คานา สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) ได้จัดทาโครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือสนองงานตามพระราชดาริ และพระราชปณิธานของพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 10 ที่ทรงห่วงใยพสกนิกร และจากพระราชกระแสรับส่งั ของสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ฯ รชั กาลท่ี 10 ในด้านการศึกษา ได้แก่ 1) เน้นให้การศึกษาต้องมุ่งสร้างพ้ืนฐานให้แก่ผู้เรียน 2) การสร้างทัศนคติที่ถูกต้อง (อุปนิสัย) ที่มั่นคงเข้มแข็ง 3) การสอนให้มีอาชีพ มีงานทา และ 4) การทาให้เยาวชนมีความสนใจ และเข้าใจในเรื่องของสถาบันพระมหากษัตริย์และประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย ไดอ้ ย่างถูกต้อง เพื่อเป็นการเสริมสร้างอุดมการณ์รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ให้แก่บุคลากรในสังกัด สานักงาน กศน. ทุกระดับ ให้มีความหวงแหน และเทิดทูน ซ่ึง 3 สถาบันหลัก ได้แก่สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และเพ่ือเป็นการสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีต้องการเนน้ เรือ่ งประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยใหม้ ีความร้แู ละเข้าใจอย่างชัดเจน โดยเป็นการดาเนินงานร่วมกับศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ 1 กองอานวยการรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ซ่ึงเป็นหน่วยงานภาคีเครือข่าย เป็นการร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกันให้เกิดเป็นรูปธรรม เพ่ือสนับสนุนแนวทางการรักษาความม่นั คงสถาบันหลกั ของชาตภิ ายใต้ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์เป็นประมขุ โครงการดังกล่าวได้กาหนดกลุ่มเป้าหมายในการเข้ารับการอบรม ได้แก่ ผู้บริหารส่วนกลาง/จังหวัดผู้บริหารสถานศึกษาข้ึนตรง ผู้บริหาร กศน.เขต/อาเภอ ครู กศน.ตาบล และเจ้าหน้าท่ีผู้เกี่ยวข้องโดยแยกการจัดอบรมเป็น 2 รุ่น ได้แก่ รุ่นที่ 1 รวม 1 คร้ัง จานวน 490 คน ณ กรุงเทพมหานคร รุ่นที่ 2รวม 17 คร้ัง ณ พื้นท่ีสานักงาน กศน.จังหวัดที่เป็นประธานกลุ่ม รวมผู้เข้าอบรมท้ังหมดจานวน 9,319 คนอีกทั้งยังได้มีการขยายผลการอบรมจากบุคลากรของสานักงาน กศน. ไปสู่พื้นท่ีโดยสถานศึกษาในสังกัดไปดาเนนิ การจัดกระบวนการ ในเรียนการสอนให้กับนักศึกษา กศน. เยาวชน และประชาชนท่ัวไปให้มีความรู้ความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งและชดั เจนตอ่ ไป คณะผู้จัดทา กล่มุ ส่งเสรมิ ปฏบิ ัติการ สานกั งาน กศน.
สารบัญ หนา้คานา 1สารบญั 1บทนา 2 2 1. หลกั การและเหตผุ ล 2 2. วัตถุประสงค์ 2 3. กลมุ่ เปา้ หมายผู้เขา้ รับการอบรม 3 4. รปู แบบการดาเนนิ งาน 3 5. ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 3 6. วทิ ยากรในการให้ความรู้ 3 7. ระยะเวลาการดาเนินการ 3 8. ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 4 9. การประเมนิ โครงการ 4 10. การตดิ ตามผลหลงั การอบรมผลการดาเนนิ งาน 4 1) การจัดอบรมให้กับบุคลากรในสังกัดสานักงาน กศน. ทั่วประเทศ รวม 19 กลมุ่ สานักงาน กศน. 4แยกเปน็ 2 ร่นุ รวม 18 คร้งั ๆ ละ 1 วัน 7 1.1) รนุ่ ท่ี 1 วันท่ี 1 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมบางกอกพาเลส เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 8 1.2) รนุ่ ที่ 2 ระหว่างวนั ท่ี 15 พฤษภาคม – 19 กรกฎาคม 2560 รวม 17 คร้ัง 8 1.3) กาหนดการอบรม “โครงการอบรมประวัตศิ าสตร์ชาติไทยและบญุ คณุ 8ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 9 2) สรปุ ผลการประเมินตามแบบสอบถาม รวม 18 คร้ัง 9 2.1) ดา้ นความพึงพอใจ 11 2.2) ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจและการนาไปใช้ 2.3) ด้านความสาเร็จของโครงการภาพรวม 15 2.4) ขอ้ เสนอแนะ 3) การจดั งานสรุปผลการดาเนินงานโครงการประวัติศาสตร์“โครงการอบรมประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทยและบุญคุณของพระมหากษัตริยไ์ ทย”นโยบาย เลขาธิการ กศน.
สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 16ภาคผนวก 17 - โครงการอบรมประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย 24 - แบบประเมิน “โครงการอบรมประวัติศาสตรช์ าติไทย และบญุ คุณของพระมหากษตั รยิ ์ไทย” 26 - หนงั สอื คาสัง่ “โครงการอบรมประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย และบญุ คุณของพระมหากษัตริยไ์ ทย” 31 - เอกสารประกอบการอบรม “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบุญคณุ ของ 65พระมหากษัตริยไ์ ทย” - ภาพกิจกรรมการจดั งานแสดงสรุปผลการดาเนนิ งาน“โครงการอบรมประวตั ิศาสตรช์ าติไทย 91 100และบญุ คุณของพระมหากษัตริยไ์ ทย” - ขา่ ว “โครงการอบรมประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย และบญุ คณุ พระมหากษัตรยิ ไ์ ทย”คณะผ้จู ดั ทา
บทนา1. หลักการและเหตุผล ประเทศไทย มีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสัญลักษณ์ของการดารงอยู่ของชาติไทยมาต่อเน่ือง สังคมไทยให้ความสาคัญกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นสถาบันทางสังคมที่เขม้ แขง็ ยืนยง ทาใหป้ ระเทศไทยสามารถรกั ษาความเป็นไทยภายใตพ้ ระบรมโพธิสมภารมาจนถึงปัจจุบัน สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นเสาหลักท่ีสาคัญของสังคมไทย ในทุกๆ ด้าน เป็นสมบัติล้าค่าท่ีชาวไทยทุกคนจะต้องร่วมกันปกป้องให้สถาบันพระมหากษัตริย์คงอยู่ตลอดไป พระมหากษัตริย์ไทยทรงครองราชย์ป้องเมือง ทานุบารุงบ้านเมือง ศาสนา และสังคมมาจนถึงทุกวันนี้ แม้ว่าประเทศไทยจะมีรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยแต่สถาบันพระมหากษัตริย์กลับเป็นท่ีเคารพสักการะจากประชาชนมากเช่นเดิมไม่มีเปลี่ยนแปลง จนถึงปัจจุบันจนถึง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 ก็ยังคงมีความเป็นห่วงราษฎรในทุกเร่ือง โดยเฉพาะด้านการศึกษา ทรงมีพระราชกระแสรับส่ัง ในด้านการศึกษา โดยเน้นให้การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน การสร้างทัศนคติท่ีถูกต้อง (อุปนิสัย) ที่มั่นคงเข้มแข็ง การสอนให้มีอาชีพมีงานทา รวมถึงการทาให้เยาวชนมีความสนใจ และเข้าใจในเรื่องของสถาบันพระมหากษัตริย์และประวัติศาสตร์ชาติไทย ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง จากพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ไทยที่มีต่อพสกนิกรชาวไทย จากอดีตจนถึงปัจจุบันสานักงาน กศน. ซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีมีภารกิจในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับประชาชนผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ซึ่งมีท้ังเยาวชนและประชาชนทั่วไปได้ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะใช้การศึกษาและการเรียนรู้ เป็นกระบวนการสร้างระบบความรู้ ความเข้าใจ และเสริมสร้างอุดมการณ์รักชาติ ศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย ให้กับบุคลากร ทุกระดับของหน่วยงานในสังกัดสานักงาน กศน. เพ่ือนาไปขยายผลให้กับผู้เรียนท่ีเป็นเยาวชน และประชาชนท่ัวไปและสามารถนาไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม และสามารถออกไปเผยแพร่เพื่อสร้างและขยายเครือข่าย กระจายความรู้ เพือ่ สง่ ผลถึงสังคมภายนอกพนื้ ทไี่ ดอ้ ย่างจรงิ จงั ท้งั น้ี สานักงาน กศน. ยังได้จัดทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสานักงาน กศน. กับกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ซึ่งเป็นหน่วยงานภาคีเครือข่าย โดยเป็นการร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกัน ให้เกิดเป็นรูปธรรม เพื่อสนับสนุนแนวทางการรักษาความมั่นคงสถาบันหลักของชาติภายใต้ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข อีกด้วย ดงั นั้น สานักงาน กศน. จงึ ไดน้ อ้ มนาพระราชกระแสฯ แนวทางดังกล่าวขา้ งต้น และแนวทางตามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกันให้เกิดเป็นรูปธรรม เพื่อสนับสนุนแนวทางการรักษาความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มาดาเนินการขับเคลื่อนการเสริมสร้างอุดมการณ์รักชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย ให้กับบุคลากรของหน่วยงานในสังกัดสานักงาน กศน. โดยดาเนนิ การจดั ทา “โครงการอบรมประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย และบญุ คุณของพระมหากษัตริย์ไทย”มีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ผู้อานวยการกลุ่ม/ศูนย์ ส่วนกลาง, ผู้อานวยการสานักงาน กศน. กทม./จังหวัด,ผู้อานวยการสถานศึกษาขึ้นตรง , ผู้อานวยการ กศน.เขต/กศน.อาเภอ ครู กศน.ตาบล และเจ้าหน้าท่ีผู้เก่ียวข้องในสังกัดสานักงาน กศน. ทั่วประเทศ รวมจานวน 9,319 คน เพ่ือเป็นฐานในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศชาติ
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย” 2ให้มคี วามเขม้ แข็ง มนั่ คง และยั่งยนื ด้วยการเสรมิ สรา้ งอุดมการณ์ รกั ชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยอีกทั้งยังได้มีการขยายผลการอบรมจากบุคลากรของสานักงาน กศน. ไปสู่พื้นที่โดยสถานศึกษาในสังกัดไปดาเนินการจัดกระบวนการ ในเรียนการสอนให้กับนักศึกษา กศน. เยาวชน และประชาชนท่ัวไปให้มีควา มรู้ความเข้าใจทถี่ ูกตอ้ งและชดั เจนตอ่ ไป2. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อเสริมสร้างอุดมการณ์รักชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย ของบุคลากรในหน่วยงานสงั กดั สานักงาน กศน.3. กล่มุ เปา้ หมายผู้เขา้ รบั การอบรม ผเู้ ข้ารับการอบรม จานวนทั้งสนิ้ 9,319 คน จาแนกเป็น 1) ผ้อู านวยการกลมุ่ /ศูนย์ ส่วนกลาง 2) ผอู้ านวยการสานกั งาน กทม./จังหวัด 3) ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษาข้ึนตรง 4) ผูอ้ านวยการ กศน.เขต / กศน.อาเภอ 5) ครู กศน.ตาบล 6) เจา้ หน้าท่ผี เู้ ก่ียวขอ้ ง4. รปู แบบการดาเนินงาน 1) การจัดอบรมให้กับบุคลากรในสังกัดสานักงาน กศน. ทั่วประเทศ รวม 19 กลุ่มสานักงาน กศน.แยกเปน็ 2 รุ่น รวม 18 คร้งั ๆ ละ 1 วนั 2) การจัดงานแสดงสรุปผลการดาเนินงาน “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย” จานวน 1 วัน5. ขั้นตอนการดาเนินงาน 1) การจัดอบรมให้กับบุคลากรในสังกัดสานักงาน กศน. ทั่วประเทศ รวม 19 กลุ่มสานักงาน กศน.แยกเป็น 2 รุ่น รวม 18 คร้ัง ๆ ละ 1 วัน รูปแบบของการจัดอบรม เป็นการบรรยายให้ความรู้ในเรื่องของประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ให้กับกลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นบุคลากรในสังกัดสานักงานกศน. เพื่อเสริมสร้างอุดมการณ์ รักชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย และเพื่อนาไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในพ้ืนที่ต่อไป โดยดาเนินการ ในพ้ืนท่ีสานักงาน กศน.จังหวัด ท่ีเป็นประธานกลุ่มสานักงาน กศน.รวม 19 กลมุ่ 2) การจัดงานแสดงสรุปผลการดาเนินงาน “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” จานวน 1 วัน เป็นการดาเนินงานเพื่อนาผลการจัดอบรมที่ผ่านมา 19 คร้ัง และมีการนาความรู้ทไี่ ด้รบั จากการอบรม ไปขยายผลในพื้นที่มานาเสนอในรปู แบบของสื่อวดี ีทัศน์ และการแสดงของนักศึกษา กศน.ทีส่ อ่ื และแสดงออกถงึ การรักชาติ และประวัตศิ าสตร์ชาติไทย
“โครงการอบรมประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย” 36. วทิ ยากรในการใหค้ วามรู้ 1) นายกองตรี ธารณา คชเสนี 2) ว่าทีร่ ้อยตรี นา้ เพ็ชร คชเสนี สตั ยารกั ษ์7. ระยะเวลาดาเนินการ 1) รุ่นท่ี 1 วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2560 2) รุ่นที่ 2 วนั ที่ 15 พฤษภาคม – วนั ท่ี 19 กรกฎาคม 2560 (พื้นที่ 19 กลุ่มสานักงาน กศน. รวม 17 คร้งั ) 3) การจัดงานแสดงสรุปผลการดาเนินงาน “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” วันท่ี 27 กรกฎาคม 25608. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 1) บุคลากรในหน่วยงานสังกัดสานักงาน กศน. เป็นฐานในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศชาติใหม้ คี วามเขม้ แข็ง มน่ั คง และย่งั ยนื ดว้ ยการเสรมิ สร้างอดุ มการณ์รักชาติ ศาสนาและสถาบนั พระมหากษัตริย์ไทย 2) บุคลากรในหน่วยงานสังกัดสานักงาน กศน. มีความรู้ความเข้าใจ เกิดค่านิยมใน การยึดมั่นในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และความภมู ิใจในความเป็นไทย 3) บุคลากรในหน่วยงานสังกัดสานักงาน กศน. สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้และขยายผลการจัดกิจกรรมอบรมสัมมนาให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อไป และสามารถนาไปจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับนักศึกษากศน. /เยาวชน และประชาชนทวั่ ไป ได้อย่างถกู ต้อง9. การประเมนิ ผลโครงการ ประเมนิ ผลโครงการจากผเู้ ข้ารว่ มโครงการดว้ ยแบบประเมินผลโครงการ10. การตดิ ตามผลหลังการอบรม แผนการจดั กิจกรรมและแบบรายงานผลการจดั กิจกรรมของพืน้ ที่ หลังจากไดร้ ับการอบรมไปแล้ว
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย” 4 ผลการดาเนนิ งาน1. การจัดอบรมใหก้ บั บุคลากรในสังกัดสานักงาน กศน. ทวั่ ประเทศ รวม 19 กลุ่มสานักงาน กศน.แยกเปน็ 2 รุน่ รวม 18 ครั้ง ๆ ละ 1 วนั ดังน้ี 1.1) รนุ่ ที่ 1 วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมบางกอกพาเลส เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร สานักงาน กศน. ได้จัดอบรม ตาม “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” โดยเร่ิมท่ีกลุ่มผู้บริหาร ได้แก่ ผู้อานวยการกลุ่ม/ศูนย์ ส่วนกลาง, ผู้อานวยการสานักงาน กทม./จังหวัด , ผู้อานวยการสถานศึกษาข้ึนตรง , ผู้อานวยการ กศน.เขต/กศน.อาเภอ (เฉพาะจังหวัดท่เี ปน็ ประธานกลมุ่ ) และเจ้าหนา้ ที่ผู้เกี่ยวข้องในสังกัดสานักงาน กศน. พ้ืนที่ 19 กลุ่มสานักงาน กศน. ทั่วประเทศรวม 490 คน 1.2) รุ่นท่ี 2 ระหวา่ งวนั ที่ 15 พฤษภาคม – 19 กรกฎาคม 2560 รวม 17 คร้ัง สานักงาน กศน. ได้ขยายการจัดอบรมตาม “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” เพ่ิมในรุ่นที่ โดยจัดอบรมให้กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้อานวยการ กศน.เขต/กศน.อาเภอ(สาหรับสถานศึกษาท่ียังมิได้เข้าร่วมอบรมในรุ่นท่ี 1) ครู กศน.ตาบล และเจ้าหน้าที่ผู้เก่ียวข้องในสังกัดสานักงานกศน. พ้ืนที่ 19 กล่มุ สานกั งาน กศน. ทว่ั ประเทศ รวม 8,829 คน ดังนี้ กล่มุ เปา้ หมายผ้เู ข้ารับการอบรมครัง้ ที่ วนั เดอื น ปี กล่มุ จังหวัด ผอ.สถานศกึ ษา/ครู กศน. สถานท่ี ทีอ่ บรม ตาบล/เจ้าหน้าทที่ ่ี เกี่ยวขอ้ ง รวมจานวน (คน)1 15 1. กลุ่มทา่ จนี ถ่นิ แมก่ ลอง 569 จังหวดั พฤษภาคม - สานกั งาน กศน.จงั หวัด กาญจนบุรี 2560 กาญจนบรุ ี /ราชบุรี / สุพรรณบรุ ี 2. กลุม่ สมุทรคีรี - สานักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรุ ี / ประจวบฯ /สมุทรสาคร / สมุทรสงคราม2 16 1.กล่มุ เจ้าพระยาป่าสัก 744 จงั หวัด พฤษภาคม - สานกั งาน กศน.จังหวัดลพบุรี / ปทมุ ธานี 2560 ชยั นาท / อ่างทอง / สิงหบ์ ุรี 2.กลุม่ ลุ่มนา้ เจา้ พระยา - สานกั งาน กศน.จังหวดั สระบุรี/ ปทุมธาน/ี พระนครศรีอยุธยา/ นนทบรุ ี
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตร์ชาติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 5 กลมุ่ เป้าหมายผเู้ ขา้ รับการอบรมครง้ั ท่ี วนั เดือน ปี กลุ่มจงั หวดั ผอ.สถานศึกษา/ครู กศน. สถานท่ี ทีอ่ บรม ตาบล/เจา้ หนา้ ทท่ี ี่ เก่ียวข้อง รวมจานวน (คน)3 18 1.กลุ่มสดุ ฝ่งั บูรพา 616 จังหวัด พฤษภาคม - สานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี / นครนายก 2560 จันทบรุ ี / ตราด / ระยอง 2.กลุ่มเบญจบรู พา - สานกั งาน กศน.จงั หวัด นครนายก / ปราจีนบุรี / สระแกว้ / ฉะเชิงเทรา / สมทุ รปราการ4 19 พฤษภาคม กลุม่ กรงุ เทพมหานคร 545 กรุงเทพมหานคร 2560 - สานักงาน กศน. กทม. - สานักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม5 22 กลุ่มองิ ดอย 425 จงั หวดั เชียงราย พฤษภาคม - สานักงาน กศน.จังหวดั พะเยา / 2560 นา่ น / เชยี งราย / แพร่6 24 กล่มุ หล่ายดอย 427 จังหวัด พฤษภาคม - สานกั งาน กศน.จงั หวัดเชียงใหม่ เชยี งใหม่ 2560 / ลาปาง /แม่ฮ่องสอน / ลาพูน7 29 กลุ่มหา้ ขุนศึก 775 จงั หวัด พฤษภาคม - สานักงาน กศน.จงั หวดั พิษณโุ ลก พิษณุโลก 2560 / ตาก / สโุ ขทัย / เพชรบูรณ์ / อตุ รดติ ถ์8 30 กลุม่ อู่ขา้ วอูน่ ้า 369 จังหวัด พฤษภาคม - สานักงาน กศน.จงั หวดั นครสวรรค์ 2560 นครสวรรค์ / พิจติ ร /กาแพงเพชร / อุทัยธานี9 1 มิถนุ ายน กลุ่มปราสาทหิน 432 จังหวดั 2560 - สานกั งาน กศน.จงั หวัด นครราชสีมา รนุ่ ท่ี 1 นครราชสีมา และชยั ภมู ิ10 2 มถิ นุ ายน - สานกั งาน กศน. จังหวัดสรุ นิ ทร์ 401 จงั หวัดบุรีรัมย์ 2560 และบรุ ีรมั ย์ รนุ่ ท่ี 2
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย” 6 กลมุ่ เป้าหมายผเู้ ข้ารับการอบรมครั้งที่ วัน เดอื น ปี กลุม่ จังหวัด ผอ.สถานศกึ ษา/ครู กศน. สถานที่ ทอ่ี บรม ตาบล/เจ้าหน้าท่ที ่ี เกยี่ วขอ้ ง รวมจานวน (คน)11 5 มถิ ุนายน กลุ่มภธู านี 478 จังหวัดอุดรธานี 2560 - สานักงาน กศน.จังหวดั อุดรธานี /หนองคาย / เลย /หนองบัวลาภู /บึงกาฬ12 6 มิถุนายน กลุ่มรอ้ ยแกน่ สาร 731 จงั หวัดขอนแก่น 2560 - สานักงาน กศน.จงั หวดั ขอนแกน่ / ร้อยเอด็ / มหาสารคาม / กาฬสนิ ธุ์13 12 กลุ่มสนม 327 จงั หวัดสกลนคร มิถุนายน - สานักงาน กศน.จงั หวดั สกลนคร 2560 / นครพนม / มุกดาหาร14 14 กลมุ่ สามเหลย่ี มมรกต 681 จงั หวัดอบุ ลฯ มิถุนายน - สานักงาน กศน.จงั หวัด 2560 อบุ ลราชธานี / ศรสี ะเกษ / ยโสธร /อานาจเจรญิ15 16 กลมุ่ อนั ดามนั 302 จงั หวัดภูเก็ต มถิ นุ ายน - สานักงาน กศน.จังหวัดภเู ก็ต / 2560 ระนอง / พังงา / กระบ่ี / ตรงั16 19 มถิ ุนายน กลุม่ อ่าวไทย 526 จงั หวัดสุราษฎร์ 2560 - สานักงาน กศน.จังหวัดสรุ าษฎร์ ธานี / ชมุ พร /นครศรธี รรมราช / พทั ลุง17 21 กลมุ่ ชายแดนใต้ 481 จงั หวดั สงขลา มิถนุ ายน - สานกั งาน กศน.จงั หวดั สงขลา / 2560 สตลู / ยะลา/ ปัตตานี / นราธวิ าส รวมจานวนผ้เู ข้ารบั การอบรม 8,829
“โครงการอบรมประวัติศาสตรช์ าติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย” 7 กาหนดการอบรม “โครงการอบรมประวตั ิศาสตรช์ าติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย” ของบุคลากรในสถานศึกษา และหน่วยงานสงั กัดสานักงาน กศน. ระยะเวลาการอบรม ครง้ั ละ 1 วัน ****************** เวลา เรื่อง๐๗.0๐ – ๐๘.30 น. ลงทะเบยี น08.30 – ๐๙.00 น. เสวนาการนําเขา้ สบู่ ทเรียน เรือ่ ง ประวตั ิความเป็นมาของคนชาตไิ ทย โดย นายหมวดเอกธารณา คชเสนี และ ว่าที่ร้อยตรีน้ําเพ็ชร คชเสนี สตั ยารกั ษ์09.00 – 09.45 น. พิธเี ปิดการอบรม โดย รมช. ศธ. /เลขาธกิ าร กศน./หรอื ประธานกลุ่มศนู ย์สํานกั งาน กศน.จงั หวดั09.45 – 10.00 น. พกั รับประทานอาหารวา่ ง๑๐.00 – 1๑.00 น. เสวนา เร่อื ง หลักและสิ่งที่ทาํ ให้ประเทศไทย ยังเป็นไทยอยู่จนถึงทุกวนั น้ี โดย นายหมวดเอกธารณา คชเสนี และ วา่ ที่ร้อยตรีนา้ํ เพ็ชร คชเสนี สัตยารกั ษ์11.00 – 12.00 น เสวนา เรอื่ ง ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย ความเสียสละของบรู พมหากษัตริย์ไทย ในยคุ กรงุ สุโขทยั กรงุ ศรีอยธุ ยา กรุงธนบุรี๑๒.00 – 1๓.00 น. โดย นายหมวดเอกธารณา คชเสนี และ ว่าท่รี ้อยตรีน้ําเพช็ ร คชเสนี สัตยารักษ์๑3.00 – 1๕.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน๑๕.๐๐ – 1๕.๑๕ น.๑๕.๑๕ – 1๖.45 น. เสวนา เร่อื ง ประวัติศาสตร์ชาติไทย ความเสียสละของบูรพมหากษัตรยิ ์ไทย ในยคุ กรงุ รัตนโกสินทร์ ( รชั กาลที่ 1-8 )๑6.45 – 17.00 น. โดย นายหมวดเอกธารณา คชเสนี และ วา่ ทร่ี ้อยตรีนาํ้ เพช็ ร คชเสนี สัตยารกั ษ์ พักรับประทานอาหารวา่ ง เสวนา เรื่อง พระราชกรณยี กิจ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวฯ รัชกาลท่ี 9 และการเตรยี มตัวรับมอื กบั สถานการณ์ในอนาคต เรือ่ ง พระราชกรณียกิจสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 10 มอบภารกิจ และปิดการอบรม (โดย เลขาธิการ กศน. หรือ ประธานกลมุ่ สํานักงาน กศน. หรือ ผอ.กศน.จังหวัด)
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริย์ไทย” 82. สรปุ ผลการประเมนิ ตามแบบสอบถาม รวม 18 ครัง้ ดังนี้ 2.1) ด้านความพงึ พอใจ 2.1.1) ดา้ นกระบวนการ/ขั้นตอนการใหบ้ รกิ าร (1) ความสะดวกในการลงทะเบยี น มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่สี ุด (2) การดาเนนิ งานเป็นระบบและมขี น้ั ตอน มรี ะดบั ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก (3) รปู แบบของการจัดโครงการมคี วามเหมาะสม มีระดบั ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (4) ความเหมาะสมของวันและระยะเวลาในการอบรม มีระดับความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด (5) การอานวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ มีระดบั ความพงึ พอใจอย่ใู นระดับมากทส่ี ุด 2.1.2) ด้านวทิ ยากร (1) การเตรยี มตวั และความพรอ้ มของวทิ ยากร มรี ะดบั ความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ (2) การถ่ายทอดเนือ้ หาของวิทยากร (2.1) ประวัตคิ วามเปน็ มาของคนชาติไทย มรี ะดบั ความพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั มากทสี่ ุด (2.2) หลักและส่ิงท่ีทาให้ประเทศไทยยังคงเป็นไทยอยู่จนถึงทุกวันนี้ มีระดับความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากที่สดุ (2.3) ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย ความเสียสละของบูรพากษัตริย์ไทย มีระดับความพึงพอใจอย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ (2.4) พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี 9 และบรรยายการเตรยี มตวั รับมือกบั สถานการณ์ในอนาคต มรี ะดบั ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากทสี่ ุด (2.5) พระราชกรณยี กจิ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวฯ รชั กาลท่ี 9 มีระดบัความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากที่สดุ (3) การบรรยายของวิทยากรเข้าใจง่าย มีความชัดเจน มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด (4) วิทยากรสร้างบรรยากาศทด่ี ีในการอบรม มรี ะดับความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากทส่ี ุด (5) การตอบคาถามของวทิ ยากร มีระดับความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทีส่ ุด 2.1.3) ด้านสงิ่ อานวยความสะดวก (1) ความเหมาะสม ความสะอาดเรียบร้อยของสถานท่ี มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสดุ (2) ความเหมาะสมของส่ือและอุปกรณ์ มรี ะดบั ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด (3) อาหารวา่ ง เครือ่ งดืม่ และอาหารกลางวนั มรี ะดับความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ 2.2) ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจและการนาไปใช้ 2.2.1 ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยและพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษตั ริย์ไทย มีระดบั ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากท่ีสุด
“โครงการอบรมประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย” 9 2.2.2 ความสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในจัดกิจกรรมประวัติศาสตร์ชาติไทยของสถานศึกษา มรี ะดับความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากท่ีสดุ 2.3) ด้านความสาเรจ็ ของโครงการภาพรวม มีระดบั ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สดุ 2.4 ขอ้ เสนอแนะด้านสถานท่ี 1. สถานท่ีจัดอบรมกว้างขวางเหมาะสาหรับผู้เข้ารบั การอบรมไม่มาก แต่ถา้ มผี ้เู ข้ารับการอบรมมากหอ้ งประชุมในการจัดอบรมไม่เพียงพอ อาจเกิดคบั แคบในการเข้ารบั อบรม 2. สถานทจ่ี ดั อบรมส่วนมากตั้งอยใู่ นเมือง รถตดิ เกดิ ความล้าชา้ ในการมาอบรม 3. จุดบริการน้าดม่ื ไม่เพียงพอ ควรเพิ่มจุดบริการน้าด่ืม 4. หอ้ งสุขาไมเ่ พียงพอต่อผู้เข้ารับการอบรม 5. สถานที่จดั กจิ กรรมการอบรมควรแยกเปน็ รายจงั หวัดเพื่อความสะดวกในการเดินทางของผู้เข้าอบรม 6. ระบบเครอ่ื งเสียงในห้องดงั เกินไป 7. เนอ่ื งจากกลมุ่ เปา้ หมายมีมากเกินไป ทาให้การควบคุมความเรียบรอ้ ยและการดูแลเป็นไปไดย้ าก 8. ควรแบ่งโซนในการรับประทานอาหาร เนื่องจาก ผ้เู ขา้ ร่วมอบรมจานวนมาก ต้องตอ่ แถวรับอาหารกลางวันแบบ buffet ทาให้ล่าใชไ้ มท่ นั เวลาในการอบรมชว่ งบ่ายด้านระยะเวลา ควรเพ่ิมระยะเวลาในการอบรม อย่างน้อย 2 วัน หรือปีละ 2 คร้ัง เน่ืองจากวิทยากรบรรยายเน้ือหาประวัติศาสตร์ซ่ึงเป็นเรื่องราวต่าง ๆ ในอดีตท่ีมีความน่าสนใจ บรรยายวันเดียวได้รับความรู้ได้ไม่ค่อยเต็มท่ีเท่าท่ีควร ส่งผลต่อการขยายผลการอบรมไปสู่ผู้เข้ารับการอบรมไม่ครบถ้วน เนื่องจากเนื้อหาในการอบรมค่อนข้างเยอะ ทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจได้ค่อนข้างยาก และส่งผลให้เกิดการเรียนรู้จากการอบรมไม่เต็มท่ีถา้ เพิม่ ระยะเวลาในการอบรมเพม่ิ เติมเต็ม จะได้เนอ้ื หาควรถ้วนสมบูรณก์ ว่าน้ีดา้ นกระบวนการ 1. จัดกิจกรรมไดด้ ีมาก รูปแบบการนาเสนอดี มีวีดทิ ศั น์ประกอบการบรรยาย เป็นการกระกระตุ้นให้คนไทยสนใจเรื่องราวความเป็นมาและคุณค่าของความเป็นชาติไทยมากข้ึน สร้างจิตสานึกให้ผู้เข้ารับการอบรม ควรมีเอกสารแจกและสาธิตการจัดการกระบวนการการเรียนรู้ให้กับผู้เข้ารับการอบรม เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมนาไปใชใ้ นการการอบรมและเผยแพร่ ต่อไป 2. การจัดกิจกรรมได้ดีมากทาใหผ้ ูค้ นสนใจและเข้าใจเรื่องของสถาบันพระมหากษัตริยแ์ ละประวตั ิศาสตร์ไทยไดอ้ ยา่ ถูกต้อง เป็นกระบวนการสร้างระบบความรู้ ความเข้าใจใหก้ ับครูก่อน เพื่อนาไปขยายผลใหแ้ ก่ผูเ้ รียน กศน.เยาวชน และประชาชนทั่วไป
“โครงการอบรมประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 10 3. จัดกจิ กรรมได้ดเี ปน็ การกระตุ้นให้มาสนใจเร่ืองราวความเปน็ มาและคุณค่าของความเป็นชาตไิ ทยมากข้นึไม่ลืมความเปน็ ตัวตนของชาติไทย สร้างจติ สานกึ ให้ครูไปถา่ ยทอดให้กับผเู้ รียน สอดแทรกภาคปฏบิ ตั ิในการรักชาติควรมีเอกสารประกอบการบรรยาย 4. ควรมีกิจกรรมย่อยอื่นนอกจากการบรรยายของวิทยากร อาจเป็นกิจกรรมกลุ่มที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย และควรมีการถาม-ตอบ ระหว่างผู้เข้าอบรมและวิทยากร เพือ่ เกดิ การแลกเปลี่ยน 5. เจา้ หนา้ ท่ดี าเนินงานได้อย่างเปน็ ระบบ การติดต่อประสานงานทีส่ ะดวก รวดเรว็ 6. จดั อบรมไดด้ ีมาก ควรจัดตอ่ เนอื่ งทกุ ภาคเรียน 7. ควรมีเอกสาร / CD แจกใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการอบรม เพื่อนาไปขยายผลต่อไปดา้ นวิทยากร 1. วิทยากรถา่ ยทอดความรู้ได้อยา่ งชดั เจน มคี วามซาบซ้ึงในประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทยมากยิ่งขึ้น 2. วทิ ยากรถา่ ยทอดความรู้ได้ละเอียด ทาใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรมสามารถนาความรูไ้ ปถ่ายทอดใหป้ ระชาชนในเร่ืองประวัติศาสตร์ชาติไทยและบญุ คุณของพระมหากษัตรยิ ์ไทยได้ 3. ถึงแมเ้ วลาในการอบรมน้อย แตว่ ิทยากรสามารถควบคุมเนอ้ื หาให้อยใู่ นหว้ งเวลาของการอบรมได้ดี 4. วิทยากรเกง่ มาก บรรยายดี มีความชัดเจน ใหค้ วามรูไ้ ดด้ มี าก และสร้างแรงจงู ใจได้อยา่ งดีเยยี่ ม 5. ประทับใจวิทยากรเป็นอย่างมาก ท่านเป็นผู้ให้ความรู้ ความเชี่ยวชาญฯ ด้านประวัติศาสตร์ชาติไทยได้เป็นอยา่ งดยี ิง่ 6. วิทยากรควรมีส่ือ หรือ VCD ประกอบการบรรยายแจกผู้เข้ารับการอบรมกลับไปดูต่อท่ีหน่วยงานเพือ่ ความตอ่ เน่อื งควรให้มที มี วทิ ยากรเครือข่าย เพอื่ ขยายผลสปู่ ระชาชนดา้ นการนาความรไู้ ปใช้ 1. เป็นโครงการท่ีได้รับความรู้ทางประวัติศาสตร์ชาติไทยดีมาก สามารถนาไปขยายผลกับกลุ่มผู้เรียนได้เพราะเราเป็นคนไทย ภูมิใจที่เกิดเป็นไทย และควรบรรจุไห้มีวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยในหลักสูตรของไทยและควรเนน้ การขยายผลไปถึงระดับตาบลหมู่บ้าน ชุมชน ครอบครวั ตอ่ ไป 2. เป็นโครงการท่ีดีมาก เพราะทาใหค้ นไทยต้องรักชาติ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปต่อยอด สร้างครู กศน. ในสาขาประวัติศาสตร์ และขอสนับสนุนให้ สานักงาน กศน. บรรจุวิชาประวัติศาสตร์ไทยเป็นวิชาบงั คับในหลักสตู รด้วย 3. เป็นโครงการท่ีได้รับความรู้ทางประวัติศาสตร์ชาติไทยได้ดีมาก สามารถนาไปขยายผลกับกลุ่มผู้เรียนเพราะเราเป็นคนไทย ภูมิใจท่ีเกิดเป็นคนไทย และควรบรรจุไห้มีวิชาประวัติศาสตร์ไทยบรรจุ อยู่ในหลักสูตรของไทย (แบบถกู ต้อง) เพราะปลกู ฝังใหเ้ ด็กถึงจะดี
“โครงการอบรมประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 11ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ 1. เป็นโครงการทดี่ ีควรใหบ้ ุคคลทุกคนเขา้ รับการอบรม ควรมีการจดั ทาแอปพลเิ คช่ันสาหรับทบทวนเน้ือหาเพื่อนามาบรู ณาการสอนผเู้ รยี น ควรมีแหล่งเรียนรู้ใหส้ ามารถค้นหาข้อมลู ได้ 2. เปน็ โครงการที่ดีเปน็ ประโยชน์ตอ่ ครใู นการถ่ายทอดความรใู้ หก้ ับนกั ศกึ ษา กศน. 3. ต้องการให้จัดโครงการท่ีดี ๆ แบบนี้ให้กับผู้เรียนของแต่ละสถานศึกษา เน่ืองจากวิทยากรมคี วามเช่ียวชาญเป็นอยา่ งสงู 4. จัดใหม้ ีการศึกษาดูงานประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย นอกสถานท่ีเพ่ือเพ่ิมความรยู้ ง่ิ ๆ ข้นึ ไป 5. อยากให้นาเน้ือหาลงในเวบ็ ไซต์เพือ่ ให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถโหลดและนาไปเผยแพรต่ อ่ ได้ 6. อยากให้มีคู่มือการเขา้ รับการอบรมแจกให้ครูเพ่ือเป็นแนวทางในการนาความรู้ไปเผยแพรต่ ่อไป 7. ควรมีการใช้เทคโนโลยีในการอบรม หรือการมีเอกสารประกอบการบรรยายที่ผู้เข้าอบรมจะสามารถตามเน้ือเร่ืองที่จะบรรยายได้ทัน เนื่องจากต้องนาความรู้ท่ีได้จากการอบรมไปปรับใช้เป็นโครงการสู่พื้นที่ของตนเอง 8. โครงการควรจัดให้ทุกคนเข้ารับการรอบรม ควรเชิญวิทยากรท่านอ่ืนมาบรรยายบ้าง เช่น ศาสตราจารย์ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ นักประวัติศาสตร์ชาติไทย ขาดสื่อการเรียนการสอน แนวทางการนาไปถ่ายทอด/วิธีการ/เทคนิคอืน่ ๆ และควรสาเนา CD ทบี่ รรยายแจกกับครู กศน. เพ่อื นาไปสอนใหก้ บั นักศึกษา กศน. ตอ่ ไป3. การจัดงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการประวัติศาสตร์ “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” ในวันท่ี 27 กรกฎาคม 2560 ณ หอประชุมรักตะกนิษฐ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต กรุงเทพมหานคร 1) วัตถุประสงคข์ องการจดั งาน เนื่องด้วยการดาเนินการจัด “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย”โดยดาเนินการจัดอบรมให้กับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้อานวยการกลุ่ม/ศูนย์ ส่วนกลาง ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ผู้อานวยกานสถานศึกษาขึ้นตรงผู้อานวยการ กศน./เขต ครู กศน.ตาบล และเจ้าหน้าท่ีผู้เกี่ยวข้องโดยกาหนดการอบรมทั้งหมดรวม 18 คร้ัง ในพ้ืนท่ีกลุ่มโซน 19 กลุ่ม รวม 77 จังหวัด จานวน 9,319 คน ได้เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว สานักงาน กศน. จึงได้กาหนดจัดงานแสดงสรุปผลการดาเนินงาน “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” ขึ้น เพ่ือเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู กศน. ตําบล หลังจากการอบรม“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” ท่ีได้รับความรู้และนําไปขยายผลได้ประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกําลังใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงานสํานักงาน กศน. โดยมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (พลเอก สรุ เชษฐ์ ชัยวงศ)์ เปน็ ประธานเปิดงานดังกล่าว ในวันท่ี 27 กรกฎาคม 2560ณ หอประชมุ รกั ตะกนิษฐ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย” 12 2) กลุ่มเป้าหมายผเู้ ข้าร่วมงาน รวม 690 คน (1) ผอู้ านวยการกลมุ่ /ศูนย์ สว่ นกลาง (2) ผูอ้ านวยการสานักงาน กทม./จงั หวดั และผ้เู กย่ี วขอ้ ง จงั หวดั ละ 5 คน (3) ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาขนึ้ ตรง (4) หน่วยงานภาคีเครือขา่ ย (5) เจา้ หน้าท่ีผ้เู ก่ยี วข้อง 3) รูปแบบการดาเนนิ งาน (1) การนาเสนอสรุปผลการดาเนินงาน โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษตั รยิ ์ไทย ดว้ ยส่อื วีดทิ ศั น์ จากผแู้ ทนกลุ่มสานกั งาน กศน. ในพ้นื ท่ี 5 ภาค (2) มอบโลข่ อบคณุ หนว่ ยงานทีร่ ่วมจดั กิจกรรมการอบรม รวม 19 กลุ่ม (3) การจัดชุดการแสดงท่ีเกี่ยวเนื่องด้วยประวัติศาสตร์ ความรักชาติ และความเป็นไทยจากหนว่ ยงานสานกั งาน กศน.จังหวัดประธานกลุม่ รวม 5 ภาค และสานกั งาน กศน. กทม.
“โครงการอบรมประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทย” 13 กาหนดการจัดงานแสดงสรุปผลการดาเนนิ งาน“โครงการอบรมประวัตศิ าสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” ในวนั ท่ี 27 กรกฎาคม 2560 ณ หอประชุมรกั ตะกนษิ ฐ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร ***************** เวลา รายการ07.00 – 08.30 น. - ลงทะเบียนผู้เขา้ ร่วมงาน08.30 – 09.00 น. - ประธานในพธิ ีเดินทางถงึ หอประชมุ รกั ตะกนิษฐ มหาวิทยาลยั สวนดุสิต09.00 – 10.00 น. - พธิ ีกลา่ วตอ้ นรับ - ประธานรบั ชมวดี ที ศั น์สรุปผลการดาเนินงาน โครงการอบรมประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย10.00 - 15.00 น. และบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย รับชมการแสดงชุด “อัศจรรย์ สวุ รรณภมู ิ” โดยผ้แู สดงจาก กศน.เขตบางนา สานกั งาน กศน. กทม. - เรยี นเชญิ ประธานขึน้ ทาพิธีจุดเทียนธปู บูชาพระรัตนตรัย - ประธานทาพิธถี วายเคร่ืองสักการะ สมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพวรางกูร กล่าวคาอาศีรวาท ถวายพระพร เปดิ เพลงสรรเสรญิ พระบารมี - เลขาธกิ าร กศน. กลา่ วรายงานวตั ถุประสงค์ของจัดงานสรุปผลการดาเนนิ งาน “โครงการอบรมประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย” - ประธานมอบโลข่ อบคณุ หน่วยงานทีร่ ว่ มจดั กจิ กรรมการอบรม 19 กลุ่มศูนย์ ประธานกลา่ วเปดิ งานให้โอวาทแกผ่ ูเ้ ขา้ รว่ มงาน และเปดิ ตวั โครงการการจัดงาน เฉลมิ พระเกียรตฯิ รัชกาลท่ี 10 ณ จุดบริจาคโลหติ ด้านหนา้ หอประชมุ และเยีย่ มชมนิทรรศการ การนาเสนอผลการดาเนินงานและการแสดงจากผแู้ ทนของแตล่ ะภาค 1. วดี ีทัศน์สรุปผลการดาเนนิ งานของ สานักงาน กศน. กทม. การแสดงชดุ “เวียงพงิ ค์” โดยผ้แู สดงจาก สานักงาน กศน. กทม. 2. วีดีทศั น์สรปุ ผลการดาเนินงานของ สานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาคเหนือ การแสดงชดุ “จดุ กาเนินประเทศไทย อาณาจักร รุ่งอรุณแห่ง ความสุข” 3. วีดที ศั น์สรปุ ผลการดาเนินงานของ สานักงาน กศน. จังหวดั ในเขตภาคกลาง การแสดงชุด “วรี ชน บ้านบางระจัน” การแสดงชดุ “คตี แห่งราชัน” โดยผ้แู สดงจาก สานกั งาน กศน. กทม. 4. วดี ที ัศน์สรปุ ผลการดาเนินงานของ สานักงาน กศน. จังหวัดในเขต ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ การแสดงชดุ “สดุดวี ีรกรรม ท้าวสุรนารี” การแสดงชุด “คตี แห่งราชัน” โดยผ้แู สดงจาก สานักงาน กศน. กทม.
“โครงการอบรมประวัติศาสตรช์ าติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย” 14 เวลา กาหนดการ (ตอ่ )10.00 – 15.00 น. รายการ 5. วีดที ัศนส์ รุปผลการดาเนินงานของ สานักงาน กศน. จังหวัดในเขตภาคตะวนั ออก การแสดงชุด “มหาวรี กรรมกชู้ าติ” การแสดงชุด “จินตลีลาเพลงพ่อ ” โดยผแู้ สดงจาก สานักงาน กศน. กทม. 6. วีดีทศั น์สรุปผลการดาเนนิ งานของ สานักงาน กศน. จังหวดั ในเขตภาคใต้ การแสดงชดุ “ละครเวทีอิงประวัติศาสตร์ราลึกบุญคณุ พระมหากษัตรยิ ไ์ ทย ตอน สีน้าสามรส” การแสดงชุด “กศน. รวมจิตรมติ รรวมใจ” โดยผู้แสดงจาก สานกั งาน กศน. กทม. - เลขาธิการ กศน. มอบเกยี รตบิ ตั รแกผ่ ู้แทนชุดการแสดงทั้ง 5 ภาค - พิธีปดิ โดยเลขาธกิ าร กศน.
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั ริย์ไทย” 15 นโยบาย เลขาธกิ าร กศน. นายกฤตชัย อรุณรัตน์ เลขาธิการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(สานักงาน กศน.) กล่าวว่า สานักงาน กศน. ได้ดาเนินการใน 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เรื่องการท่องสูตรคูณซึ่งได้ดาเนินการไปตามระบบ และส่วนท่ี 2 เร่ืองประวัติศาสตร์ชาติไทย ก็ได้มีการดาเนินการใน “โครงการอบรมประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย และบญุ คุณของพระมหากษัตรยิ ์ไทย” โดยกลมุ่ ส่งเสริมปฏบิ ตั กิ าร รว่ มกับ สานักงาน กศน.จังหวัด และประธานกลุ่ม รวม 19 กลุ่ม จัดการอบรม โดยได้รับความอนุเคราะห์วิทยากรจาก กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) เป็นผู้ให้ความรู้เร่ืองประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษตั ริย์ไทย มีวัตถุประสงค์เพอื่ 1. เพื่อสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ต้องการเน้นเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทย ท่ีมีการบรู ณาการใหท้ ันสมัย และมคี วามชดั เจน 2. เพื่อตอบสนองพระราชดาริ พระราชปณิธานของพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 10 ด้วยน้าพระราชหฤทัยที่ทรงรกั และหว่ งใยพสกนกิ ร อยากใหร้ ับร้แู ละเข้าใจถึงเรอ่ื งประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย 3. สานักงาน กศน. กับกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ซึ่งเป็นหน่วยงานภาคเี ครือข่าย รว่ มมือในการดาเนินงานให้ความรู้เรอ่ื งประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตริย์ไทยด้านกระบวนการในการรบั รูเ้ ร่อื งประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยนนั้ มี 3 ประการหลักด้วยกัน ไดแ้ ก่ 1. การบอกผา่ นสถานที่ สถานทตี่ า่ ง ๆ ล้วนมีเรื่องราวของประวัติศาสตร์ เช่น ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้มีโบราณสถานและโบราณวัตถุไดศ้ กึ ษาถึงประวัตศิ าสตร์ 2. การบอกผา่ นเรอื่ งราวของประวัตศิ าสตร์ในเชิงวัฒนธรรมและจริยธรรม ในสมัย ๆ หนึ่ง ซ่ึงอาจบ่งบอกในส่วนของอาหาร การแต่งกาย และประเพณวี ฒั นธรรม 3. การรับฟังโดยการร้อยเรียงเช่ือมโยงระยะเวลาของประวัติศาสตร์ โดยได้ความอนุเคราะห์วิทยากรมาบอกกลา่ วเชือ่ มโยงวา่ ในประวตั ิศาสตรท์ ี่ผ่านมา เราควรได้รู้เร่อื งราวและเกดิ ความเขา้ ใจ เปน็ การเน้นยา้ วา่บรรพบุรษุ เราทผ่ี า่ น ทา่ นไดท้ รงเสียสละอะไรไวอ้ ยา่ งมากมายด้านนโยบายถึงผู้อานวยการและครู 1. ภารกิจของผู้บริหาร เม่ือได้รับรู้ในส่วนของเน้ือหาสาระแล้ว ให้วางแผน กาหนดให้เป็นเชิงนโยบายในสถานศกึ ษา ในการจัดกระบวนการเรยี นการสอน ในสว่ นของประวัตศิ าสตร์ใหก้ ับผู้เรยี น 2. ส่วนของครู มีบทบาทภารกิจในการวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอน ให้สอดแทรกในเรื่องกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ท่ีสามารถดาเนินการส่วนในเร่ืองประวัติศาสตร์ได้อย่างเป็นกระบวนการ และชัดเจนโดยท่านเลขาธิการ สานักงาน กศน. ไม่ต้องการท่ีจะให้ครูลงลึกหรือเก่งในส่วนของวิชาหลักเฉพาะทาง เช่นคณิตศาสตร์อย่างเดียว วิทยาศาสตร์อย่างเดียว แต่ต้องการให้ครู กศน. มีกระบวนการท่ีจะถ่ายทอด มีกระบวนในการจัดสภาพแวดล้อมในการเอื้อต่อการเรียนการสอน มีกระบวนที่จะให้คาแนะนา และอานวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียนในส่วนท่ีเป็นวิชาหลักเราอาจจะมีการจัดการเรียนเพิ่มเติมได้ น้ีเป็นสิ่งที่คาดหวังในการจัดการเรียนการสอน
“โครงการอบรมประวัตศิ าสตรช์ าติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย” 16 ภาคผนวก- โครงการอบรมประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย- แบบประเมนิ “โครงการอบรมประวัตศิ าสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตรยิ ์ไทย”- หนงั สอื คาสัง่ “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย”- เอกสารประกอบการอบรม โครงการอบรมประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย และบุญคุณของพระมหากษตั ริย์ไทย- ภาพกจิ กรรมการอบรม “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษตั ริย์ไทย”- ขา่ ว “โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคณุ พระมหากษัตริย์ไทย”- คณะผู้จัดทา
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตร์ชาติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทย” 17โครงการอบรมประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย และบุญคุณของพระมหากษตั ริย์ไทย
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 18
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 19
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 20
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 21
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 22
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 23
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย” 24แบบประเมนิ “โครงการอบรมประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริย์ไทย”
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 25
“โครงการอบรมประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย” 26หนังสือคาสั่ง “โครงการอบรมประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย และบุญคุณของพระมหากษัตริยไ์ ทย”
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 27
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 28
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 29
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 30
“โครงการอบรมประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย” 31 เอกสารประกอบการอบรม “โครงการอบรมประวัตศิ าสตร์ชาติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั ริย์ไทย” เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๙ พลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุก องคมนตรี ในขณะท่ีดํารงตําแหน่งผู้บญั ชาการทหารอากาศ ไดจ้ ัดตง้ั โครงการเสรมิ สรา้ งอุดมการณ์รักชาติ ศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์โดยมเี จตนารมณ์ทแี่ นว่ แน่เก่ยี วกบั ประเทศชาติและสถาบนั กษัตริย์ ว่า ประเทศไทยอยูด่ ํารงอย่เู ปน็ ชาติได้ทุกวันนี้ เพราะคนไทยทุกคน มีความรัก ความผูกพันตาอชาติอยใู่ นสายเลือด นบั ตงั้ แตพ่ ระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ในประวัติศาสตร์ท่ีผ่านจนถึงพระราชวงศ์จักรีในปัจจุบันตลอดจนบรรพบุรุษไทยทุกคน แม้กระท่ังสตรี ก็มีความกล้าหาญ เด็ดเดี่ยวรักชาติยอมพลีชีวิต เพื่อปกปูองรักษาแผ่นดินไว้ จึงทําให้ชาติไทยได้ช่ือว่า ไม่เคยเป็นเมืองข้ึนของใคร มาก่อน ซ่ึงชาวไทยทุกคนควรจะต้องตระหนักและยึดถือเป็นแบบอย่างด้วยการมีความรักชาติ มีความสามัคคี รวมใจให้เป็นหน่ึงเดียว มีความภาคภูมิใจในประวัตศิ าสตร์ชาติไทยทีบ่ รรพบุราได้ยอมเสียสละแต่ละยุคแต่ละสมัย เพ่ือให้ประเทสอยู่รอด มีความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีความรู้รักสามัคคี คํานึงผลประโยชน์ของชาติท่ีเป็นท่ีตั้งและหวงแหนแผ่นดินเกิดและพร้อมที่จะปกปูองแผ่นดินนี้ด้วยชีวิต เพื่อรักษาไว้เป็นมรดกแก่ลูกหลานได้อยู่อาศัยอย่างร่มเย็นเป็นสุขและดํารงไว้ซ่ึงความเป็นเอกราช และอธิปไตยของชาติ โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศตลอดไป โดยมอบหมายให้กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ เป็นหน่วยงานนําร่องบรรยายวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทยแก่หน่วยงานภายในของกองทัพอากาศ อาทิเช่น กองบิน๑,๔,๒๑,๕,๗, และ ๒๓ รวมทัง้ โรงเรียนนายทหารอากาศชนั้ อาวโุ สและโรงเรยี นนายทหารชนั้ ผบู้ ังคับฝงู ต่อมาได้ขยายการบรรยายไปยังหน่วยราชการ ทบวง กรม กระทรวงต่างๆ รวมท้ังชุมชนโรงเรียน มหาวิทยาลัย มหาวทิ ยาลนั สงฆ์ และองค์กรธรุ กจิ ภาคเอกชนท่วั ประเทศ ตอ่ มาในปี ๒๕๕๓ ศูนยป์ ระสานงานโครงการพัฒนาตามพระราชดําริ ได้เล็งเห็นความสําคัญของโครงการดังกล่าว จึงขอความร่วมมือจากพลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุก องคมนตรี ให้เป็นที่ปรึกษาเพื่อขยายโครงการดังกล่าว ต่อยอดไปยังสถานศกึ ษาในความดูแลของศูนยป์ ระสานงานโครงการพฒั นาตามพระราชดําริ จากการดําเนินงานโครงการดังกล่าวตลอดระยะเวลา ๘ ปี จนถึงปัจจุบัน โครงการเสริมสร้างอมุ ดการณร์ กั ชาติ ศาสนา และเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ไดป้ ระสบผลสําเรจ็ อย่างดียิ่ง
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตรช์ าติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย” 32 ประวัตวิ ทิ ยากร นายกองตรี ธารณา คชเสนี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ขณะท่ีศึกษาอยู่เม่ือปี พ.ศ.๒๕๑๖ ณ โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เข้ารับฟังพระราชดํารัสในเรื่องประวตั ิศาสตร์ของชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย และพระองค์จัดให้แสดงละครประวัติศาสตร์ เช่นสมเด็จพระนเรศวรตอนตีเขมร,พระราชมนู ต่อมาได้ทําหน้าท่ีเป็นนักวิทยากรบรรยายในเรื่อง “ประวัติศาสตร์ของไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” ให้กับนักเรียน นักศึกษา นักศึกษาวิชาทหาร พลทหาร ข้าราชการประชาชนทั่วๆ ไป ต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ จนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๑๙ ร่วมปฏิบัติภารกิจชายแดนพิเศษงานความม่ันคงกับ พันเอกพเิ ศษ จรวย นมิ่ ดิษฐ์ชื่อบดิ า : นายกองตรี สวัสดิ์ คชเสนีชอื่ มารดา : หม่อมหลวง สายหยดุ คชเสนี (เกษมสนั ต์)ประวัติการทํางาน : อดตี ผูพ้ พิ ากษาสมทบศาลจงั หวัดบรุ ีรมั ย์ แผนกคดเี ยาวชนและครอบครวั : เปน็ วิทยากรพิเศษของศูนย์ประสานการปฏบิ ตั ิท่ี ๑ กองอํานวยการรักษาความมัน่ คง ภายในราชอาณาจักร : เป็นอาจารย์กิตตมิ ศกั ดิ์ของกองทัพอากาศ : อาจารยก์ ิตติมศักดิ์ของกองบนิ ๕ : ปี 2518 – ปจั จบุ นั เป็นวทิ ยากรบรรยาย เรอื่ ง “ประวตั ิศาสตร์ชาติไทย และ บญุ คุณของพระมหากษตั ริย์ไทย” ให้กับหนว่ ยงานตา่ งๆ ดงั น้ี กองทัพบก กองทัพอากาศ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุตธิ รรม กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงแรงงาน สํานักราชเลขาธิการ มูลนิธริ ่วมจิตนอ้ มเกลา้ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ โครงการรอ้ ยใจไทย วิทยาลยั อาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิค และ มหาวิทยาลยั ต่างๆ ท้ังของรฐั และเอกชน *****************************
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตร์ชาติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย” 33ประวัติการทาํ งาน ว่าท่รี อ้ ยตรนี ้าเพช็ ร คชเสนี สตั ยารักษ์ :อาจารยก์ ติ ติมศกั ด์ิของกองบิน๕ :วิทยากรพิเศษศนู ยป์ ระสานการปฏบิ ัตทิ ่ี ๑ กองอาํ นวยการรักษาความมนั่ คงภายใน ราชอาณาจักร :วทิ ยากรของกองทัพภาคที่ ๒ และ กองอาํ นวยการรักษาความมั่นคงภายใน ภาค ๒ :รองผูต้ รวจการลูกเสอื สํานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ :ต้งั แต่ พ ศ.2551.ทาํ หน้าท่เี ปน็ วิทยากรบรรยายในหวั ข้อ “ประวัตศิ าสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษตั รยิ ์ไทย” ถงึ ปจั จุบัน ******************************
“โครงการอบรมประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย” 34 พระราชดารสั “ไทยเรารักษาเอกราชและผืนแผ่นดินให้มั่นคงเป็นปึกแผ่นมาได้ ก็เพราะเราทุกคนมีความสํานึกตระหนักในความเป็นไทย และหน้าท่ี ท่ีจะธํารงรักษาชาติ ประเทศไว้ให้เป็นอิสระ มั่นคง ตามประวัติการณ์ทีส่ ถานการณบ์ า้ นเมอื งเราในทุกวนั น้ี เป็นท่ีทราบแก่ใจของเราทุกคนท่ีสุดแล้วว่า ไม่น่าไว้วางใจ พูดได้ว่า หากคนไทยขาดความสาํ นกึ ในชาติ ขาดความสามัคคี ก็อาจจะประสบเคราะห์กรรมท้ังชาติ จึงขอให้ทหารทุกคน และชาวไทยทุกคน ทุกหมู่ ทุกเหล่าได้พิจารณาตัดสินใจว่า ประเทศชาติของเรานั้น สําคัญควรท่ีจะรักษาไว้ให้ยั่งยืนต่อไปหรือไม่ ถ้าเห็นว่าสําคัญมั่นใจก็ให้สังวร ระวังกายใจ ให้ตั้งม่ันอยู่ในสัตย์สุจริต พยามลดอคติลง และสร้างเสริมความเมตตา สามคั คีในกันและกัน ไมว่ า่ จะทําการสิง่ ใดให้ยดึ เอาความมนั่ คงปลอดภยั ของชาติ เปน็ ท่ีหมายสูงสดุ ” พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนอ่ื งในพิธถี วายสัตย์ปฏิภาณตนและสวนสนามของเหล่าทหารรกั ษาพระองค์ ประจาปี ๒๕๕๐ วนั ที่ ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๐ “เราจะพูดถึงความย่ิงใหญ่ของประเทศไทย ท่ีประเทศไทยบรรพบุรุษของเราเสียสละชีวิตเพ่ือปกปูองปกผืนแผ่นดินมาด้วยเลือดเนื้อ ด้วยชีวิตแต่เสียดายตอนท่ีท่านนายกฯ เขาไม่ให้เรียนประวัติศาสตร์แลว้ นะ ฉันกไ็ ม่เข้าใจ เพราะตอนทีฉ่ นั อยู่ เรียนอยทู่ ี่สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ก็แสนไม่มีประวัติศาสตร์อะไรเท่าไหร่ แต่เราก็ต้องเรียนประวัติศาสตร์ของสวิส แต่เมืองไทยน่ี โอ้โฮ บรรพบุรุษเลือดทาแผ่นดินกว่าจะมาถึงท่ีให้พวกเราอยู่ น่ังอยู่กันสบายมีประเทศชาติเนี่ย เรากลับไม่ให้เรียนประวัติศาสตร์ไม่รู้ว่าใครมาจากไหน เอ๊ะเปน็ ความคดิ ท่ีแปลกประหลาด (ทรงพระสรวล) อยา่ งท่อี เมริกา ถามไปเขาก็สอนประวัติศาสตร์ บ้านเมืองของเขาทไี่ หนประเทศไหนเขาก็สอนกัน แต่ประเทศไทยไม่มี ไม่ทราบว่าแผ่นดินนี้มันรอดมาอยู่จนบัดนี้เพราะใคร หรือว่ายังไงกัน โอ้โฮ อันน่ีน่าตกใจ แต่ชาวต่างประเทศยังไม่ค่อยทราบว่านักเรียนไทยน่ีไม่มีการสอนประวัติศาสตร์ชาตเิ ลย” พระราชดารัสสมเดจ็ พระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ นี าถ พระราชทานแกค่ ณะบุคคลต่างๆที่เข้าเฝา้ ฯถวายชัยมงคล ในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลัย พระตาหนักจิตรดารโหฐาน พระราชวังดสุ ติ วนั เสาร์ที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ ประวัตคิ วามเป็นมาของชนชาตไิ ทย การศึกษาเรือ่ งถ่นิ กําเนิดของชนชาติไทย ได้เร่ิมขึ้นเม่ือประมาณ 100 ปีเศษมาแล้ว โดยนักวิชาการชาวตะวันตก ต่อมาได้มีนักวิชาการสาขาต่างๆ ท้ังคนไทยและชาวต่างประเทศได้ศึกษาค้นคว้าต่อมาเป็นลําดับจนถึงปัจจุบนั การศกึ ษาค้นคว้าไดอ้ าศัยหลักฐานต่างๆ เช่น โครงกระดูกมนุษย์ เครื่องมือเคร่ืองใช้ เอกสารโบราณจีน หลักฐานทางภาษาและวัฒนธรรมท้องถิ่น ผลจากการค้นคว้าปรากฏว่านักวิชาการและผู้สนใจเรื่องถิ่นกําเนิดของชนชาติไทยต่างเสนอแนวคิดไว้หลายอย่าง แต่ยังไม่มีแนวคิดใดเป็นที่ยอมรับกันในปัจจุบัน ในระยะแรกๆนักวิชาการส่วนใหญ่เช่ือว่าถิ่นกําเนิดของชนชาติไทยอยู่ในดินแดนประเทศจีน ต่อมาได้อพยพย้ายถิ่นกระจายออกไป และไดเ้ สนอแนวความคิดเก่ยี วกับถิ่นกาํ เนดิ ของชนชาติไทย ดงั น้ี
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 35แนวคิดที่ 1 เชอ่ื ว่าถ่ินกาเนิดของชนชาตไิ ทยอย่ทู างตอนเหนอื ของประเทศจนี แถบเทือกเขาอัลไตแนวคิด ผเู้ สนอแนวคดิ ถิน่ ฐานเดมิ และการอพยพ หลกั ฐานทใี่ ช้ใน การศึกษาถิ่นกาํ เนิดของชน 1. ดร.วลิ เลียม เชือ่ กนั วา่ พวกมงุ เป็นบรรพบุรุษของไทยมีชาติไทยอยู่ทาง คลิฟตนั ดอดด์ : เชอื้ สายมองโกล เปน็ ชาตทิ เ่ี กา่ แกกวา่ ไดเ้ ขียนหนังสือชื่อตอนเหนือของ Dr.william Clifton Dodd ชาวฮีบรู และจีน เปน็ เจ้าของถิ่นเดิม ว่า The Thaiประเทศจีน มชิ ชนั นารี ชาวอเมรกิ นั ได้ ของจนี มาก่อนตัง้ แตป่ ระมาณปี Race-The Elderบริเวณเทือกเขา เขา้ มายงั เมืองไทยในสมัย ที่ 1657 ก่อนพุทธศักราช ต่อมาได้ Brother of theอัลไต พระบาทสมเดจ็ พระ อพยพจากบริเวณเทือกเขาอัลไต มายัง Chinese ด้านตะวนั ตกของจีน แล้วถอยรน่ ลง หลวงแพทย์ จุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวแล้ว มายงั บริเวณตอนกลางของจีนมาสตู่ อนใต้ นติ ิสรรค์ แปลง ได้เดนิ ทางไปยงั ประเทศจีน ของจนี จนในทีส่ ดุ ได้มีคนไทยอพยพสู่ เปน็ ไทยใหช้ ื่อวา่ คาบสมทุ รอนิ โดจีน “ชนชาติไทย” 2. ขุนวจิ ิตรมาตรา ถนิ่ เดิมของชนชาติไทยอย่บู ริเวณ ไดเ้ ขยี นหนังสือ เทอื กเขาอลั ไต ไดอ้ พยพลงมาต้งั อาณาจกั ร ชอ่ื นครลุงเปน็ ครง้ั แรก ต่อมาถกู พวกตาด “หลกั ไทย” มองโกล ยึดครองจงึ อพยพมาอยูท่ าง ตะวันออกเฉยี งใตข้ องมณฑลเสฉวน ตัง้ อาณาจักรใหม่ ชอื่ ว่า “ปา” คนไทย เรียกว่า “อา้ ยลาว” หรอื “มุง” ต่อมา นครปาเสยี แกจ่ ีน จงึ มาต้ังนครเงี้ยว ท่ลี ุม่ แมน่ ํา้ แองซี ถูกจนี รุนหลายครั้ง ในทส่ี ดุ ชนชาตไิ ทยได้อพยพมาตง้ั ถ่นิ ฐานใน ดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ 2
“โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทย” 36ขอ้ สรปุ ของแนวคดิ ที่ 1 แนวคิดที่ 1 ไมเ่ ปน็ ทีย่ อมรับของนักประวตั ิศาสตร์ ในปัจจุบันเน่ืองจากมีอุปสรรคในการเดินทางไปตั้งถิ่นฐานของคนไทย และไม่น่าจะอยู่ไกลถึงเทือกเขาอัลไต ที่มีอากาศหนาวเย็นมาก นอกจากน้ันการเดินทางลงมาทางใตต้ อ้ งผา่ นทะเลทรายโกบี อันกว้างใหญไ่ พศาล แนวคดิ ผู้เสนอแนวคดิ ถน่ิ ฐานเดมิ และการอพยพ หลักฐานท่ีใช้ในการศกึ ษานกําเนิดของชน 1.แตร์รีออง เด ลา คนเชอื้ ชาตไิ ทยเดมิ ตงั้ ถ่ินฐานเปน็ ได้ศึกษาค้นคว้าเกีย่ วกับชาตไิ ทยอยู่ คเู ปอรี : Terrien de อาณาจักรโบราณบรเิ วณตอนกลาง ชนชาติไทย โดยอาศยับรเิ วณ la Couperie ชาวฝรง่ั ของจีนแถบมณฑลเสฉวนประมาณปี หลกั ฐานบนั ทึกของจนีตอนกลางของ เป็นศาสตรท์ างภาค ที่ 1765 ก่อนพทุ ธศักราช จีนเรยี ก และเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงประเทศบรเิ วณ ศาสตรแ์ ห่ง ชนชาติไทยวา่ “มงุ ” หรอื “ต้ามุง” ใต้ ไดเ้ สนอแนวคดิ ไวใ้ นมณฑลเสฉวน มหาวิทยาลัย งานเขยี น 2 ชนิ้ คอื ลอนดอน ประเทศ 1. The Cradle of The อังกฤษ Siam Race 2. The Languages of China Before The Chinese
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตรช์ าติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั ริย์ไทย” 37แนวคดิ ท่ี 2 เช่อื ว่าถิ่นกาเนิดของชนชาติไทยอยูท่ างตอนเหนอื ของประเทศจนี บรเิ วณมณฑลเสฉวนแนวคิด ผู้เสนอแนวคิด ถิน่ ฐานเดิมและการอพยพ หลกั ฐานทใี่ ช้ใน การศกึ ษา 2. สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์ ชนชาติไทย แต่เดมิ ตง้ั บ้านเร่ืองอยู่ ไดท้ รงแสดงแนว เธอ กรม-พระยา ดาํ รงรา ระหว่างประเทศทิเบตกบั จีนประมาณปี ทรรศนะไว้ในพระ ชานุภาพ พ.ศ.500 ถูกจนี รนุ ราน จึงอพยพถอย นพิ นธ์ ชอ่ื “แสดง ร่นมาทางตอนใต้ของจนี และแยกย้าย บรรยายพงศาวดาร เขา้ ไปทางทิศตะวันตกของยูนนาน สยามและลกั ษณะ ไดแ้ ก่ สิบสองจุไทย ลา้ นนา ลา้ นช้าง การปกครองประเทศ อยูท่ างตอนกลางของยนู นาน สยามแตโ่ บราณ2 3. หลวงวจิ ติ รวาท-การ คนไทยเคยอยู่ในดนิ แดนซึ่งเป็นมณฑล ได้เรยี บเรยี งหนงั สือ เสฉวน หูเปยุ ์ อานฮยุ และเจียงซี ใน ชื่อวา่ “งานคน้ ควา้ ตอนกลางของประเทศจีนแล้วไดอ้ พยพ เรื่องชนชาตไิ ทย” มาส่มู ณฑลยนู านและแหลมอินโดจีน 4. พระบรหิ ารเทพ-ธานี ถนิ่ เดมิ ของชนชาตไิ ทยอยู่บริเวณตอนกลาง ได้เสนอแนวคิดไวใ้ น ของประเทศจีน แลว้ ถอนรน่ มายงั บริเวณ ผลงาน “พงศาวดารไทย” มณฑลยูนาน และลงมาทางเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ขอ้ สรปุ ของแนวคดิ ที่ 2 ระยะต่อมามีนกั วิชาการได้ศึกษาค้นควา้ อยา่ งจริงจัง เกยี่ วกับวัฒนธรรมทางภาษาลักษณะเผา่ พันธุ์ จากหลักฐานประเภทจดหมายเหตุจนี กลา่ วถงึ ผู้คนที่อาศยั อยู่ในบริเวณดงั กล่าวไมน่ ่าจะมคี วามเกี่ยวขอ้ งกับคนไทยท่ีอาศยั อยูใ่ นปจั จบุ ันมากนัก ดังน้นั แนวคิดนี้จึงไม่เปน็ ที่ยอมรับของนักวชิ าการ แผนทีแ่ สดงแนวคิดถ่นิ กาํ เนิดของชนชาติไทยอยู่ในบริเวณตอนกลางของจีน ท่มี าภาพ นางพรี ทิพย์ สุคันธเมศวร์
“โครงการอบรมประวัตศิ าสตรช์ าติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย” 38แนวคดิ ที่ 3 เชือ่ ว่าถ่นิ กาเนิดของชนชาตไิ ทยอยูท่ างตอนเหนือของประเทศจนี บริเวณมณฑลเสฉวน แนวคิด ผเู้ สนอแนวคิด ถ่ินฐานเดมิ และการอพยพ หลกั ฐานท่ใี ช้ในการศกึ ษา ไดเ้ สนอแนวคิดในบทความถ่ินกาํ เนดิ ของชน 1. อารช์ ิบัลด์ รอสส์ พบกลุ่มชนชาติไทยอาศยั อยู่ เร่ือง Across Chryseชาตไิ ทยอยู่ทางตอนใต้ของ คอลูน : Archibald บริเวณตอนใต้ของจนี มีภาษาพดู ได้เขยี นบทความเร่ืองประเทศจนี The old Thai Mmpire Ross Colquhoun นกั และความเปน็ อยคู่ ลา้ ยคลงึ กันใน ในปี พ.ศ.2437 โดยใช้ ตาํ นานของจนี ตีความ สํารวจชาวองั กฤษ บรเิ วณทไี่ ด้เดนิ ทางสํารวจ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ได้เสนอแนวคิดไว้ในหนงั สือ เดนิ ทางสํารวจ โยเรมิ่ ชอ่ื A History of china จากกวางตงุ้ ของจีนถึง ได้ใหท้ ัศนะไวใ้ นบทความชอื่ Problems เมืองมัณฑะเลย์ ใน of Thai Prehistory : ปัญหากอ่ นประวตั ศิ าสตร์ สหภาพพม่าและ ไทย รฐั อัสสมั ในสาธารณรฐั ได้เสนอแนวคิดไวใ้ นงาน เขียนช่ือ 1.ความเปน็ มา อินเดยี ของคาํ สยาม ไทย ลาว และขอม 2. อี.เอช.ปารเ์ กอร์ : ในพทุ ธศตวรรษที่ 13 ชนชาติไทย 2.ลกั ษณะทางสังคมและ ยดึ ชนช้ัน E.H.Parker เป็นชาว ได้ตง้ั อาณาจักรน่าเจา้ ที่มณฑล อังกฤษเคยเป็นกงสุล ยูนนาน ตอ่ มาลกู จีนรุกรานถอยรน่ องั กฤษประจาํ เกาะ ลงมาทางตอนใต้ของจีน ไหหล่าํ 3. ศาสตราจารยโ์ วล ชนเผา่ ไทยอยู่ในบริเวณมณฑลและ แฟรม อีเบอร์ฮารด์ ดนิ แดนในอ่าวตงั เก๋ยี แล้วได้สรา้ ง :Wolfram Eberhard อาณาจักรเทยี นท่ีมณฑลยนู นักสงั คมวิทยาและนัก นาน ซง่ึ ตรงกบั สมัยราชวงศ์ฮั่นของ มานษุ ยวทิ ยาชาวเยอรมนั จีน ต่อมาสมัยราชวงศ์ถังของจีน ได้ศึกษาเร่ืองชนเผ่าไทย ชนเผ่าไทยไดส้ ถาปนาอาณาจักร เม่อื ปี พ.ศ.2491 นา่ นเจา้ มณฑลยูนนาน 4. เฟรเดอรคิ โมตะ : พวกทปี่ กครองนา่ นเจ้าคือพวก Ferderick Mote ไป๋ และพวกย๋ี คนไทยทน่ี า่ นเจ้า นกั ประวตั ศิ าสตร์ชาว เปน็ ชนกล่มุ น้อยกลุ่มหนงึ่ แต่มิได้ อเมรกิ นั ผเู้ ชีย่ วชาญ อยูใ่ นชนชั้นปกครอง ประวตั ศิ าสตร์จนี ได้ ศกึ ษาเอกสารสาํ คญั เกย่ี วกับสมัยน่านเจ้า โบราณ 5. จติ ร ภมู ศิ ักด์ิ มี คนไทยอาศยั กระจัดกระจาย ผลงานศกึ ษาค้นควา้ บรเิ วณทางตอนใตข้ องจีนและ เกย่ี วกบั ถิน่ กําเนดิ ของ บริเวณภาคเหนือของ ชนชาตไิ ทย ไทย ลาว เขมร พม่า และ รัฐอัสสัมของอนิ เดีย
“โครงการอบรมประวัตศิ าสตรช์ าติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย” 39แนวคดิ ผเู้ สนอแนวคดิ ถ่ินฐานเดิมและการอพยพ หลกั ฐานทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา 6. ขจร สขุ พานชิ ไดเ้ สนอแนวความคดิ ใน นักประวัตศิ าสตร์ไทยท่ี ถิน่ กําเนิดของชนชาติไทยอยู่ เรื่อง “ถิน่ กาํ เนิดและแนว สนใจศกึ ษาค้นคว้า บริเวณทางตอนใตข้ องจีนแถบ อพยพของเผา่ ไทย” ความเป็นมาของชนชาติ มณฑลกวางตุ้งและกวางสี ต่อมา ไทย ได้อพยพลงมาทางตะวันตก ตงั้ แต่ ไดค้ น้ คว้าจากเอกสารท้งั ยนู นานและลงมาทางตอนใต้ผา่ น ไทยและต่างประเทศ เมอื่ 7. พระยาประชากจิ กร ผ่านเขตสิบสองจูไทยลงมาที่ ประมาณปี พ.ศ.2441 ได้ จักร ประเทศลาว เรยี บเรยี งลงในหนังสือวชิ (แช่ม บนุ นาค) รญาณ เรื่องพงศาวดาร ถ่นิ กาํ เนิดเดิมของชนชาติไทยอยู่ โยนก ทางตอนใตข้ องจีนขอ้ สรปุ ของแนวคิดท่ี 3 แนวคดิ ที่ 3 เช่ือวา่ ถิน่ กําเนิดของคนไทยอยูก่ ระจดั กระจายทวั่ ไป ในบรเิ วณทางตอนใต้ของจนี และทางตอนเหนือของภาคพืน้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ตลอดบริเวณรัฐอสั สัมของอนิ เดยี
“โครงการอบรมประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั ริย์ไทย” 40แนวคดิ ท่ี 4 เช่อื วา่ ถนิ่ กาเนิดของชนชาติไทยอยู่บริเวณดนิ แดนประเทศไทย แนวคดิ ผูเ้ สนอแนวคิด ถน่ิ ฐานเดิมและการอพยพ หลกั ฐานทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 1. พอล เบเนดิกต์ ชนชาตไิ ทยน่าจะอยูใ่ นดินแดน ค้นควา้ โดยอาศัยหลกั ฐานทางถน่ิ กําเนดิ ของ (Paul Benedict) ประเทศไทยปัจจุบันในราว ภาษาศาสตร์ โดยเชอ่ื ว่า ผคู้ นชนชาตไิ ทยอยู่ นักวชิ าการชาว 4,000 – 3,000 ปมี าแลว้ ทีอ่ ยบู่ รเิ วณคาบสมทุ รอินโดบริเวณดินแดน สหรัฐอเมรกิ า จากนัน้ มพี วกตระกลู มอญ เขมร จนี ย่อมมาจากบรรพบรุ ษุประเทศไทย อพยพมาจากอนิ เดยี เขา้ สู่แหลม เดียวกัน โดยยอมรับวา่ 2. ศาสตราจารย์ อนิ โดจนี ได้ผลกั ดนั ให้คนไทย ภาษาไทยเป็นภาษาทีใ่ หญ่ นายแพทย์สุด กระจดั กระจายไปหลายทาง โดย ภาษาหนึ่งในเอเชียตะวนั ออก แสงวิเชยี ร กลมุ่ หนึง่ อพยพไปทางตอนใต้ของ เฉียงใต้ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ น จีนในปัจจบุ นั ตอ่ มาถูกจีนผลักดัน กายวิภาคศาสตร์ จึงถอยร่นลงไปอยู่ในเขตอสั สัม หนงั สือเร่อื ง“ก่อน ฉาน ลาว ไทย ตงั เก๋ีย ดังน้ันจึงมี ประวัติศาสตรข์ องประเทศ 3. ศาตราจารย์ชิน กลุ่มชนทีพ่ ดู ภาษาไทยกระจดั ไทย” โดยศึกษาเปรียบเทียบ อยู่ดี ผู้เชยี่ วชาญ กระจายอยทู่ ั่วไป โครงกระดูกของมนุษยย์ คุ หนิ ทางโบราณคดี ดินแดนประเทศไทยนา่ จะเป็นท่ี ใหม่จาํ นวน 37 โครงทค่ี ณะ สมัยกอ่ น อยขู่ องบรรพบุรุษคนไทยมาตั้งแต่ สาํ รวจไทย – เดนมาร์ก ขดุ พบ ประวัติศาสตร์ใน สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ บรเิ วณแม่น้ําแคว ในจงั หวัด ประเทศไทย กาญจนบุรี ผลการศกึ ษา พ้ืนทีซ่ ่งึ เปน็ ดินแดนประเทศไทย พบวา่ โครงกระดกู มนุษย์ ในปัจจบุ นั มรี ่องรอยของผู้คน ของ ยุคหนิ ใหม่ มีลักษณะ อาศยั อยมู่ าตั้งแต่ยุค หินเก่า ยคุ เหมอื นโครงกระดูกของ คน หินกลาง ยคุ หินใหม่ ยุคโลหะและ ไทยในปัจจบุ ัน เขา้ สู่ยคุ ประวัติศาสตร์ เนอ่ื งจาก จากการศึกษาทางด้าน แต่ละ ยุคได้แสดงความสบื เนื่อง โบราณคดีโดยเฉพาะทาง ทางวฒั นธรรมของคนไทยจนถึง โบราณคดีสมยั ก่อน ปัจจุบนั เช่นประเพณีการฝงั ประวัติศาสตร์ ศพ เครอ่ื งใช้เก่ยี วกับการเกษตร
“โครงการอบรมประวัตศิ าสตร์ชาติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย” 41ข้อสรุปของแนวคดิ ที่ 4เนอื่ งจากนักวิชาการกลุ่มน้ี มักอาศยั หลักฐานทางโบราณคดีเปน็ หลักในการพิสจู น์แนวคิดของตนเอง ดังนั้นข้อสนั นษิ ฐานของนักวชิ าการกลุ่มน้ียงั ไมเ่ ปน็ ทีย่ อมรับจากนักวิชาการในปจั จบุ นั มากนัก แนวคิดนี้ยงั ตอ้ งอาศัยการค้นคว้าดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เพ่ือหาข้อสรปุ ต่อไป แผนท่ีแสดงแนวคิดถน่ิ กาเนดิ ของชนชาติไทยอยใู่ นประเทศไทย ที่มาภาพ นางพรี ทิพย์ สคุ ันธเมศวร์
“โครงการอบรมประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทย” 42แนวคิดที่ 5 เช่ือวา่ ถ่นิ กาเนิดของชนชาตไิ ทยอยู่บรเิ วณคาบสมทุ รอนิ โดจนี หรือคาบสมุทรมลายู และหมู่เกาะตา่ ง ๆ ในอนิ โดนีเซียแนวคิด ผ้เู สนอแนวคดิ ถน่ิ ฐานเดิมและการอพยพ หลกั ฐานท่ีใชใ้ น การศึกษาถนิ่ กําเนดิ ของชน นักวิชาการทางการแพทย์ จากผลงานการวจิ ยั ทางพนั ธศุ าสตร์ ของนายแพทย์สมศักด์ิ พันธ์สุ มบญุ 1. ผลงานการวิจัยชาติไทยอย่บู ริเวณ โดย นายแพทย์สมศักด์ิ เก่ียวกับหม่เู ลอื ด ลักษณะและความถ่ี ทางพนั ธุศาสตร์ของ ของยีน พบว่าหม่เู ลือดของ คนไทยมี นายแพทย์คาบสมทุ ร พันธุ์สมบุญ ความคลา้ ยคลงึ กับคนชาวเกาะชวา ซงึ่ สมศกั ด์ิ พันธุ์สมบญุ อยู่ทางตอนใต้มากกว่าของคนจนี ทอ่ี ยู่ เก่ียวกบั หมู่เลือดอินโดจีนหรือ นายแพทยป์ ระเวศ วะสี ทางตอนเหนือรวมทั้ง ลกั ษณะความถี่ ลักษณะและจํานวน ของยนี ระหว่างคนไทยกับคนจีน กม็ ี ของยีนคาบสมุทรมลายู คณะนักวิจยั ด้าน ความแตกตา่ งกนั และ จากผลงานการ 2. ผลงานการวิจัย วจิ ัยเร่ืองฮีโมโกลบนิ อี ของนายแพทย์ เร่ืองฮีโมโกลบนิ อีและหมู่เกาะตา่ ง ๆ พนั ธุศาสตร์ ประเวศ วะสี พบวา่ ฮโี มโกลบิน อี พบ ของนายแพทย์ มากในผู้คนแถบเอเชียตะวันออกเฉยี ง ประเวศ วะสีในอินโดนีเซีย มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ใต้ คือไทย เขมร มอญ ปรากฏวา่ ฮโี มโกลบิน อี แทบจะไมม่ ใี นหมคู่ นจีนข้อสรุปของแนวคดิ ที่ 5 ชนชาตไิ ทยนา่ จะมถี น่ิ กําเนิดอยู่บริเวณคาบสมุทรอนิ โดจีน หรือคาบสมทุ รมลายแู ละหมูเ่ กาะตา่ ง ๆในอินโดนีเซีย แตแ่ นวคิดนป้ี ัจจุบนั ยังเปน็ ท่ถี กเถียงกันอย่วู า่ มคี วามเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน และยงั ไม่เป็นที่ยอมรบั ของนักวิชาการทีค่ ้นคว้าเก่ียวกับถ่นิ กําเนิดของชนชาตไิ ทยแผนที่แสดงแนวคดิ ถิน่ กาเนดิ ของชนชาตไิ ทยอยใู่ นคาบสมุทรมลายูและหมูเ่ กาะอินโดนเี ซีย ท่ีมาภาพ นางพีรทิพย์ สุคันธแมศวร์
“โครงการอบรมประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย” 43ชาตไิ ทยที่ยังคงเป็นไทยอยไู่ ดม้ าจนถึงทกุ วนั นไี้ ด้อันเนือ่ งมาจาก 3 เสาหลักที่มน่ั คงดังน้ี1 ศาสนา2 พระมหากษตั รยิ ์3 ความรู้รกั ษาสามคั คี ศาสนา ชใ้ี ห้เหน็ ถึง ศลี ธรรม สมาธิ สติ ปญั ญา โลภ หลง แตท่ กุ ศาสนาสอนคนใหเ้ ปน็ คนดี พระมหากษตั รยิ ์ การเสียสระของพระมหากษัตริย์ พระมเหสี พระราชโอสรและพระราชธิดารวมไปถึงทหารกล้าและประชาชนในอดีต ความย่ิงใหญข่ องประเทศไทย บรรพบรุ ุษของพระเทศไทยสระชวี ิตมาเพ่ือปกปูองผืนแผ่นดินมาด้วยเลือดเนื้อด้วยชีวิตแต่เสียดายท่ี ณ ปัจจุบันไม่มีการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ทั้งที่บรรพบุรุษของไทยเอาเลอื ดทาแผ่นดินกวา่ จะได้แผ่นดินน้ีมา พระมหากษัตริย์แต่ละพระองค์มีกุศโลบายในการบริหารประเทศไม่เหมือนกัน ข้ึนอยู่กับสถานการณ์ให้ช่วงเวลานั้น แต่สิ่งที่ทุกพระองค์เหมือนกันคือรักษา อธิปไตยของชาติไม่ให้ตกเป็นเมืองขึ้นของใครแม้บางพระองคย์ อมเสียประวัตแิ ละช่อื เสยี งในอนาคต เพ่อื ให้ลกู หลาน เหลน โหลน มีแผ่นดินได้อยู่อย่างสุขสบายมาจนถงึ ทกุ วันน้ี พระมหากษัตรยิ ์มีหลักใหญ่ๆในการบรหิ ารประเทศอยู่ดว้ ยกัน 5 ขอ้ ดังน้ี1 พระองคเ์ กิดมาเพ่อื แผ่นดนิ2 พระองค์มีทศพธิ ราชธรรม3 พระองค์มีพระกตญั ญสู ูงมาก4 พระองคท์ รงมพี ระสตปิ ญั ญาเปน็ เลิศ5 พระองคท์ รงรักราษฎรประดจุ ลูกในอุทร ความรู้รกั ษาสามัคคี การเสียกรุงครั้งที่ 1 ของไทยเราสืบเนื่องมาจากคนไทยขาดความสามัคคี ต่อมาอีก 200 ปีคนไทยแก่งแย่ชิงดีชิงเด่น หลงใหลในอํานาจก็ให้เกิดการทะเลาะเบาะแว้งขาดความสามัคคีทําให้เราต้องเสียกรุงเป็นครงั้ ที่ 2 ถึงปัจจบุ นั 200 ปีคนไทยมาแตกความสามัคคีอีกคร้ังหนึ่ง ซึ่งเป็นการแตกความสามัคคีครั้งนี้ยิ่งกว่าการเสียกรุงครั้งท่ี 1 และคร้ังที่2 อย่างมหาศาล และการแตกความสามัคคีคร้ังน้ีจะนําไปสู่การเปล่ียนแปลงครั้งยง่ิ ใหญ่ ความเสียสละของบรรพบุรษุ ของไทย พระมหากษัตริย์ พระมเหสี พระราชโอสรและพระราชธดิ า 1 พ่อขุนผาเมือง 2 พ่อขนุ รามคาํ แหง 3 พระร่วงเจ้า 4 สมเด็จพระศรีสุรโิ ยทัย 5 สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ที่ 2 (สมเด็จพระนเรศวรมหาราช) 6 สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี 3 (สมเดจ็ พระเอกาทศรถ) 7 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ( สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช) 8 บูรพกษัตริยแ์ ห่งราชวงศ์จักรี
“โครงการอบรมประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย” 44 ทหารกลา้ ประชาชน 1 ขนุ ศกึ ทัพ 2 พนั ท้ายนรสงิ ห์ 3 ชาวบา้ นบางระจัน ประเทศไทยมีประวตั อิ ันยาวนานและสามารถดํารงความเป็นเอกราช ตราบเท่าทุกวันนี้เน่ืองจากคนไทยทุกคนมีความรักชาติอยู่ในสายเลือดนั่นเอง การท่ีประเทศไทยอยู่รอดมาได้จนถึงทุกวันน้ี ก็เพราะเรามีศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนท้ังชาติ ต่อมาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้เปิดโอกาสให้ศาสนาคริสต์ อิสลามและอ่ืนๆ เข้ามาในประเทศไทย เพราะถือว่าทุกศาสนาสอนคนให้เป็นคนดีและเรามีพระมหากษัตริย์ท่ีมีพระปรีชาสามารถเพียบพร้อมด้วยสติปัญญา ความกล้าหาญ ความเข็มแข็งความเก่งกาจในการสู้รบเป็นแม่ทัพ ยอมพลีชีพเพ่ือรักษาแผ่นดินเละรักราษฎรย่ิงกว่าลูกในอุทร อย่างน้อยที่สุดคนไทยเรามีความรู้รักสามัคคีที่เกิดขึ้นได้เองโดยเฉพาะ ถ้ามีปัญหามารุมเร้าประเทศคนไทยก็จะร่วมมือกันเพื่อคล่ีคลายปัญหาหรือวิกฤตนั้นๆ ให้ผ่านพ้นไป แต่ถ้าประเทศชาติมีความสุขสบาย คนไทยก็มักจะชอบทะเลาะเบาะแวง้ กันเองนค่ี อื ลกั ษณะนิสัยของคนไทย ประวัติศาสตร์ชาติไทย เร่ิมตั้งแต่ช่วงระยะเวลาของกรุงสุโขทัย สมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์(พ่อขุนบางกลางหาว) ท่ีต่อสู้กับศัตรูที่มารุกรานประเทศ เพ่ือรักษาดินแดนไทยไว้ ในขณะเดียวกันก็จะขยายอาณาเขต ของประเทศไทยให้เพ่ิมขึ้นมาก ต่อมาในสมัยของพ่อขุนรามคําเหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยท่ีเราใช้กันอยู่ในปจั จบุ ันซงึ่ ไดด้ ดั แปลงไปจากเดิมบา้ งสมยั พระมหากษตั รยิ ใ์ นพระบรมราชวงศจ์ กั รรี ทรงมพี ระราชกรณยี กิจทส่ี าคัญ พอสรุปไดด้ งั นี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ ๑) พระนามเดิม สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ทรงปราบดาภิเษกข้ึนครองราชย์สมบัติเป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงสยามนับเป็นปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี และทรงโปรดให้สร้างวัดคู่บ้างคู่เมืองขึ้นใกล้ๆ กับพระบรมราชวัง คือวัดพระศรีรัตนศาสดาราม(วดั พระแกว้ ) ซ่งึ เปน็ ท่ีประดษิ ฐานพระแก้วมรกต พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลท่ี ๒) ทรงมีความรู้แตกฉานในภาษาไทยเป็นอย่างดีย่ิง ทรงสนพระทัยในทางกวี ศิลปะศาสตร์ตลอดจนวิชาดนตรี เคร่ืองดนตรีที่ทรงโปรด คือซอสามสาย(ซอสายฟูาฟาด) เป็นซอคู่พระหัตถ์โดยเฉพาะในด้านวรรณกรรมในสมัยของพระองค์ ทรงได้รับการยกย่องเป็นยุคทองของวรรณคดี วรรณกรรม ศิลปกรรมและปฏิมากรรม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๓) พระองค์ได้ทรงแบ่งการบริหารปกครองบ้านเมืองออกเป็น ๒ แบบคือ การบริหารปกครองแบบส่วนกลางได้แก่ ตําแหน่งเอกอัครมหาเสนาบดีสองตําแหน่ง ได้แก่ สมุหนายก เป็นอัครมหาเสนาบดีฝุายพลเรือนและสมุหพระกลาโหมเป็นอัครมหาเสนาบดีฝุายทหาร แบบส่วนภูมิภาคได้แก่ หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก และหัวเมืองประเทศราชพระองค์ได้ชื่อว่าเป็น“กษัตริย์นักการค้า” ทรงมีอัจฉริยะภาพการค้าขายเป็นอย่างมาก ทรงมีการแก้ไขวิธีการเก็บภาษีอากร การตั้งภาษีอากรใหม่ เพราะสามารถทํารายได้แก่แผ่นดินเป็นการหาเงินตราเข้าประเทศเพ่ือนําไปทํานุบํารุงบ้านเมืองและบรกิ ารราชการ แผน่ ดนิ นอกจากนั้นทรงยงั ปราบปรามการคา้ ขายยาฝิ่นด้วย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๔) ได้ปรับปรุงการปกครองภายในประเทศมีการจัดตั้งตํารวจนครบาลเป็นครั้งแรก จัดตั้งศาลยุติธรรม มีการบูรณะประเทศให้เจริญ เช่น การสร้างถนนหลายสาย การคมนาคมทางนํ้า มีการสร้างสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ เช่น อเมริกา อังกฤษ ฝร่ังเศส เดนมาร์ก
“โครงการอบรมประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย” 45พร้อมทั้งส่งทูตไปเจริญราชไมตรีกับต่างประเทศ นับว่าเป็นคร้ังท่ีสองต่อจากสมัยพระนารายณ์มหาราช และยังได้สมญานามเป็น บิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย (นักดาราศาสตร์) เพราะพระองค์ทรงได้คํานวณวันท่ีเกิดสุริยุปราคาท่ีจงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ได้อยา่ งแม่ยํา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ทรงมีพระราชกรณียกิจมากมายท่ีสําคัญคือ การเลิกทาสในเรือนเบี้ย ปรับปรุงเก่ียวกับศาล แก้ไขกฎหมายต่างๆ ให้รัดกุมทัดเทียมกับนานาชาติในยุโรป ส่งเสริมการศึกษาของเยาวชน พัฒนาในด้านคมนาคมโดยสร้างรถไฟสายแรก คือสาย กรุงเทพ –นครราชสีมา จัดให้มีการไปรษณีย์และโทรเลข จัดสร้างน้ําประปา ทรงได้พระสมญานามว่า พระปิยะมหาราชคือกษัตริย์อนั เปน็ ทรี่ ักสงู สดุ ของปวงชนชาวไทยทง้ั ชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๖) เป็นกษัตริย์องค์แรก ที่สําเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ณ มหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด ทรงประกาศใช้กฎมณเฑียรบาลในการสืบราชสันติวงศ์เป็นครั้งแรกและทรงเปล่ียนเคร่ืองหมายบนธงชาติไทย ซ่ึงเดิมใช้รูปช้างเผือกมาเป็นธงไตรรงค์ (๓) สี มีสีแดง ขาว และนํ้าเงินและใช้มาจนกระทั้งปัจจุบันนี้ ทรงพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทย ออกพระราชบัญญัติการใช้นามสกุลทรงต้งั กองร้อยอาสารกั ษาดินแดนและสรา้ งสนามบินดอนเมืองท่ีเราใชก้ นั อยูท่ กุ วนั น้ี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รชั กาลที่ ๗) ทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกให้แก่คณะปฏิวัติที่เรียกตัวเองว่า “คณะราษฏร์” เพ่ือให้พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย เม่ือวันท่ี ๑๐ ธ.ค. พ.ศ. ๒๔๗๕ ทําให้ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ต้ังแตบ่ ดั นน้ั เป็นตน้ มา และไดท้ รงมพี ระราชหตั ถเลขาว่า “ข้าพเจ้าได้มีความเต็มใจที่จะสละอานาจอันเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมให้แก่ราษฎรโดยทงั้ ไป แตข่ า้ พเจา้ ไมย่ นิ ยอมมอบอานาจท้งั หลายของขา้ พระเจา้ ใหแ้ กผ่ ใู้ ด คณะใดโดยเฉพาะ เพ่ือใช้อานาจน้ันโดยสิทธขิ าด และโดยไม่ฟงั เสียงอันแทจ้ รงิ ของประชาราษฎร” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (รัชกาลที่ ๘) พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์สมบัติเมื่อพระชนมายุ ๙ พรรษา ทรงสนพระทัยศึกษาภาษาต่างประเทศถึง ๕ ภาษาได้แก่ ลาติน อังกฤษ ฝร่ังเศสเยอรมัน และสเปน ทรงเป็นผู้เปล่ียนช่ือประเทศสยาม เป็น ประเทศไทย รัฐบาลซ่ึงมีจอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรฐั มนตรี เม่ือวนั ท่ี ๑๒ ก.ย. พ.ศ. ๒๔๘๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี ๙) พระองค์ขึ้นครองราชย์สมบัติเมื่อ วันที่ ๕ พ.ค. พ.ศ.๒๔๙๓ ในขณะที่ทรงมีพระชนมายุ ๒๓ พรรษา และทรงมีพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิพระบรมราชินีนาถ ท้ังสองพระองค์ทรงมีพระราชกรณียกิจนานัปการ มีพระราชหฤทัยเอื้ออาทรห่วงใยผูกพันอย่างลึกซ้ึงกับพสกนิกรชาวไทยทั่วทุกภูมิภาค ทรงถือว่าทุกข์สุขของราษฎรประดุจดังทกุ ขส์ ขุ ของพระองค์เอง อีกทั้งสถานการณ์ในบ้านเมืองเราทุกวันน้ีคนไทยเรายังขาดความสํานึกรักชาติ ขาดความสามัคคี ดังพระบรมราโชวาทในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของเหล่าทหารรักษาพระองค์ เนื่องในพระราชพธิ เี ฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธ.ค. ๕๐ วา่ “….ขอให้ทหารทุกคนและชาวไทยทุกหมู่เหล่า ได้พิจารณาตัดสินใจว่าประเทศชาติของเราน้ัน สาคัญท่ีเราควรจะรักษาไว้ให้ย่ังยืนต่อไปหรือไม่ ถ้าเห็นว่าสาคัญม่ันใจขอให้สังวร ระวังกาย ใจ ให้ตั้งม่ันอยใู่ นความสัตยส์ ุจรติ พยายามลดอคติ และสรา้ งเสรมิ ความเมตตาสามัคคีในกนั และกนั ....”
“โครงการอบรมประวัตศิ าสตรช์ าติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษตั ริย์ไทย” 46 พระองค์ทรงห่วงใยในความมั่นคงของชาติและความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นอย่างย่ิง ทรงมีโครงการอันเนื่องมาจากโครงการพระราชดําริจํานวนมากมายกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ ได้ช่วยเหลือเหล่าพสกนิกรให้พ้นจากสภาพความยากจนฝืดเคืองไปสู่ความพออยู่พอกิน นอกจากน้ันพระราชโอรสพระราชธิดา ตลอดจนทุกๆ พระองค์ในพระบรมวงศานุวงศ์ ก็ยังทรงปฏิบัติภารกิจต่างๆ อีกมากมาย แม้กระทั่ง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟูากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ถึงแม้จะส้ินพระชนม์แล้ว แต่ทั้งสองพระองค์ก็ยังคงอยู่ในหัวใจของปวงชนชาวไทยตลอดเวลา เนื่องจากพระองค์ทรงปฏิบัตพิ ระราชกรณยี กิจทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์แก่พสกนิกรชาวไทยและประเทศชาติอย่างใหญ่หลวงเช่นกัน ยากย่ิงท่ีพสกนิกรชาวไทยจะทดแทนพระคุณในทุกพระองค์ได้ โดยเฉพาะองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว“พ่อของแผ่นดิน” ท่ีทรงปกครองแผ่นดินเป็นระยะเวลา 61 ปี (นานกว่ากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลก) สมดังพระราชปณธิ านทพ่ี ระองคท์ รงมพี ระราชดํารัสแก่เหล่าพสกนิกรทัว่ ประเทศว่า “เราจะครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพื่อประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม” ประเทศไทยดารงอยู่เป็นชาติได้ทุกวันน้ี เพราะคนไทยทุกคน มีจิตสานึกรักชาติอยู่ในสายเลือด นับต้ังแต่พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ในประวัติศาสตร์ท่ีผ่ายมา จนถึงพระราชวงศ์จักรีในปัจจุบันตลอดจนบรรพบุรุษไทยทุกคน แม้กระท่ังสตรี ก็มีความกล้าหาญ เด็ดเดี่ยว รักชาติยอมพลีแม้ชีวิตเพ่ือปกปักรักษาแผ่นดินไว้ จึงทําให้ประวัติศาสตร์ชาติไทยไม่เคยเป็นเมืองขึ้นของใคร ซึ่งชาวไทย ทุกคนควรจะต้องตระหนักและยึดถือเป็นแบบอย่างด้วยการมีจิตสํานึกรักชาติมีความสามัคคี รวมใจให้เป็นหน่ึงเดียวมีความภาคภมู ิใจในประวัติสาสตร์ชาติไทยที่บรรพบุรุษได้ยอมเสียสละต่อสู้ยอมพลีแม้กระทั่งชีวิต เพื่อให้ประเทศอยู่รอด เราจึงต้องมีความกตัญญูและสร้างสรรค์ความดี เพื่อทดแทนบุญคุณมีความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์ มีความรู้รัก สามัคคี คํานึงถึงผลประโยชน์ของชาติเป็นที่ต้ังและหวงแหนแผ่นดินเกิดและพรอ้ มทีจ่ ะปกปอู งแผน่ ดนิ นด้ี ้วยชีวิต เพื่อรักษาไว้ให้เป็นมรดกแก่ลูกหลานได้อยู่อาศัยอย่างร่มเย็นเป็นสุขและดาํ รงไว้ซง่ึ ความเป็นเอกราช โดยมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ ของประเทศตลอดไป พระมหากษัตริย์ไทยและบรรพบุรุษไทยที่มีความรักชาติ ยอมเสียสละชีพเพื่อชาติและมีความกล้าหาญ เด็ดเดย่ี ว ถึงแมจ้ ะเปน็ อิสตรี เช่นสมเด็จพระศรีสุรีโยทัยทท่ี รงชนช้างต่อสู้กับพระเจ้าแปรจนส้ินพระชนม์เพื่อรักษาชีวติ ของพระมหากษตั ริย์, พระนเรศวรมหาราชเป็นแม่ทัพกระทํายุทธหัตถีกับ พระมหาอุปราชาของพม่าในวันท่ี ๑๘ ม.ค. พ.ศ.๒๑๓๕ วันจันทร์ แรม ๒ ค่ํา เดือนยี่ ปีมะโรง ซึ่งต่อมากําหนดเป็นวันกองทัพไทยของทุกปี,พระนางสุพรรณกัลยาที่ทรงได้ขอถวายตัวต่อพระเจ้าบุเรงนอง เพ่ือแลกตัวกับพระองค์ดํา (พระนเรศวรมหาราช)กลับคืนอโยธยา, พระเจา้ ตากสนิ มหาราชต่อสู้กบั พม่าและต้ังกรุงธนบุรีเป็นราชธานี เป็นต้น นอกจากนั้นไม่ใช่มีแต่พระมหากษัตริย์ที่ยอมเสียสละชีพเพื่อชาติ ในสมัยสมเด็จพระเจ้าเสือ พันท้ายนรสิงห์เป็นนายท้ายเรือยอมพลีชีพเพ่ือรักษากฎมณเฑียรบาลไว้ เป็นตัวอย่างในเรื่องความกล้าหาญ ความซื่อสัตย์ ความจงรักภักดี และการยึดถือกฎมณเฑยี รบาลของบ้านเมือง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105