รายงานผลการดาเนนิ งาน การจัดการเรยี นรูใ้ นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2562 นวัตกรรมตน้ แบบการเรยี นรู้ผา่ นสมุนไพรในท้องถ่ิน สาหรบั นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านบลกู าสนอ โรงเรียนบ้านบลูกาสนอ ตาบลตะปอเยาะ อาเภอยง่ี อ สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
ก คานา รายงานผลการพัฒนาการจดั การเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ของโรงเรียนบ้านบลูกาสนอ จัดทาขึ้นเพ่ือสรุปและรวบรวมรายงานการดาเนินงาน “นวัตกรรมต้นแบบการเรียนรู้ผ่านสมุนไพรในท้องถ่ิน สาหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านบลูกาสนอ” ระหว่างเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒ ถึง มีนาคม ๒๕๖3 ในโครงการ TFE : Teams For Education และพน้ื ที่นวตั กรรมการศกึ ษา เพือ่ ประมวลผลการปฏิบัติงานตามแผนงานท่ีวางไว้ ของโรงเรียน ท่ีเป็นผลมาจาการร่วมมือของปราชญ์ชาวบ้าน นักเรียนและบุคลกรทุกท่าน โดยการจัดทารายงาน ได้รับความร่วมมืออยา่ งดีย่ิงจากทกุ ฝา่ ยเป็นอยา่ งดี หวงั เปน็ อย่างยงิ่ ว่าเอกสารนี้ จะเอ้ืออานวยประโยชน์แก่หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ตลอดจนผสู้ นใจท่ัวไป โรงเรียนบา้ นบลูกาสนอ
สารบัญ ข เร่อื ง หนา้ ความเป็นมา 1 หลกั การและเหตผุ ล 1 วตั ถุประสงค์ 2 เป้าหมาย 2 หลักการ แนวคดิ และทฤษฎี 3 3 - บริบทของสถานศึกษา/ชุมชน 4 - แนวคิดและทฤษฎที น่ี ามาใช้ 6 แนวทาง/รูปแบบการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ 8 ผลการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ 9 ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนนิ การ 9 ขอ้ เสนอแนะของโรงเรยี น ภาคผนวก - ภาพประกอบ - แบบประเมนิ - คณะผจู้ ัดทา
1 แบบรายงานผลการพฒั นาการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมกบั บริบทของสถานศกึ ษา ผลการดาเนนิ งานการจัดการเรียนรใู้ นพ้ืนทนี่ วัตกรรมการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โรงเรยี นบ้านบลูกาสนอ อาเภอยงี่ อ จังหวัดนราธวิ าส ชื่อเร่ือง นวัตกรรมตน้ แบบการเรยี นรู้ผ่านสมนุ ไพรใกลต้ ัวสาหรบั นกั เรยี นโรงเรียนบา้ นบลูกาสนอ โครงการ พฒั นานวัตกรรมการอา่ นออกเขียนไดผ้ ่านสมนุ ไพรในทอ้ งถิน่ สว่ นท่ี ๑ ข้อมูลเบ้อื งต้น 1. ความเปน็ มา จากผลการทดสอบ (O-NET) จากปี 2559 – 2561 ของโรงเรียน บา้ นบลูกาสนอ รายวชิ า ปกี ารศึกษา 2559 ปกี ารศกึ ษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ภาษาไทย 41.41 29.01 30.77 สงั คมศึกษา 40.96 - - ภาษาองั กฤษ 44.78 25.47 26.67 คณติ ศาสตร์ 29.71 20.78 21.67 วทิ ยาศาสตร์ 40.37 25.45 26.59 นอกจากน้ีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา เป็นอีกทักษะ ที่มีความสาคัญสาหรับการดารงชีวิตอย่างมีสุขภาวะที่ดี เป็นพฤติกรรมของบุคคลในการใช้ความสามารถด้าน ภาษา การรู้หนังสือเพ่ือเข้าถึง เข้าใจ ประเมิน ใช้ความรู้ และส่ือสารเกี่ยวกับสารสนเทศ ด้านสุขภาวะตาม ความต้องการ เพอ่ื สง่ เสรมิ และรกั ษาสุขภาวะท่ดี ีตลอดชีวิต อย่างไรก็ตามเน่ืองจากมีผู้เรียนบางคน อ่านหนังสือไม่ออก เขียนไม่ได้ จึงไม่สามารถเลือกบริโภคสื่อ ที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต ท่ีจะดูแลชีวิตตามช่วงวัยได้ และไม่สามารถดูแลตัวเองได้ จากเหตุผลดังกล่าว โรงเรียนบ้านบลูกาสนอ จึงได้ดาเนินการ “โครงการพัฒนานวัตกรรมการอ่านออกเขียนได้เพื่อเสริมสร้าง ความรอบรู้ด้านสุขภาวะ” เพ่ือพัฒนานวัตกรรมการอ่านออกเขียนได้และความรอบรู้ทางสุขภาวะ ให้กับนักเรียน ระดับชน้ั ประถมศึกษาต่อไป 2. หลักการ และเหตผุ ล ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและก้าวไกลมากมาย ไม่ว่าจะเป็นความเจริญด้านเทคโนโลยี การส่ือสาร การคมนาคมขนส่งต่างๆ อันเป็นปัจจัยส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์ โดยเฉพาะ การศึกษาได้เกิดการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาเพ่ือให้ก้าวทันสังคมโลก แต่หลักสูตรและวิธีการจัดการเรียนรู้ยังไม่ สามารถบง่ ชว้ี ่าผ้เู รียนมีคุณภาพสูงขึ้น รัฐบาลได้ประกาศ Thailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายที่จะเปล่ียนแปลงเศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนด้วย นวัตกรรม เปลี่ยนจากการผลิตสินค้าแบบ “ทามากได้น้อย” ปรับเปลี่ยน “ทาน้อยได้มาก”เปล่ียนจากสินค้าเชิง “โภคภณั ฑ”์ ไปสูส่ ินค้าเชิง “นวัตกรรม” ซึ่งต้องอาศัยความเข้าใจ ความร่วมมือจากทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือพัฒนา ประเทศไปสู่เป้าหมายให้ได้
2 กระทรวงศึกษาธิการ ได้จดั ตัง้ ศนู ย์ประสานงานและบริหารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศปบ.จชต.) มีบทบาทหน้าท่ีในการบูรณาการ เช่ือมโยง โครงการ แผนงาน งบประมาณ รวมท้ังปฏิบัติงานของหน่วยงานทาง การศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้เป็นเอกภาพ เกิดประสิทธิภาพ มุ่งหวังผลสัมฤทธิ์เป็นรูปธรรม ตาม นโยบายของรัฐบาล ในหว้ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นปีแห่งการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่มุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธ์ิเป็นรูปธรรม โดยน้อมนายุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางดาเนินการ ซึ่งสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงมีพระราชปณิธานที่จะสืบสาน รักษา ต่อยอด และ มีพระบรมราโชบายด้านการศึกษาที่มุ่งสร้างพ้ืนฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน ได้แก่ หน่ึง มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อ บ้านเมอื ง สอง มพี นื้ ฐานชวี ิตท่มี ่ันคง มีคุณธรรม สาม มงี านทา มีอาชีพ และส่ี เป็นพลเมอื งดี ดังนั้น จึงจาเปน็ ตอ้ งสร้างคุณภาพของผู้เรียนใหม่ให้เป็น “คนคิดเป็น คิดดี + ทาดี ทาเป็น” โดยน้อมนา “ศาสตร์พระราชา” ของในหลวงรัชกาลที่ 9 “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักคิด แล้วหลอมรวมกับนโยบาย แนวทาง และจุดเน้นหนักในการพัฒนาจังหวัดนราธิวาสเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ อันจะเป็นการสร้างความม่ันคงด้าน คุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดนราธิวาสอย่างจริงจัง เพ่ือขับเคลื่อน “7 วาระ นรานา่ อยู่ อย่างยัง่ ยนื ” ไปสู่เปา้ หมาย ภายใตน้ โยบายของรัฐบาลทจ่ี ะ “ไมท่ งิ้ ใคร ไว้ขา้ งหลัง” และนาพาจังหวัด ไปสู่ “ความม่นั คง มงั่ ค่งั และย่ังยืน” ต่อไป 3. วัตถุประสงค์ ๑) เพ่ือพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาวะโดยผ่านการพัฒนา ความสามารถด้านภาษาสาหรบั นักเรยี นระดบั ประถมศึกษา 2) เพื่อให้เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมายไดร้ ับการพฒั นาความสามารถดา้ นภาษาและนักเรยี นทกุ คนไดร้ ับการ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นภาษาไทยสงู ขน้ึ 4. กลุม่ เปา้ หมาย ผู้อานวยการ คณะครู นักเรียน และผู้ปกครอง โรงเรียนบ้านบลูกาสนอ ตาบลตะปอเยาะ อาเภอย่ีงอ จังหวัด นราธิวาส
3 สว่ นที่ 2 หลักการ แนวคิดและทฤษฎี 1. บริบทของสถานศึกษา/ชมุ ชน ปัจจุบันโรงเรียนบ้านบลูกาสนอได้เปิดทาการสอน ต้ังแต่ช้ันอนุบาล ๓ ขวบ ถึง ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ มีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร ๒ ระบบ คือ หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานควบคู่หลักสูตรอิสลาม ศกึ ษาแบบเข้ม มีจานวนนกั เรียนท้ังสิ้น ๒1๐ คน จานวนบุคลากรทางการศกึ ษา มที ง้ั ส้ิน ๒๒ คน ประกอบด้วย ผอู้ านวยการโรงเรียน ๑ คน ขา้ ราชการครู ๑๐ คน พนกั งานราชการ ๓ คน ครูสอนอิสลามแบบเข้ม ๒ คน ครวู ิทย์-คณิต ๑ คน ครูพเ่ี ลีย้ งเดก็ พกิ าร ๑ คน ธรุ การโรงเรียน ๑ คน ครูพ่ีเล้ียงเด็ก ๓ ขวบ 1 คน นักการภารโรง ๑ คน และยามรักษาความปลอดภัย ๑ คน ปรัชญาของโรงเรียน “คุณธรรม จริยธรรม นาวชิ าการ” สีประจาโรงเรยี น เขยี ว ขาว ทตี่ ั้งของโรงเรียน ต้ังอยู่ท่ีหมู่ ๔ ตาบลตะปอเยาะ อาเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส สภาพแวดล้อม ของโรงเรยี น ตงั้ อย่ทู ี่ราบเชิงเขา อยใู่ กลช้ มุ ชน ประกอบอาชีพด้านการเกษตร มกี ารทานา ทาสวนผลไม้และ ยางพารา ผลผลิตได้ค่อนข้างน้อยรายได้ต่า