การพัฒนาพืน้ ทีอ่ อนไลน์ สำหรบั การเรยี นรู้ผ่านปรากฎการณ์ทางสังคมที่น่าสนใจ (News Rewind) จัดทำโดย นายพฤฒนิ นั ท์ สดุ ประเสริฐ ท่ีปรกึ ษา ผศ.ดร.พุทธชาด องั ณะกรู โครงการน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลกั สตู รปรญิ ญาศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ คณะวิทยาการเรยี นรแู้ ละศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2563
หน้า |2 การพฒั นาพน้ื ทีอ่ อนไลน์สำหรบั การเรียนรผู้ ่านปรากฎการณท์ างสังคมที่น่าสนใจ (News Rewind) จดั ทำโดย นายพฤฒนิ นั ท์ สุดประเสริฐ ที่ปรกึ ษา ผศ.ดร.พทุ ธชาด อังณะกูร โครงการนเ้ี ป็นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สตู รปริญญาศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาการเรยี นรู้ คณะวิทยาการเรยี นรูแ้ ละศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2563
สารบัญ เรอ่ื ง หนา้ บทท่ี 1 บทนำ................................................................................................................................................. 1 ทม่ี าและความสำคัญ................................................................................................................................... 1 วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน........................................................................................................................... 2 กล่มุ เป้าหมาย............................................................................................................................................. 2 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั .......................................................................................................................... 2 รปู แบบและช่องทางการนำเสนอ ................................................................................................................ 2 บทที่ 2 แนวคดิ เบ้ืองหลงั ................................................................................................................................ 3 การเรยี นรู้แบบ Micro Learning................................................................................................................ 3 หลกั การออกแบบ Infographic.................................................................................................................. 3 ทฤษฎีการเรยี นรู้แบบมัลติมีเดียของเมเยอร์ (Mayer’s 12 Principles of Multimedia Learning) .......... 4 การนำเสนอขา่ ว.......................................................................................................................................... 5 บทท่ี 3 การพัฒนาช้ินงาน............................................................................................................................... 6 การวิเคราะห์ความต้องการจำเปน็ (Analysis)............................................................................................. 6 การออกแบบ (Design)............................................................................................................................... 7 การพฒั นา (Development).................................................................................................................... 10 การนำไปใช้ (Implement)....................................................................................................................... 11 การประเมนิ ผล (Evaluation)................................................................................................................... 12 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน............................................................................................................................. 13 ผลการประเมินคณุ ภาพโดยรวมของเน้ือหา............................................................................................... 13 ผลการประเมนิ คณุ ภาพโดยรวมของส่ือ..................................................................................................... 13 ความคดิ เห็นจากผใู้ ช้งาน .......................................................................................................................... 15 ผลการดำเนินงาน (Performance Report) ขอ้ มูล ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2564 ................................... 15
บทท่ี 5 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ...................................................................................................................... 25 บรรณานุกรม ................................................................................................................................................ 26 ภาคผนวก ..................................................................................................................................................... 28
สารบญั ภาพ เรือ่ ง หนา้ รปู ภาพ 1 ตัวอยา่ งงานทใี่ ช้หลัก Signaling Principle .................................................................................... 4 รปู ภาพ 2 ตวั อย่างงานท่ีใชห้ ลกั Personalization Principle ........................................................................ 4 รปู ภาพ 3 สัญลกั ษณ์ News Rewind............................................................................................................. 8 รปู ภาพ 4 หน้าปก (Cover Photo) สำหรบั ชอ่ งทางส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media) ................................. 9 รูปภาพ 5 ตัวอยา่ งรปู แบบ Square ประกอบเน้อื หาบน News Rewind (Version 1)................................... 9 รูปภาพ 6 ตัวอยา่ งรปู แบบ Square ประกอบเน้ือหาบน News Rewind (Version 2)................................. 10
สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตาราง 1 ประเด็นที่จะนำเสนอใน News Rewind .......................................................................................... 7 ตาราง 2 ตารางการเผยแพรเ่ นื้อหาบน News Rewind ................................................................................ 11 ตาราง 3 ผลการประเมินคณุ ภาพโดยรวมของเนื้อหา .................................................................................... 13 ตาราง 4 ผลการประเมนิ คุณภาพโดยรวมของสื่อ .......................................................................................... 14 ตาราง 5 จำนวนผตู้ ิดตามในช่องทางตา่ ง ๆ ของ News Rewind.................................................................. 15 ตาราง 6 จำนวนผตู้ ดิ ตามผ่านชอ่ งทาง Blockdit แบง่ ตามชว่ งอายุ............................................................... 16 ตาราง 7 จำนวนยอดการเขา้ ถงึ เน้ือหาต่าง ๆ ผ่านชอ่ งทาง Facebook ........................................................ 18 ตาราง 8 จำนวนยอดการเขา้ ถงึ เนอื้ หาต่าง ๆ ผา่ นชอ่ งทาง Blockdit ........................................................... 20 ตาราง 9 จำนวนยอดการเข้าถงึ เนือ้ หาต่าง ๆ ผา่ นช่องทาง Instagram......................................................... 22 ตาราง 10 จำนวนยอดการเข้าถึงเนื้อหาต่าง ๆ ผา่ นช่องทาง Twitter ........................................................... 24
หน้า |1 บทที่ 1 บทนำ ทม่ี าและความสำคัญ ทุกวันน้ีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสถานการณ์ปัจจุบันตามสื่อต่าง ๆ ในยุคดิจิทัล โดยเฉพาะส่ือ กระแสหลักอย่าง “โทรทัศน์” ท่ียังคงเป็นช่องทางหลักในการรับรู้ขอ้ มูลข่าวสารของประชาชน มักนำเสนอใน แง่มุมของความเชื่อทางไสยศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ ขาดการนำเสนอในแง่มุมเชิงวิทยาศาสตร์ หรือนำเสนอเพียง แค่ให้มีความสนุก มีความน่าสนใจ โดยไม่ได้แฝงสาระความรู้ หรือเรื่องที่ประชาชนควรรู้จริง ๆ รวมถึงการ นำเสนอขา่ วในบางครงั้ มักเตม็ ไปด้วยเน้ือหาที่สับสน เข้าใจ และเหน็ ภาพได้ยาก การนำเสนอข่าว โดยเฉพาะข่าวที่ต้องอาศัยหลักทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการอธิบาย เป็นสิ่งที่เป็นจุดอ่อน สำคัญของรายการข่าวในประเทศไทย เนื่องจากนักข่าวส่วนใหญ่จบจากสายสังคมศาสตร์ มากกว่าสาย วทิ ยาศาสตร์ รวมถงึ ผู้บริหารสถานีหรือผู้บรหิ ารส่ือไม่ได้ให้ความสนใจในการทำข่าวลักษณะน้ีแบบจริงจัง โดย มองว่า การนำเสนอข่าวทเ่ี ป็นวิทยาศาสตร์ ไม่สามารถสร้างเรตติ้งและผลกำไรได้เทา่ กบั ข่าวความขัดแย้ง หรือ ขา่ วทเ่ี ปน็ Human Interest (วันชัย ตันติวิทยาพทิ กั ษ์, 2561) ในช่วงที่ผ่านมา มีบุคคลที่ใช้พื้นที่สื่อสังคมออนไลน์ ในการอธิบายและพาทุกคนทำความเข้าใจข่าว และประเด็นทเี่ ปน็ เรื่องยาก ไมว่ ่าจะเป็น อาจารยเ์ จษฎ์-รศ.ดร.เจษฎา เดน่ ดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควชิ า ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ และเป็นนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ หรือ หมอแล็บแพนด้า-ภาคภูมิ เดชหัสดิน นักเทคนิคการแพทย์ และเรายังเหน็ พืน้ ทีใ่ นการอธิบายบางประเด็นข่าวให้เขา้ ใจง่าย และได้ความรู้ทีอ่ ยูล่ ึกลง ไปมากกวา่ แคเ่ กดิ อะไรข้นึ นอกจากน้ี ผพู้ ฒั นาโครงงาน มคี วามสนใจสว่ นตัวในการติดตามข่าวสารและสถานการณ์ปจั จุบัน และ มีความเชอื่ วา่ ทุกข่าว ทกุ เหตกุ ารณส์ ำคัญท่ีเกดิ ขึน้ มเี รอื่ งราวให้ได้เรียนรู้อย่เู สมอ รวมถึงเปน็ กรณีศึกษา และ เปน็ ประโยชน์ในการเรยี นการสอนใหก้ ับครูผ้สู อนรายวิชาต่าง ๆ ได้ ด้วยเหตุนี้ “News Rewind” จึงเกิดขึ้น ภายใต้แนวคิด “More Than What Happened - เพราะ ข่าว มีมากกว่า \"เกิดอะไรขึ้น\"” โดยเป็นการนำเสนอเรื่องราว หรือสาระความรู้ที่น่าสนใจจากข่าวต่าง ๆ ท่ี เกิดขึ้น ผ่านการนำเสนอเนื้อหาประกอบภาพในลักษณะ Data Visualization เพื่อเป็นพื้นที่ในการได้เรียนรู้ เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ และเรยี นรู้เร่อื งทีอ่ ยู่ลกึ ลงไปจากแตล่ ะข่าว
หน้า |2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน เพื่อพัฒนาพื้นที่บทความออนไลน์ในรูปแบบบล็อก (Blog) สำหรับการเรียนรู้ผ่านปรากฎการณ์ทาง สงั คมทน่ี ่าสนใจ ทั้งประเด็นสังคม กฎหมาย และธุรกจิ กลมุ่ เปา้ หมาย 1. กลุ่มเป้าหมายหลัก: บุคคลทั่วไปทีส่ นใจในขา่ ว 2. กลมุ่ เป้าหมายรอง: คร-ู อาจารยท์ ่ีสนใจนำเนอ้ื หาจากพน้ื ท่ีออนไลน์ไปใช้ประกอบการสอน ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั 1. คนในสงั คมไดเ้ รยี นรู้เรอื่ งราวด้านวิทยาศาสตร์ และสังคม ผา่ นปรากฏการณท์ น่ี ่าสนใจ รปู แบบและช่องทางการนำเสนอ นำเสนอในรูปแบบเนื้อหาประกอบภาพในลักษณะ Data Visualization ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ บน Facebook, Twitter, Instagram และ Blockdit
