลิ ป์ กบั วฒั นธรรม 7.4 การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจรายงาน เร่อื ง ทศั นศลิ ป์ กบั วฒั นธรรม 8. กิจกรรมกำรเรยี นรู้ นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 7 เรอื่ ง ทศั นศิลป์ กบั วฒั นธรรม
91 เรอื่ งท่ี 1 ทศั นศิลป์ กบั กำรสะท้อนคณุ ค่ำทำงวฒั นธรรม เวลำ 1 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยการจดั การเรยี นร้แู บบรว่ มมือ : เทคนิคคคู่ ิดสีส่ หาย ขนั้ นำเข้ำสู่บทเรยี น ครนู าภาพผลงานทศั นศลิ ป์ มาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั แสดงความคดิ เหน็ ตามประเดน็ ทก่ี าหนด ขนั้ สอน 1. ครแู บ่งนกั เรยี นเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ ใหส้ มาชกิ ในกลุม่ จบั ค่กู นั เป็น 2 คู่ ใหแ้ ตล่ ะคู่ ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง ทศั นศลิ ป์ กบั การสะทอ้ นคณุ คา่ ทางวฒั นธรรม จากหนงั สอื เรยี น 2. เมอ่ื นกั เรยี นแต่ละคศู่ กึ ษาความรตู้ ามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจนเขา้ ใจแลว้ ใหก้ ลบั มารวมกลมุ่ เดมิ (กลมุ่ ละ 4 คน) แลว้ นาความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษามาผลดั กนั อธบิ ายใหส้ มาชกิ อกี ค่หู น่งึ ฟัง 3. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกนั ทาใบงำนท่ี 1.1 เรื่อง ผลงำนทศั นศิลป์ ที่สะท้อนคณุ ค่ำทำงวฒั นธรรม 4. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ผลดั กนั ออกมานาเสนอใบงานท่ี 1.1 หน้าชนั้ เรยี น ขนั้ สรปุ นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปความรเู้ ก่ยี วกบั ผลงานทศั นศลิ ป์ ทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ คณุ ค่าทางวฒั นธรรม
92 เร่ืองท่ี 2 ควำมแตกต่ำงของงำนทศั นศิลป์ ในแต่ละยคุ สมยั ของวฒั นธรรมไทย เวลำ 1-2 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด ขนั้ ท่ี 1 สงั เกต ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่ม (กลมุ่ เดมิ จากเรอ่ื งท่ี 1) ร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง ความแตกตา่ งของงานทศั นศลิ ป์ ในแต่ละ ยคุ สมยั ของวฒั นธรรมไทย จากหนงั สอื เรยี น แลว้ ชว่ ยกนั พจิ ารณาเกย่ี วกบั ลกั ษณะของผลงานทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยคุ สมยั ขนั้ ที่ 2 จำแนกควำมแตกต่ำง นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของลกั ษณะผลงานทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยคุ สมยั แลว้ สง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการวเิ คราะหห์ น้าชนั้ เรยี น ขนั้ ท่ี 3 หำลกั ษณะร่วม นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกนั เปรยี บเทยี บลกั ษณะทเ่ี หมอื นกนั หรอื คลา้ ยคลงึ กนั ของผลงานทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยุคสมยั แลว้ สง่ ตวั แทนกลุม่ ออกมานาเสนอผลการเปรยี บเทยี บหน้าชนั้ เรยี น ขนั้ ที่ 4 ระบุชื่อควำมคิดรวบยอด นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ช่วยกนั สรุปลกั ษณะทเ่ี หมอื นกนั และแตกต่างกนั ของผลงานทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยุคสมยั ขนั้ ท่ี 5 ทดสอบและนำไปใช้ นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั ทาใบงำนที่ 2.1 เรื่อง ผลงำนทศั นศิลป์ ของไทย เสรจ็ แลว้ สง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมานาเสนอ ใบงานหน้าชนั้ เรยี น
93 เร่ืองที่ 3 ควำมแตกต่ำงของงำนทศั นศิลป์ ในแต่ละยคุ สมยั ของวฒั นธรรมสำกล เวลำ 1-2 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยการจดั การเรียนรแู้ บบร่วมมือ : เทคนิคการต่อเรอื่ งราว (Jigsaw) ขนั้ นำเข้ำสู่บทเรยี น ครนู าภาพผลงานทศั นศลิ ป์ มาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั แสดงความคดิ เหน็ ในประเดน็ ทก่ี าหนด จากนนั้ ครู เฉลยคาตอบ ขนั้ สอน 1. นกั เรยี นรวมกลุ่มเดมิ (จากเร่อื งท่ี 1) ซง่ึ เรยี กวา่ กลุ่มบา้ น ใหแ้ ต่ละกลุม่ กาหนดหมายเลขประจาตวั ใหส้ มาชกิ แตล่ ะคนในกล่มุ เป็นหมายเลข 1-4 2. สมาชกิ ทม่ี หี มายเลขเดยี วกนั ของแตล่ ะกลมุ่ มารวมกนั เป็นกลมุ่ ใหม่ เรยี กว่า กลุ่มผเู้ ชย่ี วชาญ แลว้ ร่วมกนั ศกึ ษา ความรเู้ รอ่ื ง ความแตกต่างของงานทศั นศลิ ป์ ในแต่ละยุคสมยั ของวฒั นธรรมสากล จากหนงั สอื เรยี น โดยแบ่งหน้าท่ี กนั ศกึ ษาความรู้ ดงั น้ี - กลุ่มหมายเลข 1 ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ - กลุ่มหมายเลข 2 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง สมยั ประวตั ศิ าสตร์ - กลุ่มหมายเลข 3 ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง สมยั กลาง - กลมุ่ หมายเลข 4 ศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง สมยั ฟ้ืนฟูศลิ ปวทิ ยา 3. เม่อื กล่มุ ผเู้ ชย่ี วชาญศกึ ษาความรตู้ ามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจนเขา้ ใจแลว้ ใหแ้ ยกยา้ ยกนั กลบั เขา้ สกู่ ลุ่มบา้ น แลว้ ผลดั กนั อธบิ ายความรทู้ ไ่ี ดศ้ กึ ษามาใหส้ มาชกิ ในกลุ่มบา้ นฟัง 4. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั ทาใบงำนที่ 3.1 เรื่อง ผลงำนทศั นศิลป์ ของตะวนั ตก เสรจ็ แลว้ ใหแ้ ต่ละกล่มุ ผลดั กนั ออกมานาเสนอใบงานทห่ี น้าชนั้ เรยี น 5. ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ ช่วยกนั เปรยี บเทยี บลกั ษณะของผลงานทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยคุ สมยั ว่า มคี วามแตกตา่ งกนั อย่างไร แลว้ สง่ ตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอผลการเปรยี บเทยี บหน้าชนั้ เรยี น ขนั้ สรปุ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรเู้ ก่ยี วกบั ความแตกต่างของงานทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยคุ สมยั ของวฒั นธรรมสากล ครมู อบหมำยให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มทำรำยงำน เรือ่ ง ทศั นศิลป์ กบั วฒั นธรรม โดยใหค้ รอบคลมุ ประเดน็ ตำมทกี่ ำหนด นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 7 เรอื่ ง ทศั นศิลป์ กบั วฒั นธรรม