เพราะพื้นที่ทากินมีน้อย ไม่พอเพียงกับการครองชีพ มีอุปสรรค และมปี ัญหาในการประกอบอาชพี เช่น ภัยธรรมชาติ ขนาดและลักษณะของพ้ืนท่ี โรงเรียนบ้านบลูกาสนอ เป็นโรงเรียนขนาดกลาง บริเวณโรงเรียนมี เนอ้ื ที่ 10 ไร่ 1 งาน 19 ตารางวา ขอ้ มลู สภาพชุมชนโดยรวม ๑) สภาพชมุ ชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท มีประชากรประมาณ ๓,๒๐๐ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ทิศเหนือเป็นหมู่บ้านบลูกาสนอ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ดารุลกุรอานนิลการีม ทิศใต้ติดกับป่ายางพาราและพืชพันธุ์เกษตร ทิศตะวันออกเป็นพื้นท่ี พืชพันธุ์เกษตร ร้านค้า และกูโบร์ (สุสาน) ส่วนทิศตะวันตกจะเป็นอาณาเขตของไร่นา และป่าเขา ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่นท่ีเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ การละหมาด การถือศีลอด การจัดงานเมาลิด การทาอาซูรอ พิธีแต่งงาน งาน ศพ เป็นต้น ๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีท่ี ๖ อาชีพหลัก คือ การเกษตรและ รับจ้างกรีดยาง นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ ๑๐๐ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉล่ียต่อครอบครัว ต่อปี ต่า กว่า 50,๐๐๐ บาท จานวนคนเฉล่ยี ต่อครอบครวั ๖ คน
4 2. แนวคิดและทฤษฎีทนี่ ามาใช้ โรงเรียนบา้ นบลูกาสนอ มวี ิสัยทัศน์ “โรงเรียนน่าอยู่ นักเรียนใฝ่เรียนรู้ ครูมีความสุข ชุมชนพึงพอใจ” จึง จดั การเรียนการสอนโดยมงุ่ เน้นใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ตามความตอ้ งการ ความสามารถ ความสนใจ และตามท่ีชุมชน ต้องการ ยดึ หลกั สูตรแกนกลางและบูรณาการตามหลักสูตรท้องถิ่น เรียนรู้สิ่งที่อยู่ใกล้ตัวนักเรียน เพื่อให้บรรลุตาม ตัวช้วี ดั และเปา้ หมายของหลกั สตู ร มุง่ เน้นให้นักเรยี น “เป็นคนดี คนเก่ง มคี วามสุข” ท้ังน้ี ทางโรงเรียนได้น้อมนา “หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” ของในหลวงรัชกาลที่ 9 “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปล่ียนแปลงท้งั ภายในภายนอก ท้ังน้ี จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิงใน การนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้าง พืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ที่ของรฐั นกั ทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และ ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง จึงประกอบด้วยคณุ สมบัติ ดงั นี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผูอ้ ืน่ เชน่ การผลิตและการบริโภคทอ่ี ยใู่ นระดบั พอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจัยทีเ่ กี่ยวข้อง ตลอดจนคานงึ ถึงผลทคี่ าดวา่ จะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ
5 3. ภมู ิคมุ้ กัน หมายถึง การเตรยี มตัวให้พร้อมรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ ท่ีจะเกิดขึ้น โดยคานงึ ถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ทคี่ าดวา่ จะเกิดขน้ึ ในอนาคต โดยมี เงอื่ นไข ของการตัดสินใจและดาเนนิ กจิ กรรมต่างๆ ใหอ้ ย่ใู นระดับพอเพยี ง ๒ ประการ ดงั น้ี ๑. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ ก่ยี วกับวชิ าการตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งรอบด้าน ความรอบคอบที่ จะนาความรเู้ หลา่ น้นั มาพิจารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวังในการปฏบิ ัติ ๒. เง่อื นไขคณุ ธรรม ทจ่ี ะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซ่ือสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนินชีวติ
6 ส่วนท่ี 3 แนวทาง รูปแบบการพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ 1. แนวทางการดาเนนิ งานและกิจกรรม เป้าหมาย กิจกรรม ระยะเวลา เพื่อพัฒนาศักยภาพของ การสร้างทีมงานและเตรยี มการสรา้ ง สถานศึกษารว่ มกับชมุ ชนใน เครือข่าย การสร้างกลไกและการ 1. ลงนามความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ มีนาคม 2562 ขับเคลอื่ นโครงการ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 2. แต่งต้ังคณะทางานภายในโรงเรียน มีนาคม 2562 ร่วมกบั ตวั แทนของชมุ ชน 10-15 คน 3.ประชุมคณะทางานภายในโรงเรียนกับ ตลอดปีการศกึ ษา ตัวแทนของชุมชนอย่างนอ้ ยเดือนละ 1 คร้งั 4.เข้าร่วมกิจกรรมเครือข่าย ตามปฏิทินการทางานของ ภาคีเครอื ข่าย เพอ่ื พฒั นาศักยภาพ ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล เ พื่ อ ก า ร น า ไ ป สู่ ก า ร สถานศึกษาในการใชข้ ้อมลู ใน พัฒนา การดาเนินงาน 1. สารวจและรวบรวมข้อมูลสภาวการณ์ มนี าคม 2562 ด้านความสามารถดา้ นภาษา การเลอื กในนวตั กรรมและวธิ ี การใช้นวัตกรรมหรือวิธีสอนเพื่อส่งเสริม สอนท่ีเหมาะสมกับบริบท ความสามารถดา้ นภาษา ชมุ ชน 1. ใช้นวัตกรรมเพ่ือส่งเสริมความสามารถ พฤษภาคม 2562 ดา้ นภาษา 2. ขยายผลจากความสามารถด้านภาษา กรกฏาคม 2562 ไปส่คู วามรู้ด้านสขุ ภาวะ พฒั นาแผนการจดั การเรยี นรู้ การพัฒนาแผนการัดการเรียนรู้และส่ือท่ี และ สือ่ ท่มี ีความเหมาะสมกับ เหมาะสม ชมุ ชน ผลติ ส่ือและจดั เตรยี มเปน็ ศูนย์การเรยี นร้ใู น มนี าคม – พฤษภาคม 2562 สถานศึกษาสกู่ ารคัดสรรในระดบั ตาบลตะ ปอเยาะ พัฒนาศูนย์การเรียนรู้เพื่อ พัฒนาและปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ท่ีส่งเสริม พฤศจิกายน 2562 – กมุ ภาพันธ์ ส่งเสริมความรอบรู้ เร่ือง สุข ความรอบรู้ เรื่อง สุขภาวะผ่านการพัฒนา 2563 ภ า ว ะ ผ่ า น ก า ร พั ฒ น า ความสามารถด้านภาษา เพ่ือให้เกิดศูนย์ ความสามารถด้านภาษา แหล่งการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ เ รื่ อ ง สุ ข ภ า ว ะ ผ่ า น ก า ร พั ฒ น า ความสามารถด้านภาษา สถานศึกษาดาเนินงานร่วมกับ ดาเนินกิจกรรมส่งเสริมความสามารถด้าน ผู้ปกครองและชุมชน ภาษา ค รู ผู้ ส อ น ใ ช้ น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ วิ ธี ส อ น ภาคเรียนที่ 1/2562 แผนการจดั การเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ และ ภาคเรียนท่ี 2/2562
7 2. ตวั ช้ีวดั ของโครงการ (ผลผลิต ผลลพั ธ์) 2.1 ผลผลิตของโครงการ 2.1.1 เชิงปรมิ าณ 1. จานวนแหล่งเรยี นที่เปน็ ศูนย์การเรียนในสถานศกึ ษา 1 แหง่ 2. จานวนส่อื ทผี่ ลิตขึ้น จานวน 6 ประเภท รวม 12 ชิ้นงาน 3. จานวนชน้ิ งานของนักเรยี นท่ีทารว่ มกับชุมชน 6 ชิน้ 2.1.2 เชิงคุณภาพ 1. พัฒนาสื่อ นวตั กรรมการจัดการเรียนรทู้ ่สี ่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาวะโดยผา่ นการพัฒนา ความสามารถดา้ นภาษาสาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 3 2. เดก็ นักเรียนกลมุ่ เป้าหมายไดร้ ับการพฒั นาความสามารถด้านภาษาและนกั เรยี นทุกคนไดร้ ับ การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นภาษาไทยสูงข้ึน 2.2 ผลลพั ธข์ องโครงการ 1. ผลสัมฤทธ์ิของวชิ าภาษาไทยของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 สูงขึน้ 2. ผลสมั ฤทธิข์ องผู้เรียนสงู ขน้ึ จากการประเมนิ ตามแบบประเมินการอา่ นของสพฐ. 3. ผลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ที่ กิจกรรม ระยะเวลา เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ การ 1 การสร้างทีมงานและ มีนาคม 2562 เพ่อื พัฒนาศักยภาพของ 1.มีคณะทางาน เตรยี มการสร้าง สถานศกึ ษารว่ มกบั ชมุ ชนใน 2.มเี ครือขา่ ย เครอื ข่าย การสร้างกลไกและการ ขบั เคลื่อนโครงการ 2 การรวบรวมข้อมูลเพื่อ พฤษภาคม 2562 เพ่ือพัฒนาศักยภาพ 1. มีขอ้ มูลการอ่าน-เขยี นของนักเรียน การนาไปสู่การพัฒนา สถานศึกษาในการใชข้ ้อมลู ใน ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 การดาเนินงาน 2. มแี นวทางในการพฒั นาการอา่ น- เขียนของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 3 การใชน้ วัตกรรมหรอื วิธี สงิ หาคม-กันยายน การเลือกในนวัตกรรมและวิธี 1. มีสือ่ การสอน สอนเพื่อส่งเสรมิ 2562 สอนทีเ่ หมาะสมกับบรบิ ท 2. มีแผนการจดั การเรียนรู้ ความสามารถด้าน ชมุ ชน ภาษา 4 การพฒั นาแผนการดั พฤศจิกายน 2562 การเลอื กในนวัตกรรมและวธิ ี 1. มีนวตั กรรม การเรียนรแู้ ละสื่อที่ –กมุ ภาพันธ์ 2563 สอนทเ่ี หมาะสมกับบริบท 2. มีแผนการจดั การเรียนรู้ เหมาะสม ชมุ ชน