หน้า |3 บทที่ 2 แนวคิดเบื้องหลงั การเรียนรแู้ บบ Micro Learning การเรียนรู้แบบ Micro Learning เป็นการเรียนรู้แบบระยะเวลาสั้น กระชับ ช่วยพัฒนาความรู้และ ทักษะการเรียนรู้ตามความตอ้ งการของผ้เู รียน และสามารถทำใหไ้ ด้ความรใู้ หม่ ๆ มาตอ่ ยอดความรเู้ ดิม รวมถึง สรา้ งสรรค์ผลงานได้ ซ่ึงการเรียนรแู้ บบ Mobile Learning สามารถเรยี นรไู้ ดผ้ า่ นบทความ, รายการ Podcast, รายการออนไลน์บน YouTube หรือผ่านทางสื่อ Social Media เป็นต้น (ขวัญชนก พุทธจันทร์, 2563) โดย การเรียนรู้ผ่านปรากฏการณ์ทางสังคม (ข่าวและสถานการณ์ปัจจุบัน) ก็เป็นหนึ่งในการเรียนรู้แบบ Micro Learning ดว้ ยเชน่ กัน ผ่านการย่อยข่าวให้เขา้ ใจได้ง่าย และเสริมความรทู้ ี่เกย่ี วข้องกับข่าวนั้นเพมิ่ เตมิ หลักการออกแบบ Infographic การออกแบบ Infographic จะใช้รูปแบบที่หลากหลายตามเนื้อหาที่จะนำเสนอ แต่ยังคงเน้นการใช้สี และสัญลักษณ์ต่าง ๆ และใช้เนื้อหาที่สั้น กระชับ ภาษาเข้าใจได้ง่าย เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจเนื้อหาที่ นำเสนอได้ง่ายขึน้ และดไู มเ่ ปน็ เรื่องไกลตัวจนเกนิ ไป ในด้านของการใช้สี ผู้พัฒนาพยายามออกแบบให้ Infographic แต่ละชิ้น เลือกใช้โทนสีอบอุ่น-โทนสี เย็นตามทฤษฎีวงล้อสี เพื่อให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันในแต่ละชิ้นงาน รวมถึง ใช้กฎ 3 สี ในการออกแบบ ชิ้นงาน Infographic ทั้งการใช้ 3 สี และการใช้เกิน 3 สี แต่ใช้สีให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพ่ือช่วยดึงดูด สายตา ดงึ ดดู ความสนใจ (Hello Content, 2562)
หน้า |4 ทฤษฎกี ารเรียนร้แู บบมลั ติมเี ดียของเมเยอร์ (Mayer’s 12 Principles of Multimedia Learning) ในการออกแบบชิน้ งานของ News Rewind ผพู้ ฒั นาอาศยั หลกั การออกแบบสื่อมัลติมีเดียของเมเยอร์ (Mayer’s 12 Principles of Multimedia Learning) มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ เพื่อออกแบบชิ้นงานให้ ผู้อา่ นสามารถเกิดการเรียนรู้ไดม้ ากท่สี ดุ โดยการออกแบบท่สี อดคล้องกบั ทฤษฎีมีดังน้ี 1. Signaling Principle (หลักการเน้นความสำคัญของเรื่อง) - ระบุหัวข้อสำคัญ (Headline) รวมถึง เน้น ตัวอกั ษรและสี เพื่อใหเ้ ห็นจดุ สำคญั ของเรอ่ื ง รูปภาพ 1 ตวั อยา่ งงานทีใ่ ชห้ ลัก Signaling Principle 2. Personalization Principle (หลกั การภาษาสนทนา) – ใชภ้ าษาทเ่ี ข้าใจง่าย ไม่เนน้ ศัพทว์ ิชาการจนเกินไป รปู ภาพ 2 ตัวอยา่ งงานท่ีใช้หลัก Personalization Principle
หน้า |5 การนำเสนอขา่ ว ปจั จุบนั สื่อสังคมออนไลน์มักนำเสนอข่าวท่ีเน้นความเรว็ เนน้ ประเด็นทเ่ี ป็นดราม่า สร้างกระแส น้อย สำนกั ข่าว หรอื นอ้ ยช่องทางท่จี ะนำเสนอขา่ วโดยเสรมิ ความร้ทู ่ีน่าสนใจ ประเทศญป่ี ่นุ ถอื เปน็ หนึ่งในกรณศี ึกษาทีน่ า่ สนใจในเร่ืองของการนำเสนอข่าว ต้งั แต่กรณีการเกิดคล่ืน ยักษ์สึนามิครั้งใหญ่ที่เมืองฮิโรชิม่า เมื่อปี พ.ศ. 2554 จนทำให้มีการระเบิดของอาคารเตาปฏิกรณ์ปรมาณูท่ี โรงไฟฟา้ ฟุคุชมิ ะ ในช่วงเวลานั้น สถานโี ทรทัศนใ์ นประเทศญป่ี ุ่นมีการอธิบายการทำงานของเตาใหเ้ ข้าใจได้ง่าย ทีส่ ดุ และมีการเชิญผู้เชย่ี วชาญมาวิเคราะหเ์ หตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ขึน้ สำหรับประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2538 ทุกสถานีโทรทัศน์ช่องหลักของประเทศ ณ ขณะนัน้ ตา่ งให้เวลาในช่วงเช้ากับการนำเสนอและรายงานข่าวเรื่อง สรุ ยิ ปุ ราคาเต็มดวง อยา่ งเต็มที่ เนื่องจาก การเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงในตอนนั้น กรุงเทพมหานคร ไม่สามารถมองเห็นสุริยุปราคาได้ และมีเพียงไม่ก่ี จังหวัดที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนที่สุด และมีการทำงานอย่างหนักในการเตรียมสถานที่ถ่ายทอดสด โดยอิง การคำนวณทางดาราศาสตร์ไทย ทั้งกาละและเทศะ และให้ข้อมูลเพิ่มเติมในศาสตร์เกี่ยวกับท้องฟ้าและ ดวงดาว คุณแสงชัย สุนทรวัฒน์ ผู้อำนวยการ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) กล่าวใน รายการ Top Ten ทางชอ่ ง 9 อ.ส.ม.ท. ถึงเบ้อื งหลังการทำงานของทีมขา่ ว 9 อ.ส.ม.ท. วา่ เราต้องการหักล้าง แนวคิดไสยศาสตร์ในแผ่นดินนี้ ไม่อยากให้หลงเชื่อเรื่องมีราหูอมพระอาทิตย์ เพราะเราอยากทำให้เห็นท้ัง ประเทศว่า สุริยุปราคาเกิดจากการคำนวณตามความเป็นไปของกฎเกณฑ์ธรรมชาติ และเป็นสิ่งหนึ่งที่ ช่อง 9 และพนักงาน อ.ส.ม.ท. มีความภูมิใจที่ได้ทำงานที่ดีที่สุด ให้ประชาชนทั้งแผ่นดินได้เห็น ขอให้ประชาชนมี ความสขุ กบั สิง่ ทเ่ี ราทำ นัน่ คือคมุ้ กับการลงทุนของเรา
หน้า |6 บทที่ 3 การพัฒนาชิ้นงาน การวิเคราะห์ความตอ้ งการจำเปน็ (Analysis) การวิเคราะหก์ ลุม่ เป้าหมาย (Learner Analysis) พฤติกรรมการเสพสื่อในปัจจุบันของคนแต่ละช่วงวัย มีความแตกต่างกัน จากการสำรวจของ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ร่วมกับทีมวิจัยจาก สถาบันอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TIARA) มหาวิทยาลัยมหิดล และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2562 พบว่ากลุ่มคนรุ่นใหม่ โดยเฉพาะกลุ่มคน Gen Y (อายุ 23-41 ปี) และ Gen Z (อายุต่ำกว่า 23 ปี) บริโภคสื่อจากหลากหลายช่องทาง โดยเฉพาะช่องทางสื่อออนไลน์ และนิยม ตดิ ตามขา่ วสารจากการแชรข์ องเพื่อนที่อยู่ในส่ือสังคมออนไลน์ และจากบัญชีผู้ใช้ของนักข่าวท่ีอยู่บนสื่อสังคม ออนไลน์โดยตรง ขณะที่การบริโภคข่าวจากช่องทางสื่อดั้งเดิม (Traditional Media) อย่างโทรทัศน์ และ หนังสือพมิ พ์ คนสองกลมุ่ น้ี เลอื กบริโภคผ่านทางอินเตอรเ์ นต็ เปน็ หลกั (Brand Buffet, 2562) การวิเคราะหเ์ นอ้ื หา (Content Analysis) เนอื้ หาที่มีการนำเสนอ มีท้ังหมด 20 ช้นิ ใน 9 ประเด็นหลัก ดังน้ี ประเดน็ ข่าวท่ีเลือก ประเด็นทีน่ ำเสนอ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ COVID-19 สายพนั ธ์ุของไวรัส สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ประเภทของวัคซีน (เศรษฐศาสตร์) สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โทษปรับของการไมส่ วมหนา้ กาก (เศรษฐศาสตร์) วิทยาศาสตร์ ภาพรวมสถานการณโ์ ควดิ -19 รอบ 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (เดอื นเมษายน 2564) วคั ซีน COVID-19 วคั ซนี ทางเลอื ก กับภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ทางเลอื ก หนี้สาธารณะ กฎหมายวินยั การคลัง ภาพรวมหนีส้ าธารณะ สตั วท์ ดลอง ไวรลั #SaveRalph ความร้เู รื่องสตั ว์ทดลอง CPTPP อธบิ ายเร่ือง CPTPP การเลือกต้ังเทศบาล การปกครองแบบเทศบาล
หน้า |7 จำนวนสมาชกิ สภาเทศบาล การใช้สิทธเิ ลอื กตั้งสภาเทศบาล เคร่อื งทำนำ้ อนุ่ การใช้เคร่ืองทำน้ำอนุ่ ระบบแก๊สอยา่ ง วทิ ยาศาสตร์ ระบบแก๊ส Rewind of The ปลอดภัย Day (วันนี้เม่ือวนั วาน) กำเนดิ “ราชกจิ จานเุ บกษา” ความรูร้ อบตัว ธรุ กจิ เหตกุ ารณ์ Black Out ไวรสั อีเมล “เมลสิ สา” วันอนามัยโลก รำลึก แสงชยั สุนทรวัฒน์ การควบรวมกจิ การของ ธ.ทหารไทย และ ธ.ธนชาต ตาราง 1 ประเด็นทจี่ ะนำเสนอใน News Rewind การวิเคราะห์ส่ือ (Media Analysis) ข่าวท่ีมกี ารนำเสนอผ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ ทงั้ บนส่อื กระแสหลัก (Traditional Media) ผ่านทางโทรทัศน์ หนังสอื พิมพ์ และบนส่อื ใหม่ (New Media) ผ่านสือ่ สงั คมออนไลน์ และเว็บไซต์ โดยช่องทางสื่อเดิม ส่วนใหญ่ จะนำเสนอแบบเจาะลึก ขณะที่การนำเสนอผ่านช่องทางสื่อใหม่ เน้นความกระชับ และความเข้าใจง่ายใน เน้อื หา การออกแบบ (Design) แนวคดิ ของ News Rewind News Rewind - ย้อนมอง ให้ลึกกว่าข่าว นำเสนอคอนเทนต์ประเภทข่าวและสถานการณ์ปัจจุบัน โดยนำเสนอทั้งเหตุการณ์ หรือข่าวที่น่าสนใจจากแต่ละช่วงเวลา พร้อมเนื้อหาน่าสนใจที่อยู่ลึกลงไปจากข่าว ท้ังในเชงิ วิทยาศาสตร์ กฎหมาย ธุรกจิ และความรอู้ ่นื ๆ ทีน่ า่ สนใจ โดยนำเสนอใน 4 แนวทางหลัก N-E-W-S N – Need (To Know): เน้นเรื่องท่ีควรรู้ และสัมพทั ธ์กับชวี ติ คน E – Easy, Educate and Entertain: เนอ้ื หาเขา้ ใจงา่ ย ไดค้ วามรู้ และเพลิดเพลิน W – Wide: กว้างขวาง เน้อื หาหลากหลาย เขา้ ถึงไดห้ ลากหลายกลมุ่ S – Space: เป็นพ้นื ท่สี ำหรบั คนทกุ วยั ในการแลกเปล่ียน และเรยี นรู้กนั และกัน
หน้า |8 นอกจากน้ี News Rewind มีเนื้อหาที่หลากหลาย ทั้งข่าวดัง เหตุการณ์สำคัญในอดีต กระแสท่ี น่าสนใจ และสาระความรู้ ทั้งแบบข่าวหนัก เป็นอาหารสมอง และแบบเบาสมอง อ่านเพลิน แต่ได้สาระ เหมือนเดมิ การนำเสนอเน้อื หา การนำเสนอเนื้อหาต่าง ๆ ของ News Rewind จะนำเสนอผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ บน Facebook Fan page, Twitter, Instagram และ Blockdit โดยจะออกแบบให้สั้น กระชับ รับกับผู้บริโภค เนื้อหาที่ไม่ต้องการอ่านเนื้อหายาวใน 1 โพสต์ พร้อมด้วยภาพประกอบที่ดงึ ดูดให้ชวนอ่าน หรือ Infographic ที่ช่วยอธบิ ายเรื่องทยี่ ากและซับซ้อนให้เข้าใจง่ายข้ึน อตั ลกั ษณ์ของ News Rewind โลโก้ของ News Rewind จะเป็นการใช้ตัวอักษรคำว่า “NEWS Rewind” และเพิ่มสี่เหลี่ยมจตุรัสสี ฟ้า ไว้ที่ตัว N ของคำว่า “NEWS” โดยในทางการสื่อความหมายของแบรนด์ สีฟ้า สีน้ำเงิน แสดงให้เห็นถึง ความน่าเชื่อถือ เชื่อใจ พง่ึ พาได้ และสดี งั กลา่ วสามารถสอื่ ถงึ ตัวตนความเปน็ News Rewind ไดช้ ัดเจน ในการ นำเสนอเน้อื หาขา่ วแฝงสาระ และเช่ือถือได้ ส่วนอตั ลักษณใ์ นงานอ่ืน ๆ จะเน้นการใช้รูปรา่ ง (Geometric) น่ันคอื รปู ส่ีเหลยี่ มจตุรัส และเน้นโทนสี หลักคือ โทนขาว-ดำ และโทนสีฟ้า-น้ำเงิน โดยอัตลักษณ์ของ News Rewind ทั้งหมด จะใช้ในงานทุกชิ้นของ News Rewind ทงั้ สญั ลกั ษณ์ของชอ่ งทาง รูปภาพ 3 สัญลกั ษณ์ News Rewind
หน้า |9 รปู ภาพ 4 หนา้ ปก (Cover Photo) สำหรบั ช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) อัตลกั ษณข์ องชิ้นงาน Square ในช่วงแรก Square ของ News Rewind จะใช้รูปแบบข้อความไม่เกิน 3 บรรทัด ซ้อนบนพื้นหลัง แบบเกลีย่ สีดำไปสโี ปรง่ แสง (Gradient) และใช้เสน้ สีดำประกอบ โดยเสน้ ตัวอักษร และองค์ประกอบอ่นื ๆ ท่ี เป็นสดี ำ สามารถเปลี่ยนเปน็ สีขาว เพ่ือใหต้ ัดกบั ภาพพื้นหลงั และสามารถมองเห็นไดช้ ดั รูปภาพ 5 ตัวอย่างรปู แบบ Square ประกอบเนอ้ื หาบน News Rewind (Version 1) ภายหลัง ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบใหม่ คงการให้พื้นที่ของข้อความเหมือนเดิม แต่ลดทอนการใช้เส้น และใช้พน้ื หลังสดี ำโปรง่ แสง ซ้อนใต้พน้ื ที่ของขอ้ ความเช่นเดมิ เพอื่ ใหข้ อ้ ความสามารถมองเห็นได้เดน่ ชดั ข้ึน
ห น ้ า | 10 รปู ภาพ 6 ตวั อย่างรปู แบบ Square ประกอบเนอ้ื หาบน News Rewind (Version 2) สิ่งที่มีเหมอื นกันในภาพประกอบเนื้อหา ทั้ง 2 เวอร์ชั่น คือ การพยายามทำให้รูปแบบมีความยดื หยุ่น สามารถปรบั เปล่ยี นใหเ้ หมาะสมไดม้ ากท่ีสุด และแบบอกั ษร (Font) ท่ใี ช้ FC Iconic เปน็ หลัก ซ่ึงให้ความรู้สึก ทนั สมัย การพฒั นา (Development) เนอื้ หาทน่ี ำเสนอใน News Rewind จะเนน้ เรือ่ งราวหรอื ประเดน็ ข่าวท่ีเปน็ ท่สี นใจของคน ณ เวลาน้ัน โดยมจี ำนวนเน้อื หาท่ีนำเสนอท้งั หมด 21 ชนิ้ จาก 9 ประเด็นขา่ วหลัก ดังนี้ วนั ท่นี ำเสนอ เนื้อหาที่นำเสนอ 8 มนี าคม 2564 15 มีนาคม 2564 Introduction - เปิดตัว News Rewind 17 มนี าคม 2564 Rewind of The Day | กำเนิดหนงั สอื ราชกิจจานุเบกษา 18 มีนาคม 2564 #เลือกตัง้ เทศบาล64 | ทำความร้จู กั ประเภทของเทศบาล 19 มนี าคม 2564 Rewind of The Day | เหตุการณ์ Black Out 26 มีนาคม 2564 #เลือกตงั้ เทศบาล64 | จำนวนสมาชกิ สภาเทศบาล Rewind of The Day | ไวรัสเมลิสสา (Melissa) ไวรัสอีเมลอันโด่งดังแห่งยุค 26 มนี าคม 2564 1990 7 เมษายน 2564 #เลือกตงั้ เทศบาล64 | เตรยี มตัวกอ่ นไปเลือกตัง้ เทศบาล 9 เมษายน 2564 Rewind of The Day | วันอนามยั โลก (World Health Day) 11 เมษายน 2564 #COVID19 | โลกของเรา เจอไวรัสโควิด-19 สายพนั ธุ์ไหนแล้วบ้าง? Rewind of The Day | 11 เมษายน 2539 - รำลกึ “แสงชยั สุนทรวัฒน”์ ผู้พลิก ฟน้ื อ.ส.ม.ท. จากแดนสนธยา
ห น ้ า | 11 วนั ทน่ี ำเสนอ เน้อื หาที่นำเสนอ 28 เมษายน 2564 #เรื่องรอบตัว | #SaveRalph กระต่ายผู้เป็นภาพสะท้อนการทรมานสัตว์เพ่ือ ความงาม 30 เมษายน 2564 #COVID19 | รูจ้ กั ชนิดของวัคซนี ผา่ นวคั ซนี โควดิ -19 1 พฤษภาคม 2564 #COVID19 | 1 เดือน โควิด-19 รอบ 3 สถานการณเ์ ป็นอย่างไร? 7 พฤษภาคม 2564 #ttb | จาก “TMB | Thanachart” สแู่ บงก์ใหม่ “ttb (ทีทีบี)” 9 พฤษภาคม 2564 #COVID19 | สำรวจโทษปรับเมือ่ ไมส่ วมหน้ากาก ไทย VS ต่างประเทศ 13 พฤษภาคม 2564 #AnimalTesting | จาก #SaveRalph สู่การเข้าใจเรือ่ งสตั ว์ทดลอง 13 พฤษภาคม 2564 #วัคซีนทางเลือก | สรรพากรแจง วัคซีนทางเลือก ต้องเสียภาษี 2 ต่อ ไม่เป็น ความจริง 14 พฤษภาคม 2564 #เรื่องรอบตัว | ทำความรู้จัก กฎหมายวินัยการเงินการคลัง กรอบเพื่อการรักษา วนิ ยั การคลังของชาติ 15 พฤษภาคม 2564 #CPTPP | ขอ้ ตกลงการคา้ CPTPP ข้อตกลงท่คี นไทยไมป่ รารถนา 15 พฤษภาคม 2564 #หน้ีสาธารณะ | หนี้สาธารณะไทย ณ วันนี้ อยูท่ จ่ี ุดไหน? 16 พฤษภาคม 2564 #เรียนรจู้ ากขา่ วดงั | ใช้เครือ่ งทำน้ำอุ่นระบบแก๊ส อย่างไรให้ปลอดภยั ? ตาราง 2 ตารางการเผยแพรเ่ นอ้ื หาบน News Rewind เมื่อได้ประเด็นที่จะนำเสนอแล้ว จะทำการสืบค้นข้อมูล และตรวจสอบข้อมูลกับสำนักข่าวต่าง ๆ ที่ เคยมีการนำเสนอไปก่อนหน้าน้ี หรือตรวจสอบจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น กระทรวง ทบวง กรม เป็นต้น เพื่อให้แน่ใจวา่ ขอ้ มูลท่ีนำเสนอมีความถูกต้องมากที่สุด ก่อนจะนำเสนอออกไปตามช่องทางต่าง ๆ ของ News Rewind การนำไปใช้ (Implement) หลังจากพัฒนาเนื้อหาเสร็จแล้ว จะทำการเผยแพร่บนช่องทางต่าง ๆ ของ News Rewind ทั้ง Facebook, Twitter, Instagram และ Blockdit และให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านสื่อ ทำการประเมิน คุณภาพของช้ินงานที่นำเสนอ
ห น ้ า | 12 การประเมินผล (Evaluation) การประเมินผล โครงการ การพัฒนาพื้นที่ออนไลน์สำหรับการเรียนรู้ผ่านปรากฎการณ์ทางสังคมที่น่าสนใจ (News Rewind) จะประเมินใน 4 เรื่อง ได้แก่ - การประเมนิ คุณภาพเนอื้ หา - การประเมินคณุ ภาพสอื่ - การสำรวจความคดิ เห็นของผู้ใช้เพอ่ื พฒั นาเนอื้ หา - การรายงานผลการดำเนนิ งาน (Performance Report) จำนวนผูป้ ระเมนิ ผล • การประเมินโดยผูเ้ ชยี่ วชาญด้านเนื้อหา จำนวน 1 คน • การประเมนิ โดยผเู้ ชย่ี วชาญด้านสอื่ จำนวน 1 คน • ความคดิ เห็นของผู้ใชง้ าน จำนวน 3 คน ขน้ั ตอนการประเมินผล ประเมินผลผ่านแบบประเมนิ โดยใชม้ าตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) โดยแบง่ เปน็ 5 ระดับ ดังนี้ 5 หมายถึง มากท่สี ดุ 4 หมายถึง มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถงึ น้อย 1 หมายถึง นอ้ ยท่ีสุด เกณฑ์การแปลผล 4.21-5.00 หมายถงึ มากทสี่ ดุ 3.41-4.20 หมายถงึ มาก 2.61-3.40 หมายถึง ปานกลาง 1.81-2.60 หมายถงึ น้อย 1.00-1.80 หมายถงึ น้อยท่สี ุด
ห น ้ า | 13 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน ผลการประเมนิ คุณภาพโดยรวมของเน้ือหา รายการประเมิน คะแนน 1. เน้ือหาทน่ี ำเสนอ มีความถูกต้อง 4 2. เนอ้ื หาท่นี ำเสนอ ใชภ้ าษาท่เี หมาะสม เขา้ ใจได้ 5 งา่ ย 3. เนอ้ื หาท่นี ำเสนอ มคี วามหลากหลาย 4 4. ประเดน็ ที่เลอื กมานำเสนอ มคี วามน่าสนใจ 4 5. เนื้อหาทน่ี ำเสนอ สามารถนำมาต่อยอดเปน็ การ 4 เรยี นรู้ได้ คะแนนเฉลีย่ ทงั้ หมด 4.20 ตาราง 3 ผลการประเมนิ คณุ ภาพโดยรวมของเนอ้ื หา จากผลการประเมินคุณภาพด้านเน้ือหา ไดค้ ะแนนการประเมินเฉลย่ี อยู่ท่ี 4.20 อยู่ในระดบั มีคุณภาพ มาก โดยดา้ นที่ทำได้ดีที่สุด คอื การใช้ภาษาทเ่ี หมาะสมกบั เนื้อหา เขา้ ใจเนือ้ หาได้ง่าย เป็นเพียงด้านเดียวที่ได้ ระดับ 5 คอื มากทส่ี ดุ ส่วนด้านอ่นื ๆ ท่ีเหลอื ไดค้ ะแนนในระดับมาก ความคดิ เหน็ จากผู้เชี่ยวชาญด้านเน้อื หา ดร.ณัฐวฒั น์ วัชรจิตตานนท์ อาจารยป์ ระจำคณะวิทยาการเรยี นรู้และศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ดร.ณฐั วัฒน์ ใหค้ วามเห็นว่า เนื้อหาดี สรปุ ขอ้ มูลมาดี ผลการประเมนิ คณุ ภาพโดยรวมของสื่อ คะแนนเฉล่ีย รายการประเมิน 3.50 ดา้ นที่ 1: ด้านอักษร 4.00 1. ขนาดอกั ษรท่ีใช้ อ่านง่าย ชัดเจน 4.50 2. รูปแบบอักษรทใี่ ชส้ วยงาม เข้ากบั สื่อ 3.50 3. เลอื กใช้สตี ัวอกั ษรและพื้นหลังไดเ้ หมาะสม 4. มีการจัดวางตัวอักษรได้เหมาะสม
ห น ้ า | 14 รายการประเมนิ คะแนนเฉล่ยี 5. ตวั อักษรใช้คำสะกดถกู ต้องตามหลักภาษา 4.50 คะแนนเฉล่ยี ดา้ นที่ 1 4.00 ด้านที่ 2: ดา้ นภาพ และ Infographic 1. ขนาดของภาพประกอบมีความเหมาะสม 3.50 2. ออกแบบ Infographic ได้เหมาะสมกับเรอ่ื งที่ 4.00 นำเสนอ 3. Infographic มคี วามเหมาะสม สื่อสารเขา้ ใจง่าย 4.00 คะแนนเฉลย่ี ดา้ นท่ี 2 3.83 คะแนนเฉล่ยี ท้ังหมด 3.94 ตาราง 4 ผลการประเมนิ คณุ ภาพโดยรวมของสื่อ จากผลการประเมนิ คณุ ภาพส่ือ ไดค้ ะแนนเฉลย่ี อยู่ที่ 3.94 อยู่ในระดับมีคุณภาพดี โดยการประเมินท้ัง 2 ด้าน ได้คะแนนเฉลี่ยที่ 4.00 และ 3.83 ตามลำดับ เรื่องที่ได้รับผลการประเมินดีที่สุด คือ การเลือกใช้สี ตวั อกั ษรและพื้นหลังได้เหมาะสม และการสะกดคำท่ีถูกต้องตามหลักภาษา ส่วนดา้ นทีต่ ้องปรับปรุงในอนาคต คอื ขนาดตวั อกั ษร การจัดวางตัวอกั ษร และขนาดของภาพประกอบทีย่ ังไมเ่ หมาะสม ความคิดเหน็ จากผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นส่อื - ท้ังหมด 2 ทา่ น คุณปญั ชสา เชาวน์ชูเวชช นักศึกษาระดับปรญิ ญาโท คณะวิทยาการเรียนรูแ้ ละศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ คุณปญั ชสา ใหค้ วามเห็นวา่ ช่นื ชอบไอเดยี น้ี ขอ้ ดี คอื มีความพยายามและตั้งใจหาเนื้อหาของข้อมูลที่ หลากหลาย มีแหล่งอ้างอิง ข้อมูลมีความทันสมัยตามสถานการณป์ จั จุบัน ส่วนที่อยากให้ปรับปรุง คือ ปรับตัว สื่อที่นำเสนอใหด้ ูไม่วิชาการ ดูจริงจังจนเกินไป เพราะเนื้อหาน่าสนใจ จึงอยากให้คนตั้งใจอ่านเยอะ ๆ รวมท้ัง ให้เพิ่มการสื่อด้วยภาพแทนข้อความในรูปมากขึ้น เพื่อไม่ให้ตัวอักษรอัดแน่นในภาพมากเกินไป และเลือกแค่ ประเด็นทีน่ า่ สนใจใส่ลงในภาพพรอ้ มเพม่ิ ขนาดตวั อักษร แล้วยกรายละเอยี ดอน่ื ๆ ไปอธบิ ายในโพสต์แทน ดร.ญาดา อรรถอนันต์ อาจารย์ประจำคณะวทิ ยาการเรียนรแู้ ละศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ดร.ญาดา ให้ความเห็นวา่ ชอบไอเดยี ของ News Rewind ทีเ่ ป็นการนำขา่ วและสถานการณ์ปัจจุบันท่ี เกดิ ขนึ้ ผนวกกบั สาระความรู้ท่ีเกี่ยวกับข่าวนน้ั ๆ และแบบอักษร (Font) ทใ่ี ช้ สามารถอา่ นไดง้ ่าย แต่ยังเห็นว่า Infographic บางชิน้ ยงั พัฒนาได้อีก ทง้ั การใชข้ นาดอักษร การพลกิ แพลงการออกแบบของชิ้นงานให้แตกต่าง
ห น ้ า | 15 ตามประเด็นการนำเสนอ จำนวนข้อมูลบน Infographic บางชิ้นเยอะไป ขาดการใช้ภาพในการสื่อความ และ การจัดองค์ประกอบที่ยงั ไม่สมดลุ นอกจากนี้ ดร.ญาดา เสนอแนะว่า ควรเพิ่มรูปแบบสื่ออื่น ๆ ให้มากขึ้น เช่น วิดีโอ หรือ รายการ เผยแพร่เสียง (Podcast) เพราะบางเนื้อหา บางประเด็นข่าว สามารถนำเสนอได้ดีกว่า เห็นภาพชัดเจนกว่า เมอื่ ใช้ส่ืออ่นื แทน Infographic อย่างเดียว ความคดิ เหน็ จากผู้ใช้งาน การรวบรวมความคิดเห็นจากผู้ติดตาม จะรวบรวมผ่านทาง Google Forms ในชื่อ We Need Your Thought โดยการรวบรวมความคิดเห็นดังกล่าว จะนำไปใช้เพื่อพัฒนาเนื้อหาของ News Rewind ให้ตอบ โจทย์และหลากหลายข้นึ ผู้ติดตามส่วนใหญ่ที่แสดงความคิดเห็น ชื่นชอบการใช้ Infographic ในการนำเสนอ การนำเสนอ เนอื้ หาท่ีเข้าใจไดย้ ากใหเ้ ข้าใจง่าย และการนำเสนอเนื้อหา Rewind of The Day ขณะที่ส่วนที่ยังทำได้ไม่ดี คือ การใช้สีในบางเนื้อหา และข้อมูลที่ยังแน่นไปใน Infographic บางชิ้น ทำใหร้ สู้ กึ ไมส่ บายตา เนื้อหาที่ผู้ติดตามอยากเห็นเพิ่มเติมในอนาคต มีทั้งเนื้อหาที่หลากหลายขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจ กีฬา ไลฟ์สไตล์ รวมถึงอยากเห็นเนื้อหาเชิงให้ความรู้ สรุปข้อมูลยาก ๆ ให้เข้าใจง่าย และประเด็นข่าวที่ประชาชน ควรตระหนัก ควรได้รับความรู้ทถ่ี กู ตอ้ ง ผลการดำเนนิ งาน (Performance Report) ข้อมูล ณ วนั ท่ี 18 พฤษภาคม 2564 จำนวนผ้ตู ิดตาม (Followers) ช่องทาง จำนวนผตู้ ิดตาม (Followers) Facebook 88 Twitter 1 Instagram 9 Blockdit 25 ตาราง 5 จำนวนผู้ตดิ ตามในช่องทางต่าง ๆ ของ News Rewind
ห น ้ า | 16 ขอ้ มูลเชงิ ลกึ ของผตู้ ิดตาม (Insight) Blockdit: จำนวนผูต้ ิดตามท้งั หมดผ่านช่องทาง Blockdit จำนวน 25 คน แบ่งตามช่วงอายุได้ ดังน้ี ช่วงอายุ จำนวนผตู้ ิดตาม 18-24 ปี (คน) 4 25-34 ปี 5 35-44 ปี 4 45-54 ปี 7 55-64 ปี 2 ตาราง 6 จำนวนผู้ตดิ ตามผ่านช่องทาง Blockdit แบ่งตามชว่ งอายุ จากตารางและแผนภมู ิ พบวา่ ช่วงอายขุ องผู้ตดิ ตามจะมตี ั้งแต่ชว่ งอายุ 18-24 ปี ไปจนถึงช่วงอายุ55- 64 ปี และกล่มุ อายุทเ่ี ปน็ ผตู้ ดิ ตามส่วนใหญจ่ ะเป็นผู้ท่ีมอี ายุ 45-54 ปี ซึ่งมีทั้งหมด 7 คน Facebook: จำนวนผ้ทู ม่ี เี นอื้ หาจาก News Rewind ปรากฎบนหน้าจอ กลมุ่ สว่ นใหญท่ ่ีเข้าถงึ เนื้อหาของ News Rewind ผ่านช่องทาง Facebook Fan Page พบว่า กลุม่ อายุ 18-24 ปี เป็นผ้ทู ่ีมีเนื้อหาปรากฎบนหน้าจอมากทสี่ ดุ ตามด้วยกลุ่มอายุ 25-34 ปี และ 35-44 ปี ตามลำดบั
ยอดการเขา้ ถึง (Engagement) ห น ้ า | 17 ชอ่ งทาง Facebook จำนวนการมสี ่วนรว่ ม (Engagement) เรอื่ งที่นำเสนอ จำนวนการเข้าถึง (Reach) 16 1. Introduction - เปดิ ตวั News Rewind 3 2. Rewind of The Day | กำเนดิ หนงั สือราชกิจจา 140 6 นเุ บกษา 49 13 3. #เลือกต้งั เทศบาล64 | ทำความร้จู ักประเภทของ 6 เทศบาล 55 5 4. Rewind of The Day | เหตุการณ์ Black Out 11 5. #เลือกตั้งเทศบาล64 | จำนวนสมาชิกสภาเทศบาล 240 4 6. Rewind of The Day | ไวรสั เมลสิ สา (Melissa) 55 10 ไวรสั อีเมลอนั โดง่ ดังแห่งยุค 1990 759 32 7. #เลือกตง้ั เทศบาล64 | เตรียมตัวกอ่ นไปเลอื กต้งั เทศบาล 783 3 8. Rewind of The Day | วันอนามัยโลก (World 2 Health Day) 53 15 9. #COVID19 | โลกของเรา เจอไวรสั โควิด-19 สาย 6 พนั ธ์ไุ หนแล้วบ้าง? 1,514 10. Rewind of The Day | 11 เมษายน 2539 - รำลึก “แสงชัย สนุ ทรวฒั น์” ผพู้ ลิกฟ้ืน อ.ส.ม.ท. จากแดน 797 สนธยา 11. #เร่ืองรอบตวั | #SaveRalph กระต่ายผเู้ ป็นภาพ 54 สะทอ้ นการทรมานสัตว์เพื่อความงาม 12. #COVID19 | รูจ้ ักชนดิ ของวคั ซีน ผา่ นวคั ซีนโควิด- 45 19 13. #COVID19 | 1 เดือน โควิด-19 รอบ 3 603 สถานการณ์เป็นอยา่ งไร? 14. #ttb | จาก “TMB | Thanachart” ส่แู บงกใ์ หม่ 114 “ttb (ทที บี ี)”
ห น ้ า | 18 เรอื่ งท่ีนำเสนอ จำนวนการเข้าถงึ จำนวนการมสี ่วนรว่ ม (Reach) (Engagement) 15. #COVID19 | สำรวจโทษปรบั เมื่อไมส่ วมหน้ากาก 54 2 ไทย VS ต่างประเทศ 16. #AnimalTesting | จาก #SaveRalph สกู่ ารเข้าใจ 29 3 เร่ืองสตั ว์ทดลอง 17. #วัคซนี ทางเลือก | สรรพากรแจง วัคซนี ทางเลือก 27 3 ตอ้ งเสียภาษี 2 ต่อ ไมเ่ ปน็ ความจรงิ 18. #เร่อื งรอบตัว | ทำความรู้จกั กฎหมายวินัยการเงนิ 13 0 การคลัง กรอบเพื่อการรักษาวนิ ัยการคลังของชาติ 19. #CPTPP | ข้อตกลงการค้า CPTPP ข้อตกลงที่คน 539 10 ไทยไม่ปรารถนา 20. #หนสี้ าธารณะ | หนสี้ าธารณะไทย ณ วนั นี้ อยูท่ ่จี ดุ 26 1 ไหน? 21. #เรยี นรจู้ ากข่าวดงั | ใช้เคร่อื งทำนำ้ อนุ่ ระบบแก๊ส 12 0 อยา่ งไรให้ปลอดภัย? ตาราง 7 จำนวนยอดการเข้าถึงเนอ้ื หาต่าง ๆ ผา่ นช่องทาง Facebook จากจำนวนการเข้าถงึ เนื้อหาผ่านช่องทาง Facebook จะพบวา่ เร่ือง “#COVID19 | โลกของเรา เจอ ไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์ไหนแล้วบ้าง?” เป็นโพสต์ที่มีการเข้าถึงเนื้อหามากที่สุด ถึง 1,514 ครั้ง ขณะท่ี “Rewind of The Day | 11 เมษายน 2539 - รำลึก “แสงชัย สุนทรวัฒน์” ผู้พลิกฟื้น อ.ส.ม.ท. จากแดน สนธยา” เป็นโพสต์มีการมสี ว่ นร่วมมากที่สดุ และโดดเด่นกว่าเนื้อหาอ่ืน ๆ ดว้ ยจำนวนการมสี ่วนร่วมในเนื้อหา ถงึ 32 คร้ัง
ช่องทาง Blockdit ห น ้ า | 19 เรื่องทน่ี ำเสนอ จำนวนการ จำนวนการ จำนวนการมี รับชม ส่วนร่วม เขา้ ถงึ (Views) (Engagement) (Reach) 1,655 50 42 1 1. Introduction - เปดิ ตวั News Rewind 1,393 37 3 58 5 2. Rewind of The Day | กำเนดิ หนงั สอื ราช 8 96 24 56 2 กจิ จานเุ บกษา 81 3 80 17 3. #เลอื กตั้งเทศบาล64 | ทำความรจู้ ัก 8 94 8 70 6 ประเภทของเทศบาล 92 3 4. Rewind of The Day | เหตกุ ารณ์ Black 9 113 9 112 2 Out 101 20 5. #เลือกตง้ั เทศบาล64 | จำนวนสมาชกิ สภา 15 เทศบาล 6. Rewind of The Day | ไวรสั เมลสิ สา 13 (Melissa) ไวรสั อีเมลอันโด่งดังแหง่ ยคุ 1990 7. #เลือกต้งั เทศบาล64 | เตรียมตัวก่อนไป 16 เลอื กต้ังเทศบาล 8. Rewind of The Day | วันอนามัยโลก 19 (World Health Day) 9. #COVID19 | โลกของเรา เจอไวรัสโควิด- 35 19 สายพันธ์ไุ หนแลว้ บา้ ง? 10. Rewind of The Day | 11 เมษายน 19 2539 - รำลกึ “แสงชยั สนุ ทรวัฒน”์ ผูพ้ ลิก ฟ้ืน อ.ส.ม.ท. จากแดนสนธยา 11. #เร่ืองรอบตวั | #SaveRalph กระตา่ ยผู้ 52 เป็นภาพสะท้อนการทรมานสัตว์เพอ่ื ความงาม 12. #COVID19 | รู้จักชนดิ ของวคั ซีน ผา่ น 54 วคั ซีนโควิด-19 13. #COVID19 | 1 เดอื น โควิด-19 รอบ 3 47 สถานการณ์เป็นอย่างไร? 14. #ttb | จาก “TMB | Thanachart” สู่ 52 แบงกใ์ หม่ “ttb (ทีทีบี)”
ห น ้ า | 20 เรอ่ื งท่นี ำเสนอ จำนวนการ จำนวนการ จำนวนการมี สว่ นรว่ ม เขา้ ถึง รับชม (Engagement) (Reach) (Views) 6 15. #COVID19 | สำรวจโทษปรับเม่อื ไม่สวม 50 89 2 หนา้ กาก ไทย VS ต่างประเทศ 5 16. #AnimalTesting | จาก #SaveRalph สู่ 68 92 2 การเข้าใจเร่ืองสัตวท์ ดลอง 7 17. #วัคซนี ทางเลือก | สรรพากรแจง วคั ซนี 43 67 6 ทางเลือก ตอ้ งเสียภาษี 2 ตอ่ ไม่เปน็ ความจริง 2 18. #เรื่องรอบตัว | ทำความรู้จัก กฎหมาย 58 86 วินัยการเงนิ การคลงั กรอบเพื่อการรักษาวนิ ยั การคลงั ของชาติ 19. #CPTPP | ข้อตกลงการค้า CPTPP 64 91 ข้อตกลงท่ีคนไทยไม่ปรารถนา 20. #หน้ีสาธารณะ | หนส้ี าธารณะไทย ณ 76 113 วนั นี้ อยทู่ ี่จุดไหน? 21. #เรียนรูจ้ ากขา่ วดัง | ใชเ้ ครอ่ื งทำนำ้ อุน่ 51 84 ระบบแกส๊ อยา่ งไรใหป้ ลอดภัย? ตาราง 8 จำนวนยอดการเขา้ ถงึ เนอ้ื หาตา่ ง ๆ ผา่ นช่องทาง Blockdit จากจำนวนการเข้าถึงเนื้อหาผ่านช่องทาง Blockdit จะพบว่า ประเด็นเกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) และประเดน็ ข่าวเศรษฐกิจและธุรกิจ เป็นกลุ่มประเดน็ ข่าวท่ีผู้ติดตามใน ช่องทางดังกล่าวให้ความสนใจมากเป็นพิเศษ ดูได้จากจำนวนผู้คนที่เข้าถึงเนื้อหากลุ่มดังกล่าว ซึ่งมีจำนวน มากกวา่ เน้ือหาในประเด็นขา่ วอืน่ ๆ
ชอ่ งทาง Instagram ห น ้ า | 21 เร่ืองที่นำเสนอ จำนวนการเข้าถงึ จำนวนการมีส่วนร่วม (Reach) (Engagement) 1. Introduction - เปิดตวั News Rewind 2. Rewind of The Day | กำเนดิ หนังสือราชกจิ จา 7 3 นเุ บกษา 9 1 3. #เลือกตั้งเทศบาล64 | ทำความรูจ้ กั ประเภทของ 2 เทศบาล 12 2 4. Rewind of The Day | เหตกุ ารณ์ Black Out 1 5. #เลอื กต้ังเทศบาล64 | จำนวนสมาชกิ สภาเทศบาล 9 2 6. Rewind of The Day | ไวรัสเมลสิ สา (Melissa) 15 2 ไวรัสอเี มลอันโด่งดังแห่งยคุ 1990 6 1 7. #เลือกตัง้ เทศบาล64 | เตรียมตวั กอ่ นไปเลอื กต้งั 5 เทศบาล 15 2 8. Rewind of The Day | วันอนามยั โลก (World Health Day) 5 6 9. #COVID19 | โลกของเรา เจอไวรัสโควิด-19 สาย 6 พันธุ์ไหนแลว้ บา้ ง? 9 4 10. Rewind of The Day | 11 เมษายน 2539 - รำลกึ 4 “แสงชยั สนุ ทรวัฒน์” ผพู้ ลิกฟืน้ อ.ส.ม.ท. จากแดน 6 5 สนธยา 11. #เร่อื งรอบตวั | #SaveRalph กระตา่ ยผเู้ ปน็ ภาพ 24 สะท้อนการทรมานสตั วเ์ พ่ือความงาม 12. #COVID19 | ร้จู กั ชนดิ ของวัคซนี ผา่ นวคั ซนี โควิด- 5 19 13. #COVID19 | 1 เดือน โควดิ -19 รอบ 3 11 สถานการณ์เปน็ อย่างไร? 14. #ttb | จาก “TMB | Thanachart” สู่แบงก์ใหม่ 9 “ttb (ทีทีบ)ี ” 15. #COVID19 | สำรวจโทษปรบั เมอ่ื ไม่สวมหนา้ กาก 8 ไทย VS ต่างประเทศ
ห น ้ า | 22 เร่อื งท่นี ำเสนอ จำนวนการเขา้ ถึง จำนวนการมีส่วนร่วม (Reach) (Engagement) 16. #AnimalTesting | จาก #SaveRalph สู่การเข้าใจ 19 3 เรือ่ งสัตวท์ ดลอง 17. #วคั ซีนทางเลอื ก | สรรพากรแจง วัคซนี ทางเลือก 10 3 ต้องเสียภาษี 2 ต่อ ไมเ่ ปน็ ความจรงิ 18. #เรอ่ื งรอบตวั | ทำความรู้จกั กฎหมายวินยั การเงิน 4 2 การคลงั กรอบเพ่ือการรักษาวินัยการคลงั ของชาติ 19. #CPTPP | ข้อตกลงการค้า CPTPP ข้อตกลงทีค่ น 113 18 ไทยไม่ปรารถนา 20. #หนี้สาธารณะ | หนี้สาธารณะไทย ณ วันน้ี อยทู่ ีจ่ ุด 6 3 ไหน? 21. #เรียนร้จู ากข่าวดงั | ใชเ้ ครอ่ื งทำน้ำอนุ่ ระบบแก๊ส 6 3 อยา่ งไรให้ปลอดภัย? ตาราง 9 จำนวนยอดการเขา้ ถงึ เนอ้ื หาตา่ ง ๆ ผา่ นชอ่ งทาง Instagram จากจำนวนการเข้าถึงเน้ือหาผา่ นช่องทาง Instagram จะพบว่า ประเด็นข่าวที่ไดร้ ับความสนใจและมี ยอดการเข้าถึงสูงที่สุด คือ ประเด็นข้อตกลงทางการค้า CPTPP ซึ่งมียอดการเข้าถึง 113 ครั้ง และมีจำนวน การมสี ว่ นรว่ มมากถงึ 18 คร้งั สงู ทส่ี ุดในบรรดาเน้ือหาตา่ ง ๆ ท่ีนำเสนอในชว่ งทผี่ า่ นมา
ช่องทาง Twitter ห น ้ า | 23 เรอ่ื งท่ีนำเสนอ จำนวนการเห็น จำนวนการมสี ่วนรว่ ม (Impression) (Engagement) 1. Introduction - เปดิ ตวั News Rewind 2. Rewind of The Day | กำเนิดหนังสือราชกิจจา 120 2 นุเบกษา 181 4 3. #เลอื กตั้งเทศบาล64 | ทำความรูจ้ กั ประเภทของ 11 เทศบาล 281 0 4. Rewind of The Day | เหตกุ ารณ์ Black Out 2 5. #เลอื กตงั้ เทศบาล64 | จำนวนสมาชกิ สภาเทศบาล 191 0 6. Rewind of The Day | ไวรัสเมลิสสา (Melissa) 211 23 ไวรัสอีเมลอันโด่งดังแห่งยคุ 1990 186 2 7. #เลือกตั้งเทศบาล64 | เตรียมตวั ก่อนไปเลือกตัง้ 37 เทศบาล 391 2 8. Rewind of The Day | วันอนามยั โลก (World Health Day) 165 2 9. #COVID19 | โลกของเรา เจอไวรัสโควดิ -19 สาย 7 พันธไ์ุ หนแล้วบ้าง? 460 11 10. Rewind of The Day | 11 เมษายน 2539 - รำลึก 16 “แสงชัย สนุ ทรวัฒน”์ ผูพ้ ลกิ ฟื้น อ.ส.ม.ท. จากแดน 137 5 สนธยา 11. #เรื่องรอบตวั | #SaveRalph กระต่ายผูเ้ ปน็ ภาพ 120 สะท้อนการทรมานสัตว์เพื่อความงาม 12. #COVID19 | รจู้ กั ชนดิ ของวคั ซีน ผ่านวัคซนี โควิด- 181 19 13. #COVID19 | 1 เดอื น โควดิ -19 รอบ 3 268 สถานการณ์เปน็ อยา่ งไร? 14. #ttb | จาก “TMB | Thanachart” สแู่ บงกใ์ หม่ 192 “ttb (ทีทบี ี)” 15. #COVID19 | สำรวจโทษปรบั เม่ือไมส่ วมหน้ากาก 81 ไทย VS ตา่ งประเทศ
ห น ้ า | 24 เรอ่ื งที่นำเสนอ จำนวนการเหน็ จำนวนการมีสว่ นร่วม (Impression) (Engagement) 16. #AnimalTesting | จาก #SaveRalph สกู่ ารเข้าใจ 9 0 เรื่องสัตวท์ ดลอง 17. #วคั ซีนทางเลอื ก | สรรพากรแจง วคั ซีนทางเลอื ก 36 0 ตอ้ งเสยี ภาษี 2 ต่อ ไมเ่ ปน็ ความจรงิ 18. #เร่อื งรอบตวั | ทำความรู้จัก กฎหมายวินัยการเงิน 8 0 การคลัง กรอบเพื่อการรกั ษาวนิ ัยการคลังของชาติ 19. #CPTPP | ข้อตกลงการค้า CPTPP ข้อตกลงที่คน 329 54 ไทยไมป่ รารถนา 20. #หนส้ี าธารณะ | หนส้ี าธารณะไทย ณ วันนี้ อย่ทู จี่ ุด 35 14 ไหน? 21. #เรยี นรู้จากข่าวดงั | ใช้เครือ่ งทำน้ำอุ่นระบบแกส๊ 2 0 อย่างไรใหป้ ลอดภยั ? ตาราง 10 จำนวนยอดการเข้าถงึ เนื้อหาต่าง ๆ ผา่ นชอ่ งทาง Twitter จากจำนวนการเข้าถึงเนื้อหาผ่านช่องทาง Twitter จะพบว่า จำนวนการเห็นเนื้อหาบนช่องทาง ดังกลา่ ว สว่ นใหญ่จะมีจำนวนอยู่ในหลักร้อยครั้ง ขณะท่ีจำนวนการมีสว่ นรว่ ม พบว่าประเดน็ ของโรคโควิด-19 และประเด็น CPTPP เป็นประเดน็ ท่ีมีการมีส่วนร่วมจากผใู้ ชง้ าน Twitter เยอะที่สุด
ห น ้ า | 25 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนนิ งาน การพัฒนาพื้นท่ีออนไลนส์ ำหรับการเรียนร้ผู ่านปรากฎการณ์ทางสังคมทน่ี ่าสนใจ (News Rewind) นี้ สามารถสรุปผลการดำเนนิ โครงการ และข้อเสนอแนะ ดงั น้ี ภาพรวมการดำเนนิ งาน ตลอดระยะเวลากว่า 3 เดือนของการพัฒนาโครงการนี้ ทำให้เห็นว่าเนื้อหาข่าวที่มีคุณภาพ มีสาระ ความรู้ ยังเป็นสิ่งที่คนไทยหลายคนต้องการ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งข่าวสารที่เปลี่ยนไปในยคุ ดจิ ิทัล แม้วา่ ตัวเลขของการเข้าถึงเนื้อหาในแตล่ ะช่องทางการนำเสนอของ News Rewind จะยังไม่ได้มากอาจ ต้องใช้เวลาอีกระยะหนงึ่ ในการทจ่ี ะทำให้ภาพของ News Rewind เป็นท่ีนึกถงึ ของคนท่บี รโิ ภคข่าวสาร ทศิ ทางต่อไปของโครงการ News Rewind จะยังคงดำเนินต่อไป โดยพัฒนาเนื้อหาข่าวให้มีความหลากหลายมากขึ้น พัฒนา รูปแบบของสื่อให้มีความแตกต่าง หลากหลายรูปแบบ และเข้าถึงง่ายมากขึ้น แต่ยังคงความน่าเชื่อถือไว้ เช่นเดิม รวมทั้ง ได้มีการพูดคุยเบื้องต้นกับ The Modernist ซึ่งเป็น Online News Magazine Creator ใน การร่วมพฒั นาเนื้อหาใน The Modernist ใหห้ ลากหลายข้นึ ด้วย ขอ้ เสนอแนะ - พัฒนาและเพิ่มรูปแบบสื่อที่ใช้ในการนำเสนอเนื้อหาให้หลากหลายขึ้น เช่น รายการ Podcast, วิดีโอ ขนาดสั้น ไม่เกิน 5 นาที เป็นต้น เพื่อเพิ่มความน่าสนใจในการนำเสนอเนื้อหา เพิ่มการดึงดูดความ สนใจในการติดตามเน้อื หาจาก News Rewind - พัฒนาการออกแบบชิ้นงาน ทั้งภาพประกอบเนื้อหา และ Infographic ให้มีสีสันที่สดใส หลากหลาย ข้นึ เพอ่ื สร้างความรู้สกึ เขา้ ถึงได้ง่าย ไมจ่ รงิ จงั จนเกินไปใหแ้ ก่ผู้ทตี่ ิดตามเนอ้ื หาของ News Rewind - เพม่ิ เนอ้ื หาขา่ วหมวดอืน่ ๆ เชน่ ธรุ กจิ การตลาด กระแสโลก เป็นตน้ เพอ่ื ใหต้ อบโจทย์กบั ผู้ติดตามที่มี ความสนใจแตกต่างกนั และเพิม่ ความหลากหลายในการนำเสนอเนอื้ หา
ห น ้ า | 26 บรรณานกุ รม การใช้สแี บบประสานกลมกลืน. (ม.ป.ป.). เข้าถึงไดจ้ าก ฟิสิกสร์ าชมงคล: http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/colour/colour2.htm ขวญั ชนก พุทธจันทร.์ (26 พฤศจิกายน 2563). การเรียนรูแ้ บบ Micro - Learning. เขา้ ถงึ ได้จาก สำนกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร:์ https://www.lib.ku.ac.th/2019/index.php/covid- 19/1041-microlearning เร่อื งเล่าดๆี ของสื่อญปี่ นุ่ . (21 มีนาคม 2554). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก Sanook.com: https://www.sanook.com/campus/935007/ วันชยั ตันติวทิ ยาพิทักษ์. (27 สงิ หาคม 2561). ทำไมข่าววิทยาศาสตรเ์ ป็นจุดอ่อนข่าวไทย. เขา้ ถงึ ได้จาก สาร คด:ี https://www.sarakadee.com/blog/oneton/?p=2249 สมนกึ แสนปวน. (19 กรกฎาคม 2563). 12 หลักการของการเรยี นรู้มลั ติมเี ดยี (12 Principles of Multimedia Learning). เข้าถึงไดจ้ าก https://pubhtml5.com/kvxq/bxgn/ Digitiv. (5 พฤศจิกายน 2561). คูม่ ือฉบับสมบรู ณ์สำหรบั สีในการออกแบบ: ความหมายของสี ทฤษฎสี ี และ อนื่ ๆ. เข้าถึงได้จาก Shutterstock: https://www.shutterstock.com/th/blog/complete- guide-color-in-design/ Hello Content. (23 เมษายน 2562). สี Infographic ดแี บรนดเ์ ปล่ยี น. เขา้ ถงึ ได้จาก Hello Ads Marketing: https://helloads.net/scoop/infographic-lucky-color/ Jan. (21 พฤศจิกายน 2562). เปิดพฤติกรรมคนไทย “5 GENs” เสพส่ือเก่า-ออนไลน์ เปลีย่ นไปอยา่ งไรในปี 2562. เข้าถึงไดจ้ าก Brand Buffet: https://www.brandbuffet.in.th/2019/11/thai-consumer- consumption-media-content-and-platforms-in-2019/ Marketeer Team. (14 ธันวาคม 2559). สี สง่ ผลอยา่ งไรต่อแบรนด์. เขา้ ถึงไดจ้ าก Marketeer: https://marketeeronline.co/archives/23492 Micro-Learning การเรยี นรู้แบบทีละเลก็ ทลี ะน้อย. (ม.ป.ป.). เขา้ ถึงไดจ้ าก BLS - Bridge Learning Solutions: https://www.bridgelearningsolutions.com/16881072/micro-learning-การ เรยี นรู้แบบทีละเล็กทลี ะน้อย
ห น ้ า | 27 Plook Teacher. (21 กันยายน 2563). Microlearning เทรนดก์ ารเรียนรใู้ หม่ของโลกยคุ ปจั จุบัน. เขา้ ถงึ ได้ จาก trueplookpanya: https://www.trueplookpanya.com/education/content/84614/- teaartedu-teaart- Pooly2533. (22 กนั ยายน 2562). ขา่ ว 9 อ.ส.ม.ท. - สรุ ิยปุ ราคาเต็มดวง (2538). [Video]. เข้าถึงได้จาก YouTube: https://www.youtube.com/watch?v=tn8z7Zmg-eE somzom. (29 สิงหาคม 2556). การออกแบบอนิ โฟกราฟิกส์ (Infographics Design). เขา้ ถึงไดจ้ าก learningstudio.info: https://www.learningstudio.info/infographics-design/
ห น ้ า | 28 ภาคผนวก
ห น ้ า | 29 ภาคผนวก ก ชอ่ งทางการนำเสนอเนอ้ื หา
ห น ้ า | 30 ภาคผนวก ก ท่ี 1 ช่องทาง Facebook Fan Page ภาคผนวก ก ท่ี 2 ชอ่ งทาง Twitter
ห น ้ า | 31 ภาคผนวก ก ที่ 3 ชอ่ งทาง Instagram
ห น ้ า | 32 ภาคผนวก ก ที่ 4 ชอ่ งทาง Blockdit
ห น ้ า | 33 ภาคผนวก ข ช้ินงานที่นำเสนอ ใน News Rewind
ห น ้ า | 34 ภาคผนวก ข ท่ี 1 ชน้ิ งาน “Introduction”
ห น ้ า | 35 ภาคผนวก ข ท่ี 2 ชิน้ งาน “Rewind of The Day | กำเนดิ หนงั สือราชกจิ จานเุ บกษา”
ห น ้ า | 36 ภาคผนวก ข ที่ 3 ชิ้นงาน “#เลอื กต้ังเทศบาล64 | ทำความรจู้ กั ประเภทของเทศบาล”
ห น ้ า | 37 ภาคผนวก ข ท่ี 4 ชิน้ งาน “Rewind of The Day | เหตกุ ารณ์ Black Out”
ห น ้ า | 38 ภาคผนวก ข ที่ 5 ช้ินงาน “#เลอื กต้ังเทศบาล64 | จำนวนสมาชกิ สภาเทศบาล”
ห น ้ า | 39 ภาคผนวก ข ที่ 6 ช้นิ งาน “Rewind of The Day | ไวรัสเมลิสสา (Melissa) ไวรัสอีเมลอนั โด่งดังแห่งยุค 1990”
ห น ้ า | 40 ภาคผนวก ข ที่ 7 ช้ินงาน “#เลอื กต้ังเทศบาล64 | เตรยี มตัวก่อนไปเลอื กตั้งเทศบาล”
ห น ้ า | 41 ภาคผนวก ข ท่ี 8 ชิน้ งาน “Rewind of The Day | วนั อนามยั โลก (World Health Day)”
ห น ้ า | 42 ภาคผนวก ข ที่ 9 ช้นิ งาน “#COVID19 | โลกของเรา เจอไวรสั โควิด-19 สายพนั ธุ์ไหนแล้วบ้าง?”
ห น ้ า | 43 ภาคผนวก ข ที่ 10 ชิ้นงาน “Rewind of The Day | 11 เมษายน 2539 - รำลึก “แสงชยั สนุ ทรวฒั น์” ผพู้ ลกิ ฟน้ื อ.ส.ม.ท. จากแดนสนธยา”
ห น ้ า | 44 ภาคผนวก ข ที่ 11 ชน้ิ งาน “#เรื่องรอบตัว | #SaveRalph กระตา่ ยผู้เป็นภาพสะท้อนการทรมานสัตว์ เพ่อื ความงาม”
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128