94 9. ส่ือ/แหล่งกำรเรยี นรู้ 9.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี น ทศั นศลิ ป์ ม.3 2) บตั รภาพ 3) ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง ผลงานทศั นศลิ ป์ ทส่ี ะทอ้ นคุณค่าและวฒั นธรรม 4) ใบงานท่ี 2.1 เร่อื ง ผลงานทศั นศลิ ป์ ของไทย 5) ใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง ผลงานทศั นศลิ ป์ ของตะวนั ตก 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ —
95 กำรประเมนิ ช้ินงำน/ภำระงำน (รวบยอด) แบบประเมนิ รายงาน เรือ่ ง ทศั นศิลป์ กบั วฒั นธรรม รำยกำรประเมิน คำอธิบำยระดบั คณุ ภำพ / ระดบั คะแนน 1. กำรอธิบำยงำน ดมี ำก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) ทศั นศิลป์ ที่ อธบิ ายงานทศั นศลิ ป์ ท่ี อธบิ ายงานทศั นศลิ ป์ ท่ี สะท้อนคณุ ค่ำ สะทอ้ นคุณคา่ ทาง อธบิ ายงานทศั นศลิ ป์ ท่ี อธบิ ายงานทศั นศลิ ป์ ท่ี สะทอ้ นคุณค่าทาง ทำงวฒั นธรรม วฒั นธรรมไดถ้ ูกตอ้ งและ สะทอ้ นคณุ คา่ ทาง สะทอ้ นคณุ คา่ ทาง วฒั นธรรมไดถ้ ูกตอ้ ง ยกตวั อย่างภาพประกอบ วฒั นธรรมไดถ้ กู ตอ้ ง วฒั นธรรมไดถ้ ูกตอ้ ง เพยี งเลก็ น้อย และ 2. กำรเปรยี บเทียบ ไดถ้ กู ตอ้ ง 3 ภาพขน้ึ ไป ยกตวั อยา่ ง ควำมแตกต่ำง เป็นส่วนใหญ่ และ เป็นสว่ นใหญ่ และ ภาพประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง ของผลงำน เปรยี บเทยี บความ 1 ภาพ ทศั นศิลป์ ใน แตกตา่ งของผลงาน ยกตวั อยา่ งภาพประกอบ ยกตวั อยา่ งภาพประกอบ เปรยี บเทยี บความ แต่ละยคุ สมยั ของ ทศั นศลิ ป์ ในแต่ละยุค แตกตา่ งของผลงาน วฒั นธรรมไทย สมยั ของวฒั นธรรมไทย ไดถ้ กู ตอ้ ง 3 ภาพ ไดถ้ กู ตอ้ ง 2 ภาพ ทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยคุ ไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน สมยั ของวฒั นธรรมไทย 3. กำรเปรียบเทียบ ครบทุกสมยั เปรยี บเทยี บความ เปรยี บเทยี บความ ไม่ถกู ตอ้ ง ควำมแตกต่ำง แตกต่างของผลงาน แตกต่างของผลงาน ของผลงำน เปรยี บเทยี บความ ทศั นศลิ ป์ ในแต่ละยุค ทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยุค เปรยี บเทยี บความ ทศั นศิลป์ ใน แตกต่างของผลงาน สมยั ของวฒั นธรรมไทย สมยั ของวฒั นธรรมไทย แตกตา่ งของผลงาน แต่ละยคุ สมยั ของ ทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยคุ ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ไดถ้ กู ตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ทศั นศลิ ป์ ในแต่ละยคุ วฒั นธรรมสำกล สมยั ของวฒั นธรรมสากล ครบทกุ สมยั แตไ่ มค่ รบทุกสมยั สมยั ของวฒั นธรรม ไดถ้ กู ตอ้ ง ชดั เจน สากลไม่ถกู ตอ้ ง ครบทุกสมยั เปรยี บเทยี บความ เปรยี บเทยี บความ แตกต่างของผลงาน แตกตา่ งของผลงาน ทศั นศลิ ป์ ในแต่ละยคุ ทศั นศลิ ป์ ในแตล่ ะยคุ สมยั ของวฒั นธรรมสากล สมยั ของวฒั นธรรมสากล ไดถ้ กู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ครบทุกสมยั แตไ่ ม่ครบทกุ สมยั เกณฑ์กำรตดั สินคณุ ภำพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภำพ 11 - 12 ดมี าก 9 - 10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ากวา่ 6 ปรบั ปรุง
96 แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หนว่ ยกำรเรยี นร้ทู ่ี 7 คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบท่ถี ูกต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว 1. สถูปและเจดยี ส์ รา้ งขน้ึ ดว้ ยเหตุใด 6. เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผาสมยั สุโขทยั ทร่ี บั อทิ ธพิ ลจากจนี คอื ขอ้ ใด ก. เพ่อื การดารงชวี ติ ก. เครอ่ื งสงั คโลก ข. ดว้ ยความศรทั ธา ข. เคร่อื งลายคราม ค. สรา้ งตามยคุ สมยั ค. เคร่อื งเบญจรงค์ ง. เพอ่ื ประโยชน์ใชส้ อย ง. เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผาบา้ นเชยี ง 2. ผลงานทศั นศลิ ป์ ถา้ เป็นช่างพน้ื ฐานมกั จะเน้นเร่อื งใด 7. งานจติ รกรรมสมยั ใดมกี ารปิดทองสว่ นทส่ี าคญั ของภาพ ก. รปู แบบแตกตา่ งกนั เกย่ี วกบั ศาสนา ข. สอดแทรกวฒั นธรรม ก. สมยั อยธุ ยา ค. เน้นประโยชนใ์ ชส้ อย ข. สมยั สุโขทยั ง. ความละเอยี ดประณตี ค. สมยั กอ่ นสโุ ขทยั ง. สมยั รตั นโกสนิ ทร์ 3. ผลงานทศั นศลิ ป์ ใดเกย่ี วกบั ประเพณี ก. ตุ๊กตาชาววงั 8. งานสถาปัตยกรรมสมยั อยุธยารบั เอารปู แบบจากทใ่ี ด ข. ตวั หนงั ตะลงุ ค. เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา ก. จนี ข. พทุ ธ ง. หน้ากากผตี าโขน ค. ยโุ รป ง. อนิ เดยี 4. ภูมปิ ัญญาในขอ้ ใดทส่ี ะทอ้ นอยใู่ นทศั นศลิ ป์ ก. สที เ่ี ขยี นตามผนังถา้ 9. ผลงานจติ รกรรมของขรวั อนิ โขง่ โดดเดน่ ในสมยั ใด ข. จติ รกรคดิ คน้ หมกึ สดี า ก. สมยั รชั กาลท่ี 1 ค. โบสถ์ของศาสนาครสิ ต์ ข. สมยั รชั กาลท่ี 2 ง. เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผาบา้ นเชยี ง ค. สมยั รชั กาลท่ี 3 ง. สมยั รชั กาลท่ี 4 5. ผลงานจติ รกรรมสมยั สุโขทยั มกั เน้นเร่อื งราวเกย่ี วกบั เรอ่ื งใด 10. ผลงานภาพเขยี นสถี า้ อลั ตามรี าในสเปน เป็นจติ รกรรม ก. เกย่ี วกบั ธรรมชาติ สมยั ใด ข. เกย่ี วกบั วรรณกรรม ก. สมยั กลาง ค. การดารงชวี ติ ประจาวนั ข. สมยั ประวตั ศิ าสตร์ ง. เกย่ี วกบั พระพุทธศาสนา ค. สมยั ฟ้ืนฟศู ลิ ปวทิ ยา ง. สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ 1. ข 2. ค 3. ง 4. ข 5. ง ตวั ชี้วดั ศ 1.2 ข้อ 1-2 6. ก 7. ก 8. ค 9. ง 10. ง ไดค้ ะแนน คะแนนเตม็ 10
97 บันทึกหลังการสอน รายวชิ าศลิ ปะ นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 วิชาศลิ ปะ ครูผูส้ อน นายปฏภิ าณ ไชยเทพา เร่ือง ทศั นศลิ ปก์ ับวฒั นธรรม ด้านความรู้ . ผเู้ รียนเกิดทักษะกระบวนการปฏิบัติ การสรา้ งสรรค์ เพ่มิ เติมความรู้ใหม่ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เกดิ กระบวนการสรา้ งความคิด รวบยอด ด้านสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น 1.สมรรถนะด้านการจดั การตัวเอง นักเรยี นมีความรับผิดชอบในระดบั ปานกลาง คือใหท้ ำงานยังไมก่ ระตอื รือล้นเท่าไหร่ 2.สมรรถนะด้านการสือ่ สาร นกั เรียนไดม้ สี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เกี่ยวกับเทคนคิ วิธกี ารในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ทัศนศลิ ป์ โดยครูสุ่มถาม ซงึ่ นักเรียนไดแ้ สดงความคดิ โดยการส่อื สารพดู ในความคดิ ของนักเรยี นเอง 3.สมรรถนะดา้ นการรวมพลังทำงานเปน็ ทีม นกั เรียนมีการแบง่ หน้าที่ในการทำงาน เช่น การแบ่งกล่มุ สมาชิก และแบง่ ชอ่ื เรือ่ งทจี่ ะศึกษาเองโดยครูคอยชี้แนะ เป็นต้น 4.สมรรถนะดา้ นการคดิ ชัน้ สูง นักเรียนยงั มคี วามรูเ้ กี่ยวกบั ทศั นศิลป์ไมม่ ากพอ และขาดการไตรตรองในการใช้ความคิดใน การตอบ 5.สมรรถนะดา้ นการเป็นพลเมอื งท่ีเข้มแข็ง นักเรยี นบางสว่ นมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีท่ไี ด้รับเปน็ อยา่ งดี ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย นักเรยี นส่วนมากมีวินยั ในตนเองดี รบั ผิดชอบต่อตนเองดี มีบางส่วนยังขาดวินยั ต่อตนเอง 2. ใฝเ่ รียนรู้ นกั เรยี นสบื ค้นหาข้อมลู เองโดยที่ครูกำหนดหวั ขอ้ ให้ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน นักเรียนบางคนมุง่ มัน่ ตงั้ ใจในการทำงานเปน็ อยา่ งดี ด้านอ่นื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทมี่ ีปัญหาของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี ) ปัญหา/อุปสรรค เด็กนักเรยี นบางคนไม่เข้าเรยี น นกั เรียนชายหลายคนสนใจในเรอื่ งอื่นมากกวา่ การเรียน เชน่ อยากซอ้ มกีฬา คยุ กันเสยี ง ดงั แนวทางการแกไ้ ข คนท่ีไมเ่ ข้าเรยี นครูจะไม่เชค็ เวลาเรยี นให้ และมกี ารหักคะแนน และครตู ง้ั เงอ่ื นไขกับนกั เรียน ถา้ ต้งั ใจเรียนจะปล่อยเร็ว
98 ความเห็นของครูพ่ีเลีย้ ง ขอ้ เสนอแนะ มกี ารจดั การเรียนการสอนตามแผนการสอน ทำให้นักเรียนบรรลุตามตัวชว้ี ดั ทตี่ ้ังไว้ มคี ำถามทหี่ ลากหลาบ มกี าร ประเมินตามตวั ช้ีวัด ใชส้ ่ือได้เหมาะสมกับการเรียนการสอน . ลงชือ่ . (นางสาวมณรี ตั น์ เนียรประดษิ ฐ) ตำแหน่ง หวั หนา้ กลุ่มสาระศิลปะ ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น . ขอ้ เสนอแนะ การสอนครอบคลุมเนือ้ หาและตวั ช้วี ัดเหน็ ควรใชใ้ นการสอนนกั เรยี นได้ . . ลงชอื่ . (นายเชิดศกั ด์ิ เอกปรญิ ญา) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเหล่าหลวงประชานุสรณ์
1
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140