8 ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา เป้าหมาย ผลการดาเนนิ การ 5 พฒั นาและปรับปรุง พฤศจิกายน 2562 พัฒนาศูนย์การเรียนรู้เพื่อ 1. ผเู้ รียนมีการออกพ้นื ทีส่ ารวจ แหลง่ เรียนร้ทู ่สี ่งเสริม – กมุ ภาพันธ์ ส่งเสริมความรอบรู้ เร่ือง สุข สมนุ ไพร ความรอบรู้ เรอ่ื ง สุข 2563 ภ า ว ะ ผ่ า น ก า ร พั ฒ น า 2. ผู้ปกครอง ตลอดจนชุมชนมีส่วน ภาวะผา่ นการพฒั นา ความสามารถดา้ นภาษา รว่ มในการให้ความรู้เก่ยี วกับสมุนไพร ความสามารถด้าน ภาษา เพ่ือใหเ้ กิดศูนย์ แหลง่ การเรยี นรู้ เพ่ือ ส่งเสริมความรอบรู้ เรอื่ ง สขุ ภาวะผ่าน การพัฒนาควาสามารถ ดา้ นภาษา 6 ดาเนินกิจกรรมส่งเสริม พฤศจิกายน 2562 สถานศึกษาดาเนินงานร่วมกับ 1. ผเู้ รยี นมีการพฒั นาการอ่าน-เขียน ความสามารถด้าน – กมุ ภาพนั ธ์ ผปู้ กครองและชุมชน สูงขนึ้ ภาษา 2563 2. ผู้ปกครอง และชมุ ชนเหน็ ความสาคญั ในสมนุ ไพรใกล้ตวั มากข้นึ 4.1 วิธกี ารประเมินผล วิธีการวดั เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 1. วัดความสามารถในการอา่ น – - แบบทดสอบการอา่ น – เขียน 0 – 50 ปรบั ปรุง เขยี น - แบบสังเกตพฤติกรรม 50 – 69 พอใช้ 2. สงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี น - แบบประเมนิ การทางาน 70 – 85 ดี 3. ผลงานนักเรยี น 86 – 100 ดมี าก 4. การทางานกล่มุ 4.2 ผลการประเมินผล จานวน 33 คน นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 รายการประเมนิ ค่าเฉลี่ย ระดบั การประเมนิ 1. วดั ความสามารถในการอา่ น – 68.18 พอใช้ เขยี น 2. สังเกตพฤติกรรมนักเรียน 89.39 ดีมาก 3. ผลงานนักเรยี น 77.27 ดี 4. การทางานกลมุ่ 84.09 ดี 79.73 ดี คา่ เฉลีย่ จากตาราง พบว่า การพัฒนาการอ่านเขียน และการทางานของนักเรียนในภาพรวมโดยเฉลี่ย คิดเป็นร้อย ละ 79.73 อยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาตามรายการประเมิน ดังน้ี ความสามารถในการอ่าน – เขียน
9 คิดเป็นร้อยละ 68.18 พฤติกรรมนักเรียน คิดเป็นร้อยละ 89.39 ผลงานนักเรียน คิดเป็นร้อยละ 77.27 และการทางานกลุ่ม คดิ เป็นรอ้ ยละ 84.09 ตามลาดบั 5. ปญั หาอุปสรรคในการดาเนินการ 1. การขาดเรียนทาใหน้ ักเรียนบางคนขาดการพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง 2. ระยะเวลาของการฝึกสาหรับนักเรยี นไมเ่ พียงพอ 3. ต้องใช้งบประมาณในการจัดทาแบบฝึกเป็นจานวนมาก 6. ข้อเสนอแนะของโรงเรียน 1. ขยายระยะเวลาการดาเนนิ งานเพ่ิม 2. ของบสนับสนุนในการจัดทาแบบฝกึ ทักษะการอ่าน – การเขยี น
ภาพผนวก
ประชมุ คณะครู
ประชมุ ผู้ปกครอง
ลงพื้นท่ี 1
ลงพื้นท่ี 2
สรา้ งสื่อตา่ งๆ
ประเมินการอา่ น – เขยี น
อ่านออกเสียง แบบประเมนิ การอ่าน – เขยี น (25) ท่ี ชื่อ – สกลุ อ่านรู้เรื่อง (25) 1 2 สรปุ การอ่าน 3 (50) 4 5 เขยี นคา 6 (25) 7 8 เขียนเรื่อง 9 (25) 10 สรุปการเขยี น เฉลี่ย (50) เกณฑก์ ารประเมนิ สรปุ การอา่ น-เขียน0 – 50 ปรับปรงุ (100) 50 – 69 พอใช้ 70 – 85 ดี 86 – 100 ดมี าก
การ ีม ิวนัย แบบประเมนิ พฤตกิ รรม (25) ที่ ชอื่ – สกลุ ความสนใจ (25)1 2 ความรับผิดชอบ3 (25)4 5 การให้ความร่วม ืมอ6 (25)7 8 สรุปพฤ ิตกรรม9 (100)10 เฉล่ยี เกณฑ์การประเมิน 0 – 50 ปรบั ปรงุ 50 – 69 พอใช้ 70 – 85 ดี 86 – 100 ดีมาก
การแบง่ หนา้ ทีอ่ ย่าง แบบประเมนิ การทางานกลุ่ม เหมาะสม (25) ที่ ชือ่ – สกลุ ความมีนา้ ใจ เอื้อเฟือ้ 1 เสยี สละ 2 (25) 3 4 ความรับฟงั ความคดิ เหน็ 5 (25) 6 7 การแสดงความคิดเหน็ 8 (25) 9 10 สรุปพฤตกิ รรม (100) เฉล่ยี เกณฑ์การประเมิน 0 – 50 ปรับปรงุ 50 – 69 พอใช้ 70 – 85 ดี 86 – 100 ดีมาก
รูปแบบชิ้นงาน แบบประเมนิ ผลงาน (25) ที่ ชือ่ – สกุล ความสวยงาม (25)1 2 ความสะอาด3 (25)4 5 การใ ้ชเวลา6 (25)7 8 สรุปผลงาน9 (100)10 เฉลีย่ เกณฑ์การประเมนิ 0 – 50 ปรบั ปรงุ 50 – 69 พอใช้ 70 – 85 ดี 86 – 100 ดมี าก
คณะทางาน ท่ีปรกึ ษา ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านบลูกาสนอ 1. นายมงคล ชมตวิ ัง ครโู รงเรยี นบา้ นบลูกาสนอ 2. นายเลก็ แมะเต๊ะ ครโู รงเรยี นบ้านบลูกาสนอ หวั หน้า คณะผจู้ ดั ทา ครโู รงเรยี นบา้ นบลกู าสนอ รองหวั หน้า 1. นางนูรียนั บอื ราเฮง ครโู รงเรียนบ้านบลกู าสนอ ผู้ชว่ ย 2. นางรอกีเยาะ บินยโู ซ๊ะ ครูโรงเรยี นบ้านบลกู าสนอ ผูช้ ่วย 3. นางรุจิรา บือซา ครูโรงเรียนบา้ นบลูกาสนอ ผชู้ ว่ ย 4. นายมรพุ งศ์ ทองแกว้ ครโู รงเรยี นบ้านบลูกาสนอ ผชู้ ่วย 5. นางฮาลหิ ม๊ะ ศรเี พชร ครูโรงเรียนบา้ นบลูกาสนอ ผู้ช่วย 6. นางฮาลีเมาะ เฮงมะนลี อ ครูโรงเรียนบ้านบลกู าสนอ ผชู้ ว่ ย 7. นางนริศรา ตว่ นนากอ พนักงานราชการโรงเรียนบา้ นบลูกาสนอ ผชู้ ่วย 8. นางสาวไลลา อตั นิ พนกั งานราชการโรงเรยี นบา้ นบลกู าสนอ ผูช้ ว่ ย 9. นายยาหะรี สะแลแม ครูอสิ ลามแบบเขม้ โรงเรียนบ้านบลูกาสนอ ผชู้ ่วย 10. นางแวซากีหมะ๊ มามะบากา ครอู ิสลามแบบเข้มโรงเรยี นบ้านบลูกาสนอ ผชู้ ว่ ย 11. นายมะกอรี มะโพ ครพู ีเ่ ลี้ยงเด็กพิการโรงเรียนบ้านบลูกาสนอ ผชู้ ่วย 12. นายมูฮัมหมดั ลิมา ครูวทิ ย์-คณิตโรงเรียนบ้านบลูกาสนอ ผชู้ ว่ ย 13. นางสาวลาวียะห์ สะแลแม ครพู เี่ ล้ยี งเด็กปฐมวยั โรงเรียนบ้านบลูกาสนอ ผชู้ ว่ ย 14. นางอัมณานยี ์ อาลี ธรุ การโรงเรยี นบา้ นบลูกาสนอ ผู้ช่วย 15. นางสาวฮาพีเสาะ บนิ มูดอ รภป.ครูโรงเรยี นบา้ นบลกู าสนอ ผูช้ ว่ ย 16. นางสาวอุษณยี ์ ลอแม นกั การภารโรงโรงเรยี นบ้านบลกู าสนอ ผชู้ ่วย 17. นายอับดุลดอเดร์ เจะ๊ เต๊ะ ครูโรงเรยี นบ้านบลกู าสนอ ผู้ชว่ ย/เลขานกุ าร 18. นายมะยารี มะกาเจ 19. นางนุรกาตีนี ยูโซะ
โรงเรยี นบา้ นบลกู าสนอ ตาบลตะปอเยาะ อาเภอย่งี อ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: