Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

05

Published by pracha1975, 2018-07-03 09:50:02

Description: 05

Search

Read the Text Version

พระธาตุพนม : พัฒนาการดา้ นประวตั ิศาสตร์สงั คม วฒั นธรรม เมอื งและชมุ ชนPhra Thatpanom: Development of Historical,Social, Cultural, Urban and Community อนุวฒั น์ การถกั / Anuwat Karnthak1บทคดั ย่อ องคพ์ ระธาตพุ นม มคี วามสำ� คญั ทางพทุ ธศาสนาและเปน็ ศนู ยร์ วมจติ ใจของประชาชนในแถบอนภุ มู ภิ าคลมุ่ นำ�้ โขง ทง้ั ประชาชนชาวไทยและชาวลาว มาเปน็ ระยะเวลายาวนาน ดว้ ยมีประวตั ศิ าสตรท์ ย่ี าวนาน ตง้ั แตย่ คุ ตำ� นานพระอรุ งั คธาตจุ นถงึ ยคุ ประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ ซงึ่ แสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญขององค์พระธาตุพนมในระดับภูมิภาค และสภาพทางสังคม วัฒนธรรมการเมอื งการปกครองในแตล่ ะยคุ สมยั พฒั นาการดา้ นสงั คมและวฒั นธรรมของชมุ ชนธาตพุ นม ไดเ้ รมิ่ ขน้ึ จากการจดั ตง้ั ชมุ ชนโดยพญาสมุ ิตธรรมวงศาได้สละขา้ ทาสถวายเป็น ขา้ โอกาส แด่องค์พระธาตุพนม เพอื่ คอยดแู ลรักษาองค์พระธาตุ นอกจากน้ียังได้สละทรัพย์สินและเขตแดน ซ่ึงถือเป็นเขตแดนองค์พระธาตุทเี่ ปน็ พนื้ ทบ่ี รเิ วณชมุ ชนโดยรอบองคพ์ ระธาตุ หลงั จากนน้ั ชมุ ชนธาตพุ นมกม็ กี ารเคลอ่ื นยา้ ยผคู้ นหลายครง้ั จากเหตคุ วามไมส่ งบในภมู ภิ าค ทำ� ใหม้ กี ลมุ่ คนทต่ี งั้ ถน่ิ ฐานอยใู่ นชมุ ชนพระธาตพุ นมหลายชาติพันธุ์เช่น ไทย-ลาว ผู้ไทย ญวนและจีน จึงท�ำให้เมืองธาตุพนมมีความหลากหลายทางชนชาตแิ ละวัฒนธรรมจนถึงปจั จุบัน พัฒนาการของเมืองจากอดีตถึงปัจจุบัน มีการเปล่ียนแปลงตามลำ� ดับ ซ่ึงมีร่องรอยที่หลงเหลือทางสถาปัตยกรรมอยู่ในเมืองเช่น สถาปัตยกรรมบริเวณซุ้มประตูโขง ตลาดลาวและชมุ ชนรมิ ถนนพนมพนารกั ษ์ ซง่ึ องคป์ ระกอบเมอื งเหลา่ นเี้ ปน็ สง่ิ ทมี่ คี ณุ คา่ ควรแกก่ ารอนรุ กั ษ์เพอื่ บอกเลา่ ความเปน็ มาของเมอื ง ซง่ึ บทสรปุ จากการศกึ ษาพฒั นาการดา้ นตา่ งๆ ขององคพ์ ระธาตุวัด บ้านเมืองและผู้คนแล้ว ท�ำให้เกิดความเข้าใจกับบริบทและความส�ำคัญของพื้นที่ เพื่อน�ำไปสู่การวางแผนพัฒนาเมืองในอนาคต ให้เกิดความเหมาะสมกับเมืองที่มีความส�ำคัญทางประวัติศาสตรอ์ ันยาวนาน1 อาจารย์ประจ�ำสาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม วารสารสงั คมลุ่มน้าํ โขง : ปที ี่ 7 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554 หน้า 89-107 Journal of Mekong Societies : Vol.7 No.2 May-August 2011, pp. 89-107

90 Journal of Mekong Societies Abstract Phra Thatpanom pagoda is an important Buddhist center in the heart of the Mekong Sub-region, respected by both Thais and Laos for a long time. For long history since the myth of the Urangka-That to the local history period, this demonstrates the importance of the pagoda in the region as the social and political culture of each period. The development of the social and cultural of Thatpanom’s community began with the establishment of the community. by Praya Sumit Dhama wongsa dedicated his slave to Phra Thatpanom as the minder to take care of this pagoda, In addition, their property and territory which is the boundary of the area surrounding the community, From that time the community was the community of many people that moved out of this community cause of unrest in the region. That reason caused this area is the place of many ethnic groups who settled in this community, such as Thai-Laos, Phuthai, Vietnamese and Chinese, the community has a diverse ethnic and cultural continuity to the present. Development of the city from the past to the present, respectively changes, such as the architectural traces left in the city which is the temple arch (Pratu Khong), Laos market and the community along Panom Panarak Road. The composition of these cities is the thing that should be valuable for conservation to tell the history of the city. The conclusions of the study of the development of the city and the people of Phra Thatpanom to understand the context and significance of the area, lead to establish the development plan of city in the future that appropriate for the major historical significance city. บทน�ำ ชุมชนในเขตเทศบาลต�ำบลธาตุพนมเป็นชุมชนเก่าที่มีประวัติการตั้ง ถนิ่ ฐานคมู่ ากบั องคพ์ ระธาตพุ นมโดยในต�ำนาน (Charoensupakul, 1989) ไดก้ ลา่ ว ไว้ว่าบริเวณท่ีเป็นท่ีตั้งขององค์พระธาตุพนมเคยเป็นท่ีต้ังเมืองศรีโคตรบูร ซึ่งเป็น เมืองหลวงอาณาจักรศรีโคตรบูร และองค์พระธาตุพนมได้ถูกสร้างในช่วงระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 8 ถึงพุทธศตวรรษที่ 12 เพื่อบรรจุพระอุรังคธาตุ (กระดูกส่วน หนา้ อก) ของพระพทุ ธเจา้ โดยเจ้าผ้คู รองนครศรโี คตรบูรและเจา้ เมอื งตา่ งๆ รวม 5 เมอื งรว่ มกนั กอ่ สรา้ งขน้ึ และหลงั จากทเ่ี มอื งศรโี คตรบรู ไดย้ า้ ยไปตงั้ ทอ่ี น่ื ชมุ ชนรอบ องค์พระธาตุพนมก็ยังเป็นชุมชนใหญ่อยู่ดูแลองค์พระธาตุพนม ต่อมาในสมัย ปที ี่ 7 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

พระธาตพุ นม : พัฒนาการด้านประวัตศิ าสตร์ สังคม วัฒนธรรม เมอื งและชุมชน 91รัชกาลที่ 5 ได้มีการจัดระเบียบการปกครองข้ึนใหม่ ชุมชนธาตุพนมได้จัดเป็น“บริเวณธาตพุ นม” ขนึ้ กบั มลฑลลาวพวน และไดต้ ง้ั เปน็ อำ� เภอธาตุพนมในปี พ.ศ.2450 เปน็ ตน้ มา การบูรณะองค์พระธาตุพนมเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องต้ังแต่การเร่ิมสถาปนาองค์พระธาตุตามต�ำนานพระอุรังคธาตุ จนมาถึงยุคประวัติศาสตร์ท้องถิ่นท่ีเริ่มมีการบันทึกเมื่อปี พ.ศ. 500 ท่ีมีการบูรณะโดยคนท้องถ่ินที่อยู่เป็นชุมชนที่ต้ังขึ้นเพื่อดูแลองค์พระธาตุตั้งแต่อดีต และในปี พ.ศ. 2483 ได้มีการบูรณะคร้ังใหญ่โดยกรมศลิ ปากร โดยการตอ่ ยอดครอบยอดเดมิ ขน้ึ ไปอกี 10 เมตร เพือ่ ให้มองเหน็ได้ชัดจากฝั่งลาว และในปี พ.ศ. 2497 ได้ยกยอดฉัตรทองสูง 5.50 เมตรให้แก่องค์พระธาตุ ซึ่งเหตุผลในการบูรณะในคร้ังนี้ มีสาเหตุที่เกี่ยวเนื่องด้านการเมืองการปกครอง เนอื่ งจากในการกอ่ สรา้ งตอ่ เตมิ องคพ์ ระธาตพุ นมใหม้ คี วามสงู เพมิ่ ขนึ้ในแต่ละครั้ง มีสาเหตุมาจากความต้องการให้เป็นจุดหมายตา (Land Mark)ของบรเิ วณ ซ่ึงหวังผลทางดา้ นการเมืองและวัฒนธรรมในระดบั ภมู ิภาค จนปี พ.ศ.2518 องคพ์ ระธาตพุ นมไดล้ ม้ ลง และไดก้ อ่ สรา้ งขนึ้ ใหมจ่ นแลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2522โดยคงรปู แบบเดิมจนถงึ ปัจจบุ ัน ด้านมิติการเปล่ียนแปลงทางกายภาพของพ้ืนท่ีโดยรอบองค์พระธาตุนั้นมีบันทึกตั้งแต่ตำ� นานพระอุรังคธาตุเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงการปรับเปลี่ยนพ้ืนท่ีโดย รอบนั้นมีความสัมพันธ์กับกระบวนการเปล่ียนแปลงของเมืองตามยุคสมัยเช่นการพัฒนาพื้นที่ในอดีตบริเวณด้านหน้าองค์พระธาตุที่เช่ือมต่อกับแม่น้�ำโขงเพ่ือรองรบั ยา่ นการค้าชายแดนบรเิ วณตลาดเกา่ (ตลาดลาว) ท่ีติดกับแมน่ ำ�้ โขง พัฒนาการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในมิติต่างๆ ท่ีเกี่ยวเนื่องกับองคพ์ ระธาตแุ ละพ้นื ท่ีโดยรอบนนั้ แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสมั พนั ธ์ด้านประวตั ศิ าสตร์ที่สามารถอธิบายในเชิงพ้ืนที่ได้ ซ่ึงบทความนี้จะใช้การอธิบายเชิงวิเคราะห์เพ่ือให้เกิดความเข้าใจอย่างรอบด้าน และน�ำไปสู่การพัฒนาในมิติต่างๆ ที่เหมาะสมกับองค์พระธาตุและพื้นท่ีโดยรอบ รวมทั้งชุมชนที่มีการเปล่ียนแปลงตามพลวัตรของกระบวนการเปน็ เมอื งทเ่ี ขม้ ขน้ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ แตส่ งิ่ ทยี่ งั คงอยอู่ ยา่ งมนั่ คงทา่ มกลางการเปลี่ยนแปลง คือ ความศรัทธาต่อองค์พระธาตุพนมของประชาชนในภูมิภาคลมุ่ น�้ำโขง เชน่ เดมิ ต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจบุ ัน ปีที่ 7 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554

92 Journal of Mekong Societiesพระธาตพุ นมองคเ์ ดมิ กอ่ นการ พระธาตพุ นม หลงั การบรู ณะโดย พระธาตพุ นม องคป์ จั จบุ นั หลงับูรณะโดยกรมศิลปากร กรมศิลปากร พ.ศ. 2483-2484 การบูรณะ พ.ศ. 2518-2522ทีม่ า : ภาพจากหนงั สอื ประวตั ิยอ่ องคพ์ ระธาตุพนม. พระเทพรัตนโมลี : 2548พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ ประวัติองค์พระธาตุพนมจะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนแรกจะเป็นต�ำนานและส่วนท่ีสองจะเป็นบันทึกทางประวัติศาสตร์ ในส่วนที่เป็นต�ำนานน้ันเนื้อหาจะกล่าวถึงการสถาปนาพุทธศาสนาในภูมิภาคท่ีสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในลักษณะสากล การก�ำเนิดชุมชนและผู้น�ำชุมชนที่จะเป็นผู้ค้�ำชูพุทธศาสนา ในลกั ษณะของการสร้างเงอ่ื นไขใหม้ กี ารสถาปนาองค์พระธาตุพนม 1. ส่วนท1่ี ตำ� นานพระธาตพุ นม ตามอุรงั คนิทาน ตามตำ� นานพระธาตพุ นม (Charoensupakul, 1989) ในชว่ งแรกจะเริ่มมาจากสมัยพทุ ธกาล พระพุทธเจา้ พร้อมดว้ ยพระอานนท์เสดจ็ มายังภูมภิ าคล่มุ น�ำ้ โขงและไดท้ ำ� นายถงึ การเกดิ เมอื งซงึ่ จะเปน็ ชมุ ชนทค่ี ้�ำชพู ระพทุ ธศาสนา และไดบ้ อกถงึการกลับชาติมาเกิดของพญาศรีโคตรบูร ซึ่งเป็นผู้อัญเชิญพระพุทธเจ้าไปรับบาตรในเมอื งของตน เสรจ็ แลว้ ถอื บาตรมาสง่ พระพทุ ธเจา้ ถงึ บรเิ วณภกู ำ� พรา้ ดว้ ยผลบญุอนั นเี้ มอ่ื พญาศรโี คตรบรู กลบั ชาตมิ าเกดิ เปน็ พญาสมติ ธรรมวงศาเจา้ เมอื งมรกุ ขนครกม็ ีโอกาสเป็นผูส้ ถาปนาพระอรุ ังคธาตุ ณ. ภกู �ำพร้าในเวลาต่อมาปที ่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

พระธาตพุ นม : พัฒนาการดา้ นประวตั ศิ าสตร์ สงั คม วฒั นธรรม เมอื งและชุมชน 93หลังจากพระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ปรนิ ิพพานแลว้ ในปีพ.ศ. 8 พระมหากสั สปะพรอ้ มดว้ ยพระอรหนั ต์ 500 องค์ ไดอ้ ญั เชญิ พระอรุ งั คธาตมุ าจากอนิ เดยี มายงั บรเิ วณภกู ำ� พรา้เมอื่ มาถึงไดม้ ีท้าวพญาจาก 5 แควน้ ในภูมภิ าคนนั้ มารว่ มสร้างอปู มงุ ประดิษฐานพระอุรังคธาตุ โดยกอ่ ก�ำแพงองค์ละด้านในทิศทแี่ คว้นของตนอย่ดู ังน้ี - พญาจุลณีพรมทัติ ผู้ครองแคว้นหลวงพระบางสิบสองจุไทย ก่อทางทศิ ตะวนั ออก - พญาค�ำแดง ผู้ครองแควน้ หนองหานนอ้ ย ก่อดา้ นทศิ ตะวนั ตก - พระยานนั ทเสน ผคู้ รองแคว้นศรีโคตรบูร ก่อดา้ นทศิ เหนอื - พญาอนิ ทปุฐนคร ผู้ครองแคว้นเขมรโบราณ ก่อทางด้านทศิ ใต้ การกอ่ สร้างไดใ้ ชอ้ ิฐดิบกอ่ เป็นผนังทงั้ 4 ดา้ น กว้างด้านละ 2 วาสงู 1 วาและกอ่ ยอดรปู ฝาชสี งู 1 วา สว่ นผนงั ของอปู มงุ นนั้ เปดิ ประตไู วท้ กุ ดา้ นแลว้ จงึ นำ� เอาไม้ฟืน คอื ไม้คันธรส ชมพู นโิ ครธ และไม้รงั มาใส่ทกุ ประตู แล้วเผาเปน็ เวลา 3 วัน3 คืนจึงแล้วเสร็จ จากน้ันพญาทั้ง5ก็บริจาคของมีค่าจ�ำนวนมากบรรจุไว้ในอูปมุงเป็นพุทธบูชา และได้น�ำหลักหินท่ีน�ำมาจากอินเดียและลังกา มาปักไว้ท่ีมุมท้ังสี่ทั้งยังสรา้ งรูปอัจมขู ี (สัตว์ประหลาด) มาปกั ไว้ทม่ี ุมทิศตะวนั ออกดา้ นเหนือ-ใตด้ ้วยและไดส้ รา้ งรปู ม้าไวโ้ ดยหันหน้าไปทางทศิ เหนอื เพอื่ เป็นสัญลักษณ์ให้รู้วา่ พระธาตุเสดจ็ มาทางน้นั และพระพุทธศาสนาจะเจรญิ จากเหนอื ลงใต้ ความในต�ำนานอุรังคธาตุได้เร่มิ ตน้ อีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 500 ในลกั ษณะของการสรา้ งประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ ขนึ้ มาอยา่ งแทจ้ รงิ ซง่ึ เปน็ ระยะเวลาทมี่ กี ารสรา้ งพระธาตุเจดีย์โดยคนท้องถิ่นข้ึนมาเองแล้ว อย่างไรก็ตามประวัติศาสตร์ส่วนหนึ่งก็ยังสืบเนื่องกันมาตามพุทธพยากรณ์ ในขณะเดียวกันอีกส่วนหน่ึงก็เป็นผลสืบเน่ืองจากการเข้ามาสืบพระศาสนาของพระมหากัสสปะ ในช่วงน้ีเมืองหนองคันแทเสอ้ื นำ�้ (เวยี งจนั ทร)์ และมรกุ ขนครกเ็ กดิ ขนึ้ ตามพทุ ธทำ� นายแลว้ ซง่ึ จะเปน็ ชมุ ชนทรี่ องรบั เงอ่ื นไขการสถาปนาพระธาตพุ นมตอ่ ไป พระมหากสั สปะเมอ่ื กลบั ถงึ เมอื งราชคฤห์ ทช่ี มพทู วปี แลว้ ไดบ้ วชสามเณร3 รปู จนส�ำเรจ็ เปน็ อรหนั ต์ และไดเ้ ดนิ ทางมายงั บรเิ วณแควน้ ศรโี คตรบรู เพอ่ื น�ำเอากุมารท้ัง 5 องค์ที่เป็นชาติก�ำเนิดใหม่ของท้าวพญาท้ังห้าที่ร่วมกันสร้างอูปมุง ปีท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

94 Journal of Mekong Societies พระอรุ งั คธาตมุ าบวชจนบรรลอุ รหนั ต์ ครน้ั อรหนั ตท์ ง้ั หา้ ระลกึ ชาตไิ ดจ้ งึ ปรารถนาท่ี จะสรา้ งองคพ์ ระธาตพุ นม จงึ ไปขอความอปุ ถมั ภจ์ ากพญาสมุ ติ ธรรมวงศา เจา้ เมอื ง มรุกขนคร ซึ่งเป็นชาติก�ำเนิดใหม่ของพญาศรีโคตรบูร จึงได้ร่วมกันก่อสร้างและ สถาปนาพระธาตุพนม โดยหลังจากสถาปนาแล้วพญาสุมิตธรรมวงศาได้ให้บริวาร จำ� นวน 3,000 คนไวเ้ ป็นข้าโอกาส จนเกดิ เป็นชุมชนพระธาตุพนมต้งั แตน่ ัน้ มา 2. สว่ นท่ี 2 ประวัติศาสตร์ทอ้ งถ่นิ ในช่วงที่สองที่ถือเป็นประวัติศาสตร์ขององค์พระธาตุพนมที่เกี่ยวข้องกับ การบูรณะองค์พระธาตุพนมและวัดพระธาตุพนม โดยได้เร่ิมในสมัยล้านช้างตั้งแต่ สมยั พระเจา้ โพธสิ าลราช แหง่ หลวงพระบาง (พ.ศ. 2073-2103) ไดเ้ สดจ็ มาสรา้ งหอ พระแกว้ ไวใ้ นบรเิ วณวดั ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ การสรา้ งวดั พระธาตพุ นมขน้ึ เปน็ ครงั้ แรกดว้ ย ต่อมาสมเด็จพระชัยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2101-2114) แห่งเวียงจันทร์ ได้เสด็จมา นมสั การองค์พระธาตุ และได้วางระเบยี บปฏิบตั ใิ หก้ ับขา้ วัดในชุมชนธาตุพนมดว้ ย (Prathep Rattanamolee, 1994) ในปี พ.ศ. 2157 เจ้าเมืองศรโี คตรบูร ไดม้ าปฏสิ ังขรณ์และสร้างถาวรวตั ถุ ในบริเวณลานประทกั ษณิ เชน่ กำ� แพงแก้ว ซ้มุ ประตตู ่างๆ หอบชู าขา้ วพระ และ พระวหิ าร ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2236-2245 เจา้ ราชครโู พนสะเมก็ ไดน้ ำ� คนจากนครเวยี ง จันทร์จ�ำนวน 3,000 คน มาปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนมโดยการเปลี่ยนยอดเป็น ทรงรุ้งแบบเจดยี ล์ าวทั่วไปพร้อมบรรจุของมคี า่ ไว้บริเวณฐานยอดเพมิ่ เติมด้วย ระหว่างปี พ.ศ. 2355-2356 ซ่ึงตรงกับรัชสมัย รัชกาลที่ 1 เจ้าอนุวงศ์ ผู้ครองนครเวียงจันทร์ได้ร่วมมือกับเจ้าเมืองนครพนมและมุกดาหารได้ท�ำ การบูรณปฏิสังขรณ์ท้ังบริเวณวัด จนถึง พ.ศ. 2369-2371 เกิดสงครามระหว่าง ล้านช้างกับกรุงเทพ ท�ำให้ชุมชนลุ่มน้�ำโขงระส�่ำระสาย ชุมชนวัดธาตุพนมก็ได้ หนีหายเป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้วัดพระธาตุพนมทรุดโทรมลง และหอพระแก้วก็ได้ พงั ทลายลงใน พ.ศ. 2430 ในปลายสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411-2453) พระครูวิโรจน์รัตโนบลไดเ้ ดิน ทางจากอุบลเพื่อมาทำ� การบูรณะองค์พระธาตุในครั้งแรก และครั้งท่ีสองในปี พ.ศ. 2449 ได้กลบั มาสรา้ งซุม้ ประตูหนา้ วัดเพิ่มเตมิ ในปลายปนี นั้ เองสมเด็จกรมพระยา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554

พระธาตุพนม : พฒั นาการด้านประวตั ศิ าสตร์ สงั คม วฒั นธรรม เมืองและชุมชน 95ด�ำรงราชานุภาพได้เสด็จมาพักแรมท่ีบริเวณวัด ในระหว่างการตรวจราชการภาคอีสาน ได้สรา้ งระฆงั ถวายองค์พระธาตุ 2 ลูก ทั้งยงั ใหย้ ้ายท่วี า่ การอ�ำเภอจากเมืองเรณมู าตง้ั ไวท้ ตี่ ำ� บลธาตพุ นมใน ร.ศ.126 ในปี พ.ศ. 2483-2484 กรมศลิ ปากรไดท้ �ำการบรู ณะองคพ์ ระธาตุ โดยการต่อยอดครอบยอดเดิมขนึ้ ไปอีก 10 เมตร เพือ่ ใหม้ องเหน็ ได้ชดั จากฝ่งั ลาว และในปีพ.ศ. 2497 ไดย้ กยอดฉัตรทองสงู 5.50 เมตรให้แก่องค์พระธาตุ โดยใน พ.ศ. 2493ทางราชการได้ยกฐานะของวัดพระธาตุพนมขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดวรมหาวหิ าร จนปี พ.ศ. 2518 องคพ์ ระธาตุพนมได้พงั ทลายลง และไดก้ ่อสร้างข้นึใหม่จนแล้วเสรจ็ ในปี พ.ศ. 2522 โดยคงรปู แบบเดิมไวม้ ากท่ีสดุ จนถึงปัจจบุ นั จากตำ� นานพระอรุ งั คธาตจุ นมาถงึ ประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ แสดงใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจนถึงความส�ำคัญและประวัตศิ าสตรอ์ นั ยาวนานขององค์พระธาตพุ นม ซึ่งในท่ีนี้ได้กล่าวไว้เพียงโดยย่อเท่าน้ัน ซึ่งในต�ำนานพระอุรังคธาตุนอกจากจะบอกถงึ เรอ่ื งเลา่ ตามความเชอื่ แลว้ ยงั แสดงใหเ้ หน็ ถงึ สภาพบา้ นเรอื นในอดตี ตง้ั แต่การต้ังถ่ินฐาน รูปแบบทางสังคม วัฒนธรรมของชนชาติแถบภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง แม้บางส่วนจะเป็นเร่ืองเล่าหรือนิทาน แต่ก็บ่งบอกถึงสภาพการณ์ด้านต่างๆ ในช่วงเวลานัน้ ได้เปน็ อยา่ งดี และเป็นแนวทางการศึกษาประวัตศิ าสตร์ท้องถน่ิท่ีด�ำเนินกันมาหลายยคุ สมัย ข้อมูลในการบูรณะวัดและองค์พระธาตุพนมนั้น ได้บอกเล่าความเป็นมาของเมอื งธาตพุ นมในดา้ นการตง้ั ถน่ิ ฐาน สงั คม วฒั นธรรมและการปกครอง ทม่ี กี ารเปล่ียนแปลงในหลายยุคสมัย ท�ำให้มผี ลต่อกายภาพของเมอื งและพ้นื ทโ่ี ดยรอบวัดพระธาตพุ นม ซงึ่ เปน็ ขอ้ มลู ทส่ี ำ� คญั ในการนำ� ไปสแู่ นวทางการพฒั นาเมอื งธาตพุ นมในอนาคต ซง่ึ จะกลา่ วในชว่ งต่อไปพฒั นาการทางสังคมและวัฒนธรรม “ข้าโอกาส” หรือ ข้อยโอกาส เป็นบุคคลที่มีผู้ศรัทธาถวายแด่วัด ซ่ึงข้าโอกาสเหล่าน้ีจะเป็นกรรมสิทธิ์ของวัดตลอดชีวิต แม้จะมีลูกหลานก็จะตกเป็น ปที ่ี 7 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

96 Journal of Mekong Societies กรรมสิทธิ์ของวัดตลอดไป ในอดีตข้าโอกาสจะขาดจากอ�ำนาจรัฐ น่ันคือ การเก็บ สว่ ยอากรหรอื การเกณฑแ์ รงงาน จะนำ� ไปใชใ้ นราชการไมไ่ ด้ จนถงึ รชั สมยั รชั กาลที่ 5 จงึ ไดย้ กเลิกไปพรอ้ มกบั การเลิกทาส (Arjharn,1999) ทก่ี ลา่ วถงึ ขา้ โอกาสนเี้ นอื่ งจาก การจดั ตงั้ ชมุ ชนธาตพุ นมในยคุ แรกเกดิ จาก พญาสมุ ิตธรรมวงศาเจ้าเมอื งมรกุ ขนคร ได้มาบูรณะองคพ์ ระธาตุพนม และได้อุทศิ ขา้ โอกาสไวด้ แู ลองคพ์ ระธาตจุ ำ� นวน 3,000 คน และใหเ้ อาครอบครวั มาตงั้ บา้ นเรอื น โดยรอบองค์พระธาตุ รวมท้ังได้สละทรัพย์สินและเขตดินแดนให้เป็นเขตแดนของ องคพ์ ระธาตดุ ังนี้ - ฝัง่ ซ้ายแม่นำ้� โขง ( สปป.ลาว ) บา้ นสะดือ บ้านนาวาง บา้ นตาลเทิง บา้ นผักเผอื้ บ้านดงใน - ฝง่ั ขวาแมน่ ำ�้ โขง ทางทศิ ตะวนั ตก ถงึ เขตอำ� เภอนาแก จงั หวดั นครพนม - ทศิ เหนอื เขตห้วยบงั ฮวก ต�ำบลดอนนางหงส์ อำ� เภอธาตุพนม - ทิศใต้ ถงึ อำ� เภอหว้านใหญ่ จงั หวัดมุกดาหาร หลังจากการก่อตั้งชมุ ชนเป็นขา้ โอกาสถวายแด่องค์พระธาตแุ ลว้ ไดม้ ีการ เปล่ียนแปลงด้านการเมืองและการปกครองของเมืองใหญ่ในภูมิภาคนี้หลายครั้ง ท�ำให้ชุมชนธาตุพนมมีการเปลี่ยนแปลงและการเคล่ือนย้ายเข้าออกหลายครั้ง ซง่ึ พอสรปุ เหตกุ ารณต์ ามชว่ งเวลาตา่ งๆ ไดด้ งั น้ี (Pra thammarachanuwat, 2008) - ยุคเมืองมรุกขนครล่ม อยู่ในสมัยพระเจ้านิฎรุฎฐราช กษัตริย์องค์ที่ 3 ท่ีครองเมืองต่อจากพญาสุมิตธรรมวงศา ในยุคนี้กษัตริย์ได้ขาดความเลื่อมใสใน พุทธศาสนา จึงให้รื้อถอน เลิกละบ้านส่วยและข้าโอกาส ท�ำให้บ้านเมืองล่มร้าง รวมถงึ ชุมชนธาตุพนมดว้ ย - ปี พ.ศ. 2082 พระเจา้ โพธสิ าลราช เจ้านครหลวงพระบาง ไดม้ าบูรณะ องค์พระธาตุพนม และได้รวบรวมข้าโอกาสเดิมหลังจากเมืองมรุกขนครล่ม แต่ได้ เพียงจ�ำนวนนอ้ ย จึงไดถ้ วายข้าโอกาสเพมิ่ เตมิ จนครบ 3,000 คนดังเดมิ - ปี พ.ศ. 2175 เจา้ ผู้ครองนครศรโี คตรบูร ไดม้ าบูรณะองค์พระธาตุพนม และได้จัดระเบียบข้าโอกาส โดยมีสาระส�ำคัญคือ การปักเขตแดนเพ่ิมเติม และ ต้ังระเบียบปฏบิ ตั ิใหก้ บั ขา้ โอกาสในดา้ นการดแู ลรกั ษาองคพ์ ระธาตพุ นม ปที ี่ 7 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

พระธาตพุ นม : พัฒนาการดา้ นประวัตศิ าสตร์ สงั คม วฒั นธรรม เมอื งและชุมชน 97 - ปี พ.ศ. 2273 บ้านธาตุพนมแตกศึก เน่ืองจากเกิดสงครามหลายฝ่ายเชน่ ไทย ญวน ลาวและเขมร ซง่ึ ตอ้ งเดนิ ทพั ผา่ นบา้ นธาตพุ นม ทำ� ใหข้ า้ โอกาสตอ้ งหลบภยั สงคราม จนเกือบเปน็ เมอื งร้าง จนปี 2349-2356 บา้ นธาตุพนมจึงเจรญิ ขน้ึอีกครัง้ - ปี พ.ศ. 2321 เกิดสงครามระหว่างเวยี งจันทรก์ ับธนบุรี จากเหตุพระวอพระตา เมืองหนองบัวล�ำภู ข้าโอกาสได้หลบภัยสงครามไปซ่อนตามท่ีต่างๆพอเหตุการณส์ งบก็กลบั มาเพยี ง 20 - 30 ครวั เท่าน้นั - ปี พ.ศ. 2369 - 2371 ในแผน่ ดินรัชกาลที่ 3 เกิดสงครามเวยี งจันทร์กบักรุงเทพ ท�ำให้ชุมชนธาตุพนมได้รับผลกระทบอีกครั้ง ซ่ึงมีบางส่วนถูกกวาดต้อนลงไปยังกรงุ เทพ - ปี พ.ศ. 2375 - 2380 เกดิ สงครามระหว่างญวนกบั ไทย ทำ� ให้มผี ้อู พยพจากฝง่ั ลาวขา้ มมาอาศยั อยเู่ มอื งแถบรมิ แมน่ ำ�้ โขง โดยสว่ นใหญจ่ ะเปน็ เชอื้ สายผไู้ ทยซึ่งกระจายตัวกันอยู่ตามเมืองต่างๆ จนถึงปัจจุบัน เช่น อ�ำเภอธาตุพนม อ�ำเภอเรณูนคร อ�ำเภอเมืองนครพนม และจังหวัดสกลนคร เป็นตน้ - ปี พ.ศ. 2426 เกิดสงครามอินโดจีน ผร่ังเศสเข้ายึดประเทศเวียตนามทำ� ใหช้ าวเวยี ตนามบางสว่ นอพยพหนภี ยั สงครามเขา้ มาอยใู่ นพนื้ ทจี่ งั หวดั นครพนมมกุ ดาหาร อบุ ลราชธานแี ละสกลนคร ซงึ่ มบี างสว่ นทเี่ ขา้ มาอาศยั อยใู่ นชมุ ชนธาตพุ นม - ปี พ.ศ. 2449 สมเดจ็ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ ไดเ้ สดจ็ ตรวจราชการเมอื งนครพนมและเมอื งเรณนู คร ไดป้ ระกาศยา้ ยทวี่ า่ การอ�ำเภอจากเรณนู ครมาอยู่ที่ อำ� เภอธาตุพนม - ปี พ.ศ. 2518 เกิดสงครามเวียตนาม ท�ำให้มีการอพยพของผู้คนจากประเทศลาว เขมร และเวียตนามใต้ เขา้ มาในฝง่ั ไทยจำ� นวนมาก บางสว่ นเขา้ มาอยู่ในชุมชนธาตุพนม ซ่งึ จะมีเชื้อสายลาวและญวน จนถงึ ปจั จุบนั จากการลำ� ดบั เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ กบั ชมุ ชนธาตพุ นม ทำ� ใหเ้ หน็ ถงึ พฒั นาการทางสังคมและวัฒนธรรมของชมุ ชน ซึ่งสรปุ ได้ดงั น้ี 1) ชุมชนธาตุพนมมีการเกิดและดับเป็นช่วงๆ อันมีสาเหตุมาจากภยั สงครามเปน็ หลกั แตก่ ารฟน้ื ตวั ของชมุ ชนจะเกดิ ขน้ึ เสมอและไมไ่ ดด้ บั หายเหมอื น ปที ี่ 7 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

98 Journal of Mekong Societies กบั เมอื งใหญใ่ นอดตี หลายๆเมอื ง สาเหตกุ ารฟน้ื ตวั ของชมุ ชนเกดิ จาก 2 สาเหตหุ ลกั คือ การบูรณะองค์พระธาตุพนมจากผู้ครองนครต่างๆ ท่ีได้ถวายข้าโอกาสให้แด่ องค์พระธาตุ และสาเหตุอีกประการคือ การที่ชุมชนถือว่าตนเองเป็นข้าโอกาสท่ี ตอ้ งรับใชอ้ งค์พระธาตุ และมอี งคพ์ ระธาตุเปน็ ทยี่ ึดเหน่ียวทางจติ ใจ จงึ ต้องกลับมา รวมตวั กันทุกครง้ั หลังจากการหลบภยั ต่างๆ 2) ในอดีตการจัดต้ังชุมชนธาตุพนม เป็นการจัดต้ังชุมชนที่มีลักษณะ เฉพาะ เพอื่ มหี นา้ ทด่ี แู ลรกั ษาวดั และองคพ์ ระธาตุ มลี กั ษณะทางสงั คมและวฒั นธรรม ที่เก่ียวข้องกับพุทธศาสนาเป็นหลัก ซ่ึงในสภาพปัจจุบันความรู้สึกของการเป็นข้า โอกาสและหนา้ ทที่ ตี่ อ้ งปฏบิ ตั ยิ งั คงมอี ยู่ แตร่ ปู แบบการปฏบิ ตั อิ าจจะไมเ่ หมอื นเดมิ เนอ่ื งจากวิถีชวี ิตท่ีเปลยี่ นไปตามกระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคม 3) กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีอาศัยอยู่ในชุมชนธาตุพนม มีความหลากหลายทาง เช้ือชาติและวัฒนธรรม ซ่ึงเห็นได้จากการล�ำดับเหตุการณ์ของชุมชน พบว่ามีการ อพยพผู้คนหลายครั้ง ถ้าแยกแยะกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีอาศัยอยู่ในชุมชนธาตุพนม สามารถจำ� แนกได้ 2 กลุ่มหลักคอื - กลมุ่ แรก กลมุ่ ชาตพิ นั ธไ์ุ ทย-ลาว และกลมุ่ ชาตพิ นั ธผ์ุ ไู้ ทย เปน็ กลมุ่ ดงั้ เดมิ ทอี่ าศยั ในพนื้ ทแ่ี ละมจี ำ� นวนมากทสี่ ดุ เปน็ กลมุ่ ทเี่ ปน็ ขา้ โอกาสตงั้ แตก่ ารจดั ตงั้ ชมุ ชน ถงึ แมช้ าวผไู้ ทยจะเขา้ มาทหี ลงั แตก่ อ็ ยใู่ นชว่ งทมี่ กี ารจดั ตงั้ ขา้ โอกาส ซง่ึ ทงั้ สองกลมุ่ ชาติพันธุ์น้ีจะนับถือศาสนาพุทธท้ังหมด และมีวิถีชีวิตท่ีเก่ียวข้องกับองค์พระธาตุ อยเู่ สมอ - กลุ่มท่ีสอง กลุ่มชาติพันธุ์ญวนและจีน เป็นกลุ่มที่อพยพมาภายหลัง กลมุ่ แรก โดยสาเหตขุ องการยา้ ยถน่ิ เขา้ มาอยใู่ นชมุ ชนธาตพุ นมนมี้ ปี จั จยั ตา่ งกนั คอื กลุ่มชาติพันธุ์ญวนย้ายเข้ามาเพื่อหลบภัยสงคราม ส่วนกลุ่มชาติพันธุ์จีน ย้ายเข้า มาเนอื่ งจากการเขา้ มาประกอบอาชพี คา้ ขาย ทง้ั สองกลมุ่ ชาตพิ นั ธน์ุ เ้ี ขา้ มาในชมุ ชน ธาตพุ นมในเงอ่ื นไขท่ีตา่ งจากกลุ่มแรกในการเป็นขา้ โอกาสองค์พระธาตุ ดงั นนั้ จงึ มี การนบั ถอื ศาสนาอน่ื เชน่ ศาสนาครสิ ต์ เปน็ ตน้ แมว้ า่ ทงั้ 4 กลมุ่ ชาตพิ นั ธจ์ุ ะมคี วาม แตกต่างกันทางด้านบทบาทการเป็นข้าโอกาสและการใช้ภาษา วัฒนธรรมของ ปที ่ี 7 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

พระธาตุพนม : พัฒนาการด้านประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม เมอื งและชุมชน 99ตนเองภายในกลุ่ม แต่ก็อาศัยกันอยู่อย่างกลมเกลียวภายในชุมชน และปฏิบัติตนเปน็ ผูด้ ูแลองคพ์ ระธาตอุ ยา่ งสมำ่� เสมอ (Arjharn,1999) 4) ด้านประเพณีและวัฒนธรรมน้ัน นอกจากการปฏิบัติตามฮีต 12คอง 14 เหมือนกบั ชาวอีสานทวั่ ไปแลว้ ข้าโอกาสมขี อ้ แตกต่างจากประเพณที วั่ ไปคอื การปฏบิ ตั โิ ดยตรงตอ่ องคพ์ ระธาตพุ นม โดยคองทเี่ พม่ิ มาจาก คอง 14 จะมเี พมิ่อกี 9 ขอ้ ซงึ่ เปน็ แนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั องคพ์ ระธาตพุ นม และไดถ้ อื ปฏบิ ตั สิ บื ทอดกันมา ส่วนด้านประเพณีท่ีเป็นเฉพาะของท้องถิ่นคือ พิธีถวายข้าวพิชภาคต่อองค์พระธาตุพนม และประเพณีงานนมัสการพระธาตุพนม ซ่ึงถือเป็นประเพณีที่ส�ำคญั ของขา้ โอกาสและประชาชนในภูมภิ าคแถบลมุ่ น้�ำโขง (Arjharn,1999)พฒั นาการของเมอื งและชมุ ชนธาตุพนม พัฒนาการทางกายภาพของเมืองและพื้นที่โดยรอบองค์พระธาตุน้ันเร่ิมต้ังแต่การเลือกที่ตั้งองค์พระธาตุบริเวณริมแม่น้�ำโขง ซ่ึงเป็นท�ำเลที่เหมาะสมเน่ืองจากมีภูมิสัณฐานที่เป็นที่เนิน (ภูก�ำพร้า) ต่อมาชุมชนมีความหนาแน่นขึ้นบริเวณตลาดเก่าริมแม่น�้ำโขง จึงมีการสร้างสะพานเชื่อมระหว่างวัดกับตลาด เพื่องา่ ยตอ่ การเขา้ ถงึ องคพ์ ระธาตจุ ากชมุ ชนและเปน็ ทางเขา้ ถงึ หลกั ของประชาชนจากฝง่ั ลาว ในปจั จบุ นั พนื้ ทโ่ี ดยรอบวดั พระธาตพุ นมไดเ้ ปลยี่ นแปลงเปน็ ยา่ นพาณชิ ยกรรมและสถานทีร่ าชการ แต่ยงั คงพื้นที่ดา้ นหน้าวดั ใหเ้ ปน็ พ้นื ทีโ่ ล่งเพ่อื ใช้ในกิจกรรมของเมืองและเป็นแนวแกนหลักในการเข้าถึงองค์พระธาตุพนมจากแม่น�้ำโขงประเด็นในการเปล่ียนแปลงของการใช้ประโยชน์ท่ีดินโดยรอบวัดพระธาตุพนมน้ันเกิดจากกระบวนการเปล่ียนแปลงของเมืองท่ีมีความหนาแน่นมากข้ึน ท�ำให้เกิดกจิ กรรมและองคป์ ระกอบเมอื งหลายอยา่ งตามมาโดยรอบองคพ์ ระธาตพุ นม ดงั นนั้การวางแนวทางพฒั นาพ้นื ทีใ่ นอนาคต ตอ้ งมีการศึกษาในมิตติ ่างๆ อยา่ งครบถว้ นเพอื่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาทเ่ี หมาะสมกบั พน้ื ทแ่ี ละองคพ์ ระธาตุ ซง่ึ ความสมั พนั ธข์ องมติ ิตา่ งๆ ท่ีน�ำไปสูแ่ นวทางในการวางแผนพัฒนาพ้นื ทต่ี อ่ ไป ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554

100 Journal of Mekong Societies ภาพถ่ายทางอากาศบรเิ วณวัดพระธาตพุ นมและพื้นท่ีโดยรอบ ที่มา : www.pointasia.com 1. การเปลี่ยนแปลงของภูมิประเทศ จากการขุดค้นทางโบราณคดพี บว่า สถานทต่ี ้งั องคพ์ ระธาตพุ นมเป็นเนนิ ดินสงู กวา่ บรเิ วณโดยรอบประมาณ 2.00 เมตร ซึ่งกลา่ วเรยี กในตำ� นานว่าภกู �ำพรา้ ภนู ตี้ งั้ อยหู่ า่ งจากแมน่ �้ำโขงประมาณ 600 เมตร ดา้ นหนา้ ภกู �ำพรา้ เปน็ ถนนชวางกรู และถดั จากถนนไปทางทศิ ตะวนั ออก เปน็ บงึ นำ�้ กวา้ งประมาณ 300 เมตรยาวขนาน ไปกับแม่น�้ำโขงเรียกกันในท้องถ่ินว่าบึงธาตุ และเช่ือกันว่าบึงน้ีถูกขุดข้ึนในอดีต เพื่อนำ� เอาดินมาปั้นอิฐในการก่อสร้างองค์พระธาตุพนม เม่ือพิจารณาลักษณะของ บึงธาตุนี้พบว่าสภาพเดิมมีความยาวไปทางทิศเหนือประมาณ 2 กิโลเมตรจนถึง แมน่ ำ�้ โขง สว่ นทางตอนใตถ้ กู ถมและกอ่ สรา้ งเปน็ บา้ นเรอื นจนสงั เกตไดย้ าก ลกั ษณะ ของบึงธาตุในแบบน้ีเป็นลักษณะของแม่น้�ำโขงเดิม และได้เปลี่ยนทางเดินเป็นใน ปีท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

พระธาตพุ นม : พัฒนาการด้านประวตั ิศาสตร์ สงั คม วัฒนธรรม เมอื งและชุมชน 101ลักษณะปัจจุบัน ในส่วนที่เป็นทางน�้ำเดิมปัจจุบันได้ถูกถมและเกิดต้ืนเขินจนมีลักษณะเปน็ แอง่ นำ้� เปน็ ช่วงๆ และแอง่ น้�ำทอ่ี ยู่บรเิ วณหน้าวัดพระธาตพุ นมได้เรียกกันวา่ บงึ ธาตุ ลกั ษณะของภกู ำ� พรา้ ทส่ี งู กวา่ บรเิ วณโดยรอบนน้ั ลอ้ มรอบดว้ ยคนู ำ้� 3 ดา้ นคือ ดา้ นทิศเหนอื ใต้ และตะวันตก คนู ำ�้ ลักษณะเปน็ แนวทเ่ี กดิ จากการขุดขึน้ คูนำ้�ทางทิศเหนือและใต้ส้ินสุดทางด้านหน้าเพราะถูกถนนชวางกูรตัดทับ ซ่ึงแต่เดิมกอ่ นทถี่ นนสายนจี้ ะตดั คนู ำ�้ จะตอ่ ไปถงึ บงึ ธาตุ ทำ� ใหส้ ภาพเดมิ ภกู ำ� พรา้ จะมนี ำ�้ ลอ้ มรอบทั้ง 4 ด้าน แต่ปัจจุบันร่องรอยของคูน�้ำถูกท�ำลายไปมากเน่ืองจากการสร้างอาคารเพมิ่ เตมิ ภายในวดั จงึ เห็นเป็นเพยี งแอง่ น้ำ� เป็นชว่ งๆ เทา่ นัน้ (The fine ArtsDepartment, 1979) ทำ� เลทตี่ งั้ ในอดตี ของพระธาตพุ นมตดิ กบั แมน่ ำ�้ โขง ซง่ึ นอกจากภมู ปิ ระเทศทเี่ หมาะสมแลว้ นา่ จะมจี ดุ ประสงคใ์ นการใหเ้ ขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย ซงึ่ เสน้ ทางการสญั จรหลกัในอดตี คือแม่น�้ำโขง เนื่องจากแม่น้ำ� โขงไดเ้ ปลยี่ นทศิ ทางจากเดิมจงึ ท�ำให้เกดิ เปน็แผ่นดนิ และวดั พระธาตุไดห้ า่ งออกจากแมน่ �ำ้ โขงประมาณ 600 เมตร ซ่งึ ปัจจบุ นั ได้มถี นนเปน็ แนวแกนตรงจากแมน่ ำ้� โขงเขา้ สวู่ ดั พระธาตซุ ง่ึ ถอื วา่ เปน็ เสน้ ทางทสี่ ำ� คญัในการเข้าถงึ ของประชาชนจากฝ่งั ลาว 2. การเติบโตของเมอื งจากอดีตถึงปจั จุบัน การเติบโตของชุมชนในเขตเทศบาลต�ำบลธาตุพนมน้ัน เดิมมีศูนย์กลางหลกั อยูบ่ รเิ วณตลาดลาวและพืน้ ท่ีโดยรอบ ซ่ึงถอื เปน็ ยา่ นพาณชิ กรรมหลกั ในอดตีส่วนย่านพักอาศัยได้กระจายตัวตามถนนพนมพนารักษ์และถนนเลียบแม่น้�ำโขงซึ่งสภาพชุมชนในปจั จบุ ันยังคงสภาพดัง้ เดิมอยู่มาก ทศิ ทางการเตบิ โตของเมอื งไดข้ ยายตวั ตามถนนชวางกรู ทางดา้ นทศิ เหนอืและทศิ ตะวันตก โดยเกดิ เปน็ ย่านพาณิชยกรรมใหม่ ผสมกับทีพ่ กั อาศยั ส่วนย่านพาณชิ ยกรรมหลกั ไดย้ า้ ยจากตลาดลาวมาอยใู่ นบรเิ วณตลาดสดเทศบาล สว่ นพน้ื ท่ีรมิ แมน่ ำ้� โขงไดป้ รบั เปลยี่ นจากยา่ นพกั อาศยั เดมิ เปน็ พน้ื ทร่ี องรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วมากขนึ้ เชน่ โรงแรม รา้ นอาหาร กระจายตวั อยตู่ ามรมิ แมน่ ้�ำ ซง่ึ มแี นวโนม้ ของการขยายตัวมากขนึ้ สำ� หรับการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ ในอนาคต ได้ก�ำหนดใหม้ ีศูนยก์ ลางชุมชน ปที ี่ 7 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

102 Journal of Mekong Societies หลักในบริเวณชุมชนเดิมท่ีมีวัดพระธาตุพนมเป็นศูนย์กลาง โดยมีพ้ืนที่รองรับ การขยายตัวตอ่ เน่อื งมาทางตอนใต้ของชุมชน และได้กำ� หนดใหม้ ศี นู ยก์ ลางชุมชน รองขนึ้ มาใหม่บริเวณทางดา้ นทิศตะวันตกซงึ เป็นทีต่ ั้งของศนู ยร์ าชการ เพื่อให้เกิด การขยายตวั ของเมอื งมาทางทิศตะวนั ตกเพอ่ื รองรบั การขยายตัวในอนาคต องคป์ ระกอบเมืองท่มี คี ณุ ค่าทางประวตั ิศาสตร์ จากพฒั นาการของเมอื งตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ยงั คงพบเหน็ องคป์ ระกอบ เมืองทางกายภาพ ท่ีสามารถเล่าเรื่องราวของเมืองแห่งต�ำนานน้ีได้ เช่น รูปแบบ ทางสถาปตั ยกรรม ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรม ซงึ่ องคป์ ระกอบเหลา่ นลี้ ว้ นมคี วามสำ� คญั ใน การวางแผนพฒั นาเมอื งในอนาคต เนอ่ื งจากเมอื งธาตพุ นมเปน็ เมอื งทมี่ ปี ระวตั ศิ าสตร์ อันยาวนาน การอนุรกั ษ์ส่งิ ท่ีบ่งบอกถึงเอกลกั ษณเ์ มืองจึงถอื เป็นเรือ่ งท่จี �ำเป็น ในปัจจุบันการอนุรักษ์และบูรณะองค์ประกอบภายในวัดพระธาตุพนม รวมถงึ องคพ์ ระธาตพุ นมไดร้ บั การดแู ลอยา่ งดยี ง่ิ และแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ประวตั ศิ าสตร์ อย่างชัดเจน ซึ่งถ้าจะให้เกิดผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของวัด จึงควรพัฒนา องค์ประกอบเมืองอน่ื ๆ ท่จี ะเสริมสร้างสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมกบั วัดและเหมาะสม กบั เมืองทีม่ ีประวตั ศิ าสตร์อันยาวนาน โดยยกตัวอยา่ งองค์ประกอบเมอื งทีม่ คี ณุ คา่ ทางประวตั ิศาสตร์ดังน้ี 1. พนื้ ทภี่ ายในวัดพระธาตุพนม ปัจจุบันพ้ืนที่ภายในวัดธาตุพนมในส่วนที่เป็นเขตพุทธาวาส รวมถึง องคป์ ระกอบภายในวดั ทเ่ี ป็นโบราณสถานและโบราณวตั ถุตามทกี่ ลา่ วมาแล้ว กไ็ ด้ รบั การบรู ณะและเกบ็ รกั ษาไวอ้ ยา่ งดี สว่ นพนื้ ทท่ี เ่ี ปน็ สว่ นบรกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี วภายใน วดั มกี ารใชพ้ น้ื ทตี่ ง้ั รา้ นคา้ และจอดรถผทู้ ม่ี านมสั การองคพ์ ระธาตุ ทำ� ใหพ้ นื้ ทภ่ี ายใน วดั มคี วามแออัดและไม่เหมาะสมในการทเี่ ปน็ เขตสงั ฆาวาส ซึ่งสาเหตดุ งั กลา่ วอาจ สืบเน่ืองมาจากการปรับปรุงพื้นที่ภายนอกวัดยังไม่สามารถเอื้อต่อกิจกรรมต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นได้ จึงท�ำให้กิจกรรมต่างๆดังกล่าวต้องเข้าไปใช้พื้นท่ีภายในวัดแทนพื้นท่ี ภายนอก ดังน้ันแนวทางการปรับปรุงพ้ืนที่ภายในวัดควรจะแยกส่วนกิจกรรมที่ ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554

พระธาตุพนม : พัฒนาการด้านประวตั ิศาสตร์ สังคม วฒั นธรรม เมอื งและชมุ ชน 103ไมเ่ หมาะสมกบั เขตสงั ฆาวาสออกไปจดั ไวภ้ ายนอกวดั เชน่ พนื้ ทโี่ ลง่ บรเิ วณหนา้ วดัเปน็ ต้น 2. พืน้ ทต่ี ลาดเกา่ (ตลาดลาว) ในอดีตตลาดลาวเป็นตลาดหลักของชาวชุมชนธาตุพนม ท่ีมีกิจกรรมการค้าหนาแน่น เนื่องจากมีการเปิดจุดผ่อนปรนในบริเวณตลาด ซ่ึงมีการซื้อขายแลกเปลยี่ นสนิ คา้ จากประชาชนทง้ั จากฝง่ั ไทยและลาว ตอ่ มาไดย้ า้ ยจดุ ผอ่ นปรนไปบริเวณส�ำนักงานเทศบาล ประกอบกับมีย่านการค้าใหม่เกิดข้ึน จึงท�ำให้กิจกรรมการค้าในตลาดลาวเรม่ิ ซบเซาลงจนถึงปัจจุบนั จุดเด่นของตลาดลาวคือต้ังอยู่บนถนนเส้นแกนหลักท่ีเป็นเส้นทางจากแม่น้�ำโขงเข้าสู่วัดพระธาตุพนม และมีรูปแบบสถาปัตยกรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์ประกอบด้วยอาคารแถวชั้นเดียวและสองช้ันทอดยาวตามริมถนนทั้งสองข้าง โดยรปู แบบทางสถาปตั ยกรรม เปน็ ยคุ ชา่ งฝมี อื ชาวญวน รปู แบบโคโลเนยี ลและเรอื นไม้พื้นถ่ิน ซ่งึ ปัจจบุ นั อาคารทรุดโทรมลงมาก แนวทางการปรบั ปรงุ และฟน้ื ฟกู จิ กรรมทางดา้ นการคา้ ทซี่ บเซาของพน้ื ที่บรเิ วณน้ี อาจกระท�ำไดโ้ ดยการปรบั กจิ กรรมการใชอ้ าคาร (Adaptive Re-use) เพอื่ใช้ประโยชน์ในรูปแบบอื่น รวมท้ังการปรับปรุงอาคารในเชิงอนุรักษ์ เพื่อรักษารปู แบบทางสถาปตั ยกรรมเดมิ ของพนื้ ที่ โดยพน้ื ทสี่ ว่ นนจ้ี ะตอ้ งเชอ่ื มตอ่ ทางกจิ กรรมและสง่ เสรมิ มุมมองทด่ี ตี อ่ วดั พระธาตุพนมดว้ ย ภาพถา่ ยบริเวณพืน้ ท่ีตลาดเก่า ( ตลาดลาว ) ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554

104 Journal of Mekong Societies 3. ชุมชนดัง้ เดมิ ริมถนนพนมพนารกั ษ์ พ้ืนที่เมืองเก่าของชุมชนธาตุพนมที่ต้ังอยู่ริมถนนพนมพนารักษ์ เป็น องคป์ ระกอบเมอื งทม่ี คี ณุ คา่ ทางประวตั ศิ าสตร์ ทบี่ อกเลา่ รปู แบบทางสถาปตั ยกรรม และวิถีชีวิตของคนในชุมชนได้ โดยในสภาพปัจจุบนั ยังคงหลงเหลือรูปแบบอาคาร ที่เป็นอาคารไม้แบบพื้นถิ่น และมีอาคารรูปแบบโคโลเนียล ที่มีสภาพสมบูรณ์ แตบ่ างสว่ นก็ได้มกี ารร้อื ถอนและกอ่ สรา้ งอาคารรูปแบบใหมข่ น้ึ มาทดแทน แนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณน้ี ควรมองประเด็นในด้านการอนุรักษ์ ชุมชน เน่ืองจากเป็นพ้ืนที่ที่มีเอกลักษณ์ของเมืองเก่าที่มีบรรยากาศเหมาะสมกับ วัดพระธาตุพนม ภาพถ่ายแสดงรูปแบบทางสถาปตั ยกรรมชมุ ชนรมิ ถนนพนมพนารกั ษ์ 4. พ้นื ที่โลง่ หนา้ วดั พระธาตุพนม แนวทางพัฒนาให้เป็นเขตปริมลฑลของวัดเป็นหลักเพ่ือให้เกิดกิจกรรมท่ี ตอ่ เนอ่ื งจากภายในวดั ได้ รวมทงั้ สง่ เสรมิ ภาพลกั ษณท์ ด่ี ตี อ่ วดั พระธาตพุ นม ในการ ใช้พื้นที่บริเวณนี้นอกจากจะเป็นกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับวัดแล้วยังควรพัฒนาให้เป็นท่ี ปที ี่ 7 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554

พระธาตพุ นม : พฒั นาการด้านประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม เมอื งและชุมชน 105รองรับกจิ กรรมของเมืองท่เี กย่ี วข้องกบั ประเพณี วัฒนธรรมและศาสนาด้วย เพ่อื ให้เกิดการใช้พ้ืนท่ีท่ีคุ้มค่าและกิจกรรมที่เกิดข้ึนจะไม่รบกวนกิจกรรมภายในวัดพระธาตุพนม ส่วนพื้นท่ีต่อเน่ืองบริเวณหน้าตลาดสดเทศบาล ควรจัดพ้ืนที่เพอื่ ใหร้ องรบั กจิ กรรมในการทอ่ งเทยี่ วโดยเฉพาะทเี่ กย่ี วกบั วดั พระธาตพุ นม ซง่ึ น�ำเอากิจกรรมด้านการค้าและที่จอดรถภายในวัดพระธาตุพนมมารวมไว้ในพื้นท่ีนี้เพ่อื ไมใ่ ห้รบกวนกจิ กรรมภายในวดั ภาพถ่ายพืน้ ทีโ่ ล่งบริเวณหนา้ วัดพระธาตุพนม จากองค์ประกอบเมืองทั้งหลายที่ได้กล่าวมาเบื้องต้น เป็นเพียงตัวอย่างแนวทางการวางแผนพัฒนาเมือง ในแง่คิดของนักออกแบบชุมชนเมือง โดยมีจุดประสงค์หลักเพ่ือให้เกิดการพัฒนาเมืองท่ีเหมาะสมกับบริบทและเอกลักษณ์เฉพาะของเมอื ง ซงึ่ ในการจดั ทำ� แผนการพฒั นาเมอื งนน้ั คงตอ้ งมอี งคป์ ระกอบหลายอย่างเข้ามาเกยี่ วข้อง รวมทั้งประเดน็ ต่างๆทม่ี ากกวา่ ที่เสนอเชน่ ด้านการควบคมุสภาพแวดลอ้ มเมืองทางกายภาพ เศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรม เป็นต้นบทสรุป จากการศึกษาพัฒนาการทางด้านประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ต�ำนานจนถึงประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ พบวา่ องคพ์ ระธาตพุ นมมคี วามเกยี่ วพนั กบั ประวตั ศิ าสตรข์ องภูมิภาคลุ่มน�้ำโขงมาตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ซึ่งมีท้ังยุคท่ีรุ่งเรืองและถดถอย ปีท่ี 7 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554

106 Journal of Mekong Societies ตามสภาวะการของบา้ นเมอื ง แตเ่ มอื่ ใดทม่ี กี ารบรู ณะองคพ์ ระธาตพุ นม กจ็ ะมคี วาม ร่วมมือจากหลายชนชาติ หลายเมือง ท�ำให้เกิดความสัมพันธ์อันดีในสังคมและ ศาสนาของผคู้ นในภมู ภิ าคแถบน้ี ท่ีลว้ นแต่สันตสิ ุข รว่ มมอื กันโดยปราศจากความ เดยี ดฉนั ท์ ไมว่ ่าทางเชอ้ื ชาติ เผา่ พันธุแ์ ละการเมอื ง ร่องรอยที่หลงเหลือท้ังโบราณสถาน โบราณวัตถุ ท่ียังหลงเหลืออยู่ใน เขตแดนพระธาตพุ นม ซึ่งกินบริเวณกวา้ งตามชุมชนโดยรอบตา่ งๆ เช่น วดั เจดยี ์ พ้ืนท่ีทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ซึ่งถ้าได้รวบรวม ศึกษา บูรณะและเผยแพร่ให้เกิด การเรยี นรกู้ บั สาธารณะชนทว่ั ไป กจ็ ะเปน็ พนื้ ทปี่ ระวตั ศิ าสตรท์ ม่ี คี วามสำ� คญั ในระดบั ภูมิภาค ได้ชัดเจนมากขึ้นกว่าปัจจุบัน ซ่ึงจะส่งผลต่อการพัฒนาพ้ืนท่ีท้ังด้าน กายภาพ เศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม ตามมา การจัดตัง้ ชุมชนธาตุพนมทม่ี าจากการถวายตัวเปน็ ขา้ โอกาส ทค่ี อยดแู ล องค์พระธาตุน้ัน เป็นการจัดต้ังชุมชนที่มีลักษณะเฉพาะอย่างย่ิง เน่ืองจากวิถีชีวิต สังคม วฒั นธรรม มคี วามเกย่ี วพนั กับองค์พระธาตทุ ้ังส้ิน ถึงแม้ชมุ ชนในอดีตจะได้ รับผลกระทบจากความขัดแย้งในภูมิภาค ที่ท�ำให้มีการเคลื่อนย้ายแตกกระจายไป บ้าง แต่กส็ ามารถรวมตวั กนั จดั ตั้งเป็นชุมชนได้อีกครงั้ และผลจากการเคล่อื นย้าย ผู้คนในภูมิภาคนี้ ท�ำให้ชุมชนธาตุพนมมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ได้แก่ ชาวไทย-ลาว ชาวผู้ไทย ชาวญวน และชาวจีน ซึ่งแต่ละกลมุ่ ก็จะมีวฒั นธรรมเปน็ ของตนเอง แตท่ กุ กลมุ่ กส็ ามารถอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสงบสขุ เนอ่ื งจากมอี งคพ์ ระธาตพุ นม เปน็ ศนู ยร์ วมจิตใจใหเ้ ปน็ หนงึ่ เดียว พัฒนาการของเมืองธาตุพนม ที่ผ่านมายังคงเห็นองค์ประกอบของ เมืองเก่าที่มีคุณค่า ท่ีบอกเล่าความเป็นมาของชุมชนได้เช่น พื้นท่ีตลาดลาว ซุ้มประตูโขง และชุมชนริมถนนพนมพนารักษ์ ซ่ึงถือว่าเป็นองค์ประกอบเมืองที่มี เอกลกั ษณ์ ควรคา่ แกก่ ารรกั ษา เพอื่ บอกเลา่ ความเปน็ มาของเมอื งและเหมาะสมกบั ความเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตรอ์ นั ยาวนาน สำ� หรบั บทความนไี้ ดช้ ใี้ หเ้ หน็ ถงึ พฒั นาการดา้ นตา่ งๆของพระธาตุ วดั เมอื ง และผคู้ น ทม่ี คี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ในการวางแผนพฒั นาเมอื งพระธาตพุ นม เนอื่ งจาก เป็นอัตลักษณ์ของเมืองท่ีจะเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาเมือง เพื่อให้ ปที ่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

พระธาตพุ นม : พฒั นาการด้านประวตั ิศาสตร์ สงั คม วฒั นธรรม เมอื งและชุมชน 107องคพ์ ระธาตพุ นมทมี่ คี วามสำ� คญั ระดบั ภมู ภิ าคลมุ่ แมน่ ำ�้ โขง ยงั คงบทบาทนนั้ ตอ่ ไปในอนาคต เพราะองคพ์ ระธาตพุ นมมพี ฒั นาการในแตล่ ะชว่ งเวลาทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ผคู้ นสังคม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ และการเมืองการปกครอง มาโดยตลอด แตส่ ิง่ ท่ีไมเ่ คยเปลี่ยนแปลงคือ ความเป็นศูนย์รวมทางด้านจิตใจของประชาชนในภูมิภาคแถบน้ีและพุทธศาสนิกชนทั่วไป ซ่ึงเป็นสิ่งที่ท�ำให้องค์พระธาตุพนม มีประวัติศาสตร์ท่ียาวนาน และยังคงมีพฒั นาการร่วมกบั ชมุ ชนต่อไปอกี นานเอกสารอ้างอิงArjharn, Tossapon. (1999). Kha-o-kard Phra Thatpanom Amphur Thatpanom Changwat Nakornpanom. (In Thai) (The Servants of Thatpanom Pagoda in Thatpanom District Nakornpanom Province). n.p.Charoensupakul, Anuwit.(1989). Phra Thatpanom (In Thai) (Phra Thatpanom). 2nd ed. Bangkok: Kurusapa Press.Na Parknam, Nor (1986). Kwaumpenma Khong Sthup Jadi nai Siam Prathet (In Thai) ( History of Buddhism Pagoda in Thailand). Bangkok: Mueng Boran Press.Pra thammarachanuwat (2008). Urangka Nitan - Tamnam Phra Thatpanom (In Thai) (Urangka Nitan - The Myth of Phra Thatpanom Pagoda). Bangkok: June Publishing.Prathep Rattanamolee. (1994). Prawat Yore Phra Thatpanom (In Thai) (The Short History of Phra Thatpanom Pagoda). 2nd ed. n.p.The fine Arts Department. (1979). Jodemaihate Karn Burana Patisungkhon ong Phra Thatpanom. (in Thai) (The Annals of Phra Thatpanom Restoration ).Bangkok: Pikanet Press. ปที ่ี 7 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2554

108 วารสารสงั คมลุม่ นํ้าโขง ปีที่ 7 ฉบบั พิเศษ 2554


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook