กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผล สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สงิ ห์บรุ ี สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารลำดบั ที่ 2/2564 กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผล สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั สิงห์บรุ ี
แนวทางการดำเนินงาน โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาการศกึ ษาของจังหวัดสิงหบ์ ุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผล สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั สงิ หบ์ ุรี สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
คำนำ แนวทางการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อ พฒั นาการศึกษาของจงั หวัดสิงห์บรุ ี เลม่ น้จี ัดทำขึน้ เพ่ือเสนอแนวทางการขับเคล่ือนโครงการให้มีประสิทธิภาพ ท้ังนโ้ี ครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาการศึกษาของจังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2564 มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ คือ 1) เพื่อให้สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สิงห์บุรี เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศนวัตกรรมทางการศึกษาและการวิจัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ใน ระดับจังหวัด 2) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้ 3) เพื่อวิเคราะห์/สงั เคราะห์ วิจยั และเผยแพรน่ วัตกรรมการบริหาร จัดการ การจัดการเรียนรู้ แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การบริหารการจัดการศึกษาในระดับ จังหวัด 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ให้สถานศึกษาพัฒนาผู้เรยี นมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน O-NET แต่ละวชิ าผา่ น เกณฑ์เพม่ิ ข้นึ กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสิงห์บุรี ขอขอบคุณคณะกรรมการ ดำเนินงานจากหน่วยงานทางการศึกษาทุกสังกัดในพื้นที่จังหวัดสิงห์บุรี ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจในการระดม ความคิด ออกแบบแนวทางการดำเนินการตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาของจังหวัดสิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2564 ให้ดำเนินไปอย่างมี ประสิทธภิ าพ เพอื่ ประสทิ ธผิ ลของคุณภาพการศกึ ษาของผเู้ รียนและสถานศึกษาที่สงู ขึ้น สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดสิงห์บุรี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การดำเนินงานตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาของจังหวัดสิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2564 จะส่งผลต่อ คุณภาพของผเู้ รยี นในทสี่ ดุ กลุม่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผล สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั สงิ ห์บรุ ี ก
สารบญั คำนำ 1 สารบญั 2 สว่ นที่ 1 หลักการและเหตุผลโครงการ 3 4 1.1 บทนำ 4 1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ 4 1.3 ขอบเขตของโครงการ 6 1.4 ความสำคัญของโครงการ 1.5 นิยามศพั ท์ของโครงการ 6 1.6 ตวั ช้วี ัดความสำเรจ็ ของโครงการ สว่ นท่ี 2 แนวทางการดำเนนิ งานโครงการ 7 2.1 แนวทางการจดั ทำศนู ย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม 8 และงานวิจัยทางการศึกษา 9 2.2 แนวทางการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมทางการบรหิ ารจดั การ 10 11 การจัดการเรียนรู้ การนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล 18 2.3 แนวทางการสงั เคราะห์ วิเคราะห์ วิจยั และเผยแพรน่ วตั กรรม 20 22 การบริหารจดั การศกึ ษา การจัดการเรยี นรู้ การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล 2.4 แนวทางการสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมอื ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่วนที่ 3 เคร่ืองมือ 3.1 แบบเก็บข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และงานวิจยั ทางการศกึ ษา 3.2 แบบนเิ ทศติดตามผลการดำเนนิ งานโครงการ 3.3 แบบรายงานพัฒนานวตั กรรม 3.4 แบบรายงานการสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือ ภาคผนวก 23 คณะทำงาน 43 ข
1 ส่วนท่ี 1 บทนำ หลกั การและเหตผุ ลของโครงการ การที่จะพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ให้เกิดขึ้นในอนาคตนั้น จะต้องให้ ความสำคัญกับการเสริมสร้างทุนของประเทศที่มีอยู่ให้เข้มแข็ง และมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อนกระบวนการ การพัฒนาทั้งในระยะกลางและระยะยาว โดยเฉพาะ “การพัฒนาคน” ให้มีการเตรียมความพร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ทักษะการเรียนรู้และการเสริมสร้างปัจจัย แวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของคน โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มาประยุกต์ใชท้ ั้งในเชิงระบบและโครงสร้างของสังคมไทยให้มี ภมู ิค้มุ กันตอ่ การเปลย่ี นแปลงต่าง ๆ ทจี่ ะเกิดขนึ้ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสขุ เศรษฐกิจพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาตยิ ั่งยืน” พัฒนาคนใน ทกุ มติ ิและในทุกชว่ งวยั ให้เป็นคนดี เก่ง และมคี ุณภาพ สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์และ วางเป้าหมายทสี่ ามารถตอบสนองการพฒั นาทส่ี ำคัญในด้านต่าง ๆ คอื ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ยุทธศาสตร์พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ที่มุ่งหวังให้คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาประเทศในอนาคต ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพและด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ยทุ ธศาสตร์ผลิต พฒั นาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ทม่ี ุง่ หวังใหม้ กี ารผลิตครูไดส้ อดคล้อง กับความต้องการในการจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้ศักยภาพ ในการสอนได้อย่างเต็มที่ ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนา กำลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ ที่มุ่งหวังให้กำลังคนได้รับการผลิต และพฒั นาเพ่ือเสริมสร้างศักยภาพการแขง่ ขันของประเทศ และมีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนับสนุนการ พัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ และด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ที่มุ่งหวังให้การบริการการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มทุกวัยในระดับที่เหมาะสมกับสภาพบริบทและสภาพพื้นที่ ซ่ึง ตอบสนองการพัฒนาในด้านการเข้าถึงการให้บริการและด้านความเท่าเทียม ยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ส่งเสริม และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ที่มุ่งหวังให้คนไทยได้รับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ซงึ่ ตอบสนองการพัฒนาในด้านการเข้าถึงการให้บริการ ด้านความเทา่ เทยี ม และด้าน ประสิทธิภาพ และยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการ และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน การจัดการศกึ ษา ท่มี ุง่ หวงั ให้มีการใช้ทรัพยากรท้ังด้านงบประมาณและบุคลากรได้อย่างคมุ้ คา่ ไม่เกิดการสูญเปล่า และมคี วามคล่องตวั ซงึ่ ตอบสนองการพัฒนาในดา้ นประสทิ ธิภาพ
2 จากรายงานสรุปผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2562 พบว่า ในแผนแม่บทด้านการพัฒนา การเรียนรู้ ซึ่งมีเป้าหมายให้วัยเรียน วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิดวิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มสี ำนึกพลเมอื ง มคี วามกล้าหาญทางจรยิ ธรรม มคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา ปรับตัว สือ่ สารและทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลตลอดชวี ิตดีขึ้น ผลการประเมินด้านทักษะ อยู่ที่ 62.30 คะแนน ต่ำกว่า ปี 2561 ซึ่งผล การประเมินอยู่ที่ 63.00 และจากรายงานวจิ ัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอารไ์ อ) พบว่า ปัญหาคุณภาพการศึกษาไทย สาเหตหุ ลกั ส่วนหน่งึ เกดิ จากระบบการศึกษาไทยไม่เอื้อต่อการสรา้ งความรบั ผดิ ชอบ (Accountability) หลักสูตร และตำราเรียนของไทยไมส่ อดคล้องกับการพฒั นาทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 การทดสอบยังคงเนน้ การจดจำเนื้อหา มากกว่าการเรยี นเพื่อใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจอย่างแทจ้ รงิ กระบวนการบริหารจัดการศึกษาทีม่ ีคุณภาพประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ กระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการจดั การเรยี นการสอน และกระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา ซง่ึ จะต้องมีความร้อยรดั สัมพันธก์ ันเป็นอย่างดี โดยต้องอาศัยความร่วมมือกันของบุคลากรที่เกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วน การสร้างเครือข่ายในการทำงานในแต่ละพื้นท่ี จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการร่วมคิด ร่วมทำร่วมประเมินผลอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนากระบวนการทำงาน และสร้างนวัตกรรมในการทำงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพบริบทและ ความตอ้ งการของแตล่ ะพืน้ ที่ รองรบั การพัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสงิ ห์บรุ ี จึงได้จดั ทำโครงการ IFTE (Innovation For Thai Education) ขึ้น ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง โดยการนำผลการวิเคราะห์และการวิจัยการพัฒนารูปแบบ และแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและผลการวิเคราะห์และการวิจัยแนวทาง การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา จากโครงการ TFE (Teams For Education) และ โครงการ “ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 มาสรุป หลอมรวมและใช้ในการวางแผนในการพัฒนาการศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษา เพื่อสร้างและพัฒนาเครือข่าย ความร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วนมาร่วมกันสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในด้านกระบวนการ บริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพ ของผู้เรยี นในด้านทักษะการเรยี นรู้ ทกั ษะอาชพี และทกั ษะชวี ติ ในศตวรรษ ที่ 21 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อให้สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสิงห์บุรี เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศนวัตกรรมทางการศึกษา และการวิจัยกระบวนการจดั การเรยี นรู้ในระดับจังหวัด 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม และ ประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ 3. เพื่อวิเคราะห์/สังเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ แนว ทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล การบริหารการจัดการศึกษาในระดบั จังหวดั 4. เพือ่ สร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
3 5. เพอื่ ส่งเสริม สนบั สนนุ พฒั นา ใหส้ ถานศึกษาพัฒนาผเู้ รยี นมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน O-NET แตล่ ะวชิ าผ่านเกณฑเ์ พ่ิมข้นึ ขอบเขตของโครงการ 1. สาระสำคญั ของโครงการ 1.1 เป็นการพัฒนาศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับจังหวัด ทส่ี ำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดทั่วประเทศ 1.2 เป็นการพฒั นานวัตกรรมการบรหิ ารจดั การศกึ ษา การจัดการเรียนรแู้ ละการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผล เพ่อื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ระดับจังหวัด 1.3 เปน็ การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ วจิ ัยการพฒั นานวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ และการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล เพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาระดบั จังหวดั 1.4 เป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมอื ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาระดบั จังหวดั 1.5 เป็นการส่งเสริม สนับสนนุ พฒั นาให้สถานศึกษามคี ะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษา ระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐานผ่านเกณฑ์เพม่ิ ขนึ้ 2. กล่มุ เปา้ หมายของโครงการ โรงเรียน ผบู้ รหิ าร ครู ศกึ ษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ผเู้ รยี นในสถานศึกษาทุกสังกดั รวมทั้งภาคเี ครือขา่ ยทีเ่ ก่ียวข้อง ในพื้นท่จี งั หวัดสิงหบ์ ุรี 3. ระยะเวลโรงเรียน ผู้บริหาร ครู ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ผเู้ รียนในสถานศึกษาทกุ สงั กดั รวมทัง้ ภาคเี ครือขา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในพื้นทจี่ งั หวดั สงิ ห์บุรีาดำเนินการ โครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศกึ ษา ของจงั หวัดสิงห์บรุ ี เร่ิมดำเนนิ การในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (ตลุ าคม 2563-กนั ยายน 2564)
4 ความสำคัญของโครงการ 1. ได้ศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัดของสำนักงาน ศึกษาธกิ ารจังหวัดทวั่ ประเทศ 2. มีนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล เพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาที่หลากหลายในระดบั จงั หวัด 3. มีผลงานการวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัยจากการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในระดับจงั หวัด 4. มกี ารสรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาในระดับจังหวัด 5. มีการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาให้สถานศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ข้ันพืน้ ฐานผา่ นเกณฑเ์ พิ่มขึน้ 6. มีการบูรณาการด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผลระหว่าง สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาในระดับจังหวัดและระดับภาค ในการพัฒนาคนให้พร้อมเข้าสู่สังคมคุณภาพ ในศตวรรษที่ 21 เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายที่เกี่ยวข้องได้อย่าง มีประสทิ ธิภาพ สง่ ผลใหผ้ ลสมั ฤทธิท์ างการศึกษาและการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ตามสมรรถนะของผู้เรียนเพิ่มข้ึน นยิ ามศัพทข์ องโครงการ 1. ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา หมายถึง ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) นวัตกรรมทางการศึกษา และงานวิจัยทางการศึกษา ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพปัจจบุ ัน ปญั หา และความตอ้ งการของแต่ละพ้นื ท่ี 2. นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง แนวคิด วิธีการปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ที่พัฒนา ปรับปรุงหรือ ดดั แปลงให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการนำมาใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. งานวิจัยทางการศึกษา หมายถึง ผลงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยงานเกี่ยวกับการบริหาร จัดการศึกษา การจดั การเรยี นรู้ การนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล โดยผา่ นกระบวนการแสวงหาความรู้ความจริง ท่ีมรี ะบบและวธิ ีการทเ่ี ชื่อถอื ไดแ้ ละเปน็ ท่ียอมรบั 4. เครือขา่ ยความรว่ มมอื หมายถงึ การสรา้ งความรว่ มมือจาก หนว่ ยงาน องคก์ รทง้ั ภาครัฐ เอกชน และ ประชาชน เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ตัวชี้วดั ความสำเร็จของโครงการ 1. มีข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษาที่มคี วามถกู ต้อง ครอบคลมุ ชัดเจน และเปน็ ปัจจุบัน 2. มนี วัตกรรมการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรียนรู้ การนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล
5 3. มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและประเมินผล 4. มีการขยายผล เผยแพร่ นวัตกรรมการการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและ ประเมินผล 5. มีเครือข่ายความรว่ มมือ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในระดับจงั หวัด 6. มี Supervisor Teams เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดบั จังหวดั 7. ผู้เรียนในสถานศึกษากลุ่มเป้าหมายมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เพิ่มขึ้น
6 สว่ นท่ี 2 แนวทางการดำเนินงาน ในการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนา การศึกษาของจังหวดั สงิ ห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพือ่ เป็นแนวทางให้กับสถานศึกษาในโครงการและ หน่วยงานทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องได้ดำเนินไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงาน ศกึ ษาธิการจังหวัดสิงห์บุรี จงึ ไดเ้ สนอแนวทางการดำเนนิ งาน ดังนี้ 1. จัดทำศูนยก์ ลางขอ้ มลู สารสนเทศ นวัตกรรม และงานวจิ ยั ทางการศึกษา ระดบั จังหวัด ระยะเวลา แนวทางการดำเนนิ งาน ต.ค.63-ม.ค.64 สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั สงิ หบ์ ุรี 2.1 แต่งตัง้ คณะกรรมการดำเนนิ งาน 2.2 รวบรวมข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) จากหนว่ ยงาน ทเ่ี กยี่ วข้อง โดยใชร้ ะบบเทคโนโลยีดิจิทัล 2.2 สรุป สงั เคราะห์และบันทกึ ข้อมลู 2.3 เผยแพร่ และนำข้อมูลไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 2.4 รายงานข้อมลู ให้กับสำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค และหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง
7 2. แนวทางการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมทางการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล แนวทางการดำเนนิ งาน ระยะเวลา สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั สิงห์บรุ ี 1. ช้แี จงการดำเนินงานโครงการ ธ.ค.63-มี.ค.64 1) ประชมุ ชี้แจงแนวทางการดำเนนิ งานโครงการให้ผ้มู ีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบ 2) แตง่ ตง้ั คณะทำงานระดับจังหวดั 3) กำหนดกลุม่ เป้าหมาย : สถานศกึ ษา 4) นำเสนอโครงการ ให้ กศจ. ทราบ 2. สรา้ งการรบั รู้เกี่ยวกบั การดำเนินงานโครงการ เช่น การประชุม อบรม การวเิ คราะห์สังเคราะห์ ธ.ค.63-มี.ค.64 จดุ เดน่ จดุ ทค่ี วรพัฒนา สภาพของสถานศึกษาที่เปน็ กลุม่ เปา้ หมาย ให้ความรู้เกี่ยวกับการสรา้ ง และพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล 3. การนเิ ทศ ติดตามผลการดำเนนิ งาน ธ.ค.63-มี.ค.64 1) แต่งตงั้ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล 2) กำหนดแผนและปฏิทนิ การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล 3) นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลเกีย่ วกับการสร้างและพัฒนานวตั กรรม การบรหิ ารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล 4) สรุปและรายงานผลการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล
8 3. แนวทางการสงั เคราะห์ วิเคราะห์ วิจยั และเผยแพร่นวตั กรรม การบริหารจดั การศกึ ษา การจดั การเรยี นรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล แนวทางการดำเนินงาน ระยะเวลา เม.ย. – ก.ค.64 สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน คัดเลือกนวัตกรรม การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ เม.ย. – ก.ค.64 การนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล ก.ค.- ส.ค.64 1) แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งาน 2) จดั กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละถอดบทเรียนพฒั นานวัตกรรมตามโครงการ 3) คัดเลือกนวัตกรรมการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัด การเรยี นรู้ ดา้ นการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล 4) ประกาศผลการคดั เลอื ก 5) รายงานผลการคัดเลือกนวตั กรรมใหส้ ำนักงานศึกษาธิการภาค 2. การสงั เคราะห์ วจิ ยั นวตั กรรม การบริหารจัดการ การจดั การเรียนรู้ การนเิ ทศตดิ ตามและ ประเมินผล ของสถานศึกษาในจงั หวดั 1) สงั เคราะห์ วิจยั นวตั กรรม การบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ การนเิ ทศติดตามและ ประเมนิ ผล ของสถานศึกษาในจังหวดั 2) สรุปผลสังเคราะห์ วิเคราะห์ วิจัย นวัตกรรม การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผล ของสถานศึกษาในจงั หวัด 3. สรปุ รายงานผล และเผยแพร่นวัตกรรม การบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล ผ่านชอ่ งทางต่าง ๆ เช่น สอื่ ออนไลน์,บทความ,วารสาร,หนังสอื ราชการ ฯลฯ
9 4. แนวทางการสรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ระยะเวลา แนวทางการดำเนนิ งาน ต.ค.63 - ก.ย.64 สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั สิงห์บุรี การสรา้ งเครอื ขา่ ยระดับภาคและระดบั จงั หวัด 1) แสวงหาและสรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 2) สร้างการรับรู้ สร้างข้อตกลงและร่วมวางแผน (partnership agreement & action planning) เมื่อผู้นำและผู้บริหารของเครอื ข่ายเหน็ ความสำคญั และประโยชนร์ ่วมกนั และตกลง เป็นการเบ้ืองต้นทีจ่ ะรว่ มมือเป็นเครือข่าย เพ่ือใหเ้ กิดแนวทางการดำเนนิ งาน จัดกิจกรรม สรา้ ง ข้อตกลงและร่วมวางแผน เพื่อใหเ้ กิดแนวทางความร่วมมือทีช่ ดั เจน 3) รว่ มดำเนนิ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา
10 ส่วนท่ี 3 เครื่องมือในการดำเนนิ งาน ในการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ของจังหวัดสิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ จึงได้กำหนดเครือ่ งมือใน การนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผล เก็บรวบรวมขอ้ มูลดงั น้ี 1. แบบเก็บข้อมูลสารสนเทศ นวตั กรรม และงานวจิ ัยทางการศกึ ษา (ระดบั จงั หวดั ) 2. แบบติดตามผลการดำเนนิ งานโครงการ (ระกับจงั หวัด) 3. แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรม (สำหรบั โรงเรยี น) 4. แบบรายงานการสร้างเครือข่ายความรว่ มมือ มีรายละเอียดดังนี้
11 ระดับจงั หวดั แบบเกบ็ ขอ้ มลู สารสนเทศ นวตั กรรม และงานวิจัยทางการศกึ ษา สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสงิ ห์บรุ ี 1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) โรงเรียนที่จัดการศกึ ษาข้นั พื้นฐานใน จงั หวดั / ภาค จำนวนโรงเรยี นทงั้ หมด................แห่ง 1.1 ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 สังกัด/กลมุ่ สาระ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สพป. 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อน่ื ๆ ..................... รวม/เฉล่ีย 1.2 คา่ เฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 สงั กัด/กล่มุ สาระ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพป. สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อนื่ ๆ ..................... รวม/เฉลี่ย
12 1.3 คา่ เฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 สงั กดั ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สังคมศึกษา /กลุ่ม สาระ2560 สพป. 2561 สพม. 2562 สช. 2560 อปท. 2561 พศ. 2562 ตชด. 2560 อน่ื ๆ 2561 รวม/ 2562 เฉลี่ย 2560 2561 2562 2560 2561 2562 1.4 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมีคะแนนเฉล่ยี ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 50 ขึ้นไป สังกดั /กลมุ่ สาระ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพป. สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อื่นๆ ..................... รวม/เฉลย่ี
13 1.5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมีคะแนนเฉลี่ยผ่านเกณฑร์ ้อยละ 50 ข้นึ ไป สังกัด/กลมุ่ สาระ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพป. สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อนื่ ๆ ..................... รวม/เฉลย่ี 1.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนที่มคี ะแนนเฉลยี่ ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 50 ขึ้นไป สงั กัด ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา /กลมุ่ สาระ 2560 สพป. 2561 สพม. 2562 สช. 2560 อปท. 2561 พศ. 2562 ตชด. 2560 อนื่ ๆ 2561 ........ 2562 รวม/ 2560 เฉลี่ย 2561 2562 2560 2561 2562
14 2. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ในโรงเรยี นที่เข้ารว่ มโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา เพอ่ื พัฒนาการศกึ ษาของจังหวัดสิงห์บรุ ี จำนวนโรงเรียนทงั้ หมด.....................แหง่ 2.1 ค่าเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 สงั กดั /กลุม่ สาระ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สพป. 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อ่นื ๆ ..................... รวม/เฉล่ยี 2.2 คา่ เฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 สงั กัด/กลมุ่ สาระ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สพป. 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อื่นๆ ..................... รวม/เฉล่ีย
15 2.3 คา่ เฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 สงั กดั / ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สังคมศึกษา กลมุ่ สาระ 2560 สพป. 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อน่ื ๆ ........ รวม/ เฉลี่ย 2.4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมคี ะแนนเฉลยี่ ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50 ขึ้นไป สงั กัด/กลุ่มสาระ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สพป. 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อ่ืนๆ ..................... รวม/เฉล่ีย
16 2.5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมีคะแนนเฉลย่ี ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 50 ขึน้ ไป สงั กัด/กลุ่มสาระ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพป. สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อื่นๆ ..................... รวม/เฉลยี่ 2.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมีคะแนนเฉล่ียผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป สังกัด/ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศึกษา กลมุ่ 2560 สาระ 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 สพป. สพม. สช. อปท. พศ. ตชด. อนื่ ๆ ........ รวม/ เฉลี่ย
3. นวตั กรรมทางการศึกษา ด้านการจดั การเรียนรู้ 17 ช่อื นวตั กรรม หน่วยงาน/ ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ดา้ นการนิเทศการศกึ ษา ชื่อนวตั กรรม หนว่ ยงาน/ โรงเรียน ชื่อนวัตกรรม หนว่ ยงาน/ โรงเรียน โรงเรยี น 4. การวิจยั ทางการศึกษา ดา้ นการบริหารจัดการ ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ ดา้ นการนิเทศการศกึ ษา ชื่องานวจิ ยั หน่วยงาน/ ช่ืองานวจิ ยั หนว่ ยงาน/ ชอื่ งานวจิ ัย หนว่ ยงาน/ โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน
ระดบั จังหวัด 18 แบบนเิ ทศ ตดิ ตามผลการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา เพ่ือพัฒนาการศกึ ษาของจังหวดั สิงห์บรุ ี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 …………………………………………………… คำชแี้ จง แบบติดตามนี้ใช้ในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพอ่ื พฒั นาการศึกษาของจังหวัดสิงห์บุรี เพอ่ื ตดิ ตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการ ของสถานศกึ ษา ******************************* ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่ัวไป ช่ือสถานศกึ ษา.......................................................................... สงั กดั ....................................................... เปิดทำการสอนในระดบั ช้นั ............................................. ถงึ ระดบั ชนั้ .............................................. จำนวนนักเรียนทง้ั หมด............. คน ชาย................คน หญงิ ................... คน ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จำนวนครทู ้ังหมด .............................................. คน ชาย............... คน หญิง................... คน จำนวนบุคลากรทางการศึกษาท้งั หมด ............... คน ชาย............... คน หญงิ ................... คน ตอนที่ 2 การตดิ ตามผลทีเ่ กดิ กับการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษา เพือ่ พฒั นาการศึกษา ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1) สถานศึกษามีการประชมุ ชีแ้ จงการดำเนินการโครงการ มี ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ไมม่ ี เนือ่ งจาก ............................................................................................................................. ..... ................................................................................................................................................................................. 2) สถานศึกษามีการสร้างการรับรู้เก่ยี วกับการดำเนนิ งานโครงการฯ มี ............................................................................................................................. .............. .................................................................................................................... ............................................................. ไม่มี เนอ่ื งจาก ............................................................................................................................. ..... ......................................................................................................................................................................... ........ 3) สถานศึกษามีนวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ ช่อื นวตั กรรม................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................................... ..................................
19 ไมม่ ี เนื่องจาก .................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................... 4) สถานศึกษามีนวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ ช่อื นวัตกรรม..................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ................................................................................................................................................................................. ไมม่ ี เนื่องจาก ............................................................................................................................. ..... ............................................................................................................................. .................................................... 5) สถานศึกษามีนวัตกรรมดา้ นการนเิ ทศภายใน ช่ือนวตั กรรม............................................................................................................................. ........ .......................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ไมม่ ี เนื่องจาก ............................................................................................................................. ..... ................................................................................................................... .............................................................. บนั ทกึ เพิ่มเติม / จุดเด่น / ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... .............................................................................. ........................................................................................ ........... ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ลงชอ่ื .................................................... (...................................................) ผูน้ เิ ทศ
20 แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม (สำหรบั โรงเรียน) ................................................................ 1. ช่ือนวตั กรรม ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. ชือ่ ผ้สู ร้าง ชอ่ื .............................................. นามสกุล..............................ตำแหนง่ ................................................ โรงเรียน......................................เขต/อำเภอ.....................จงั หวัด.........................โทร......................... มือถือ..........................................E-mail address............................................................................. 3. แนวทางการคดิ คน้ นวัตกรรม แสวงหานวัตกรรม/แบบอย่างท่ีดจี ากแหล่งตา่ งๆ ท่ีเคยมผี ู้สรา้ งหรือ ทำไว้แล้ว แลว้ นำมาปรบั ปรุงหรือพัฒนาใหม่ การสร้างนวตั กรรมใหม่ 4. ประเภทของนวตั กรรม การบริหารจัดการศึกษา การจัดการเรยี นรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล 5. ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา ....................................................................................................................................... ............................... ............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................. ......................................... 6. วตั ถุประสงค์ ............................................................................................................................. ......................................... ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... 7. กลมุ่ เป้าหมาย ประชากร / กลุ่มตัวอยา่ ง ............................................................................................................................. ......................................... ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... 8. หลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีใช้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
21 9. การออกแบบนวัตกรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... 10. วิธีดำเนนิ การ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………......……………………………............................. ……………………………………………………………………………………………...………………………………………………….. 11. ผลการสรา้ งหรอื พัฒนานวัตกรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………......……………………………............................. ……………………………………………………………………………………………...………………………………………………….. 12. การเผยแพรน่ วตั กรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………......……………………………............................. ……………………………………………………………………………………………...………………………………………………….. ลงชอ่ื ผู้รายงาน…………………........……………………………….. ตำแหน่ง ............................................................................
ระดบั จงั หวัด 22 แบบรายงานการสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา คำชแ้ี จง ให้กรอกข้อมลู ในตารางตามสภาพท่เี ปน็ จรงิ โดยพจิ ารณาตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด เกณฑก์ ารพิจารณาระดับคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ 1 หมายถงึ มีการดำเนินงานแต่ไม่พบรอ่ งรอย หลกั ฐาน หรือมแี ต่ไมช่ ัดเจน ระดับคุณภาพ 2 หมายถงึ มีการดำเนินงานท่ีพบรอ่ งรอยหลักฐานท่ีชดั เจน ระดบั คุณภาพ 3 หมายถงึ มกี ารดำเนินงานท่ีพบร่องรอยหลักฐานทชี่ ดั เจน ครบถว้ น สมบูรณ์ การปฏิบตั ิ ระดบั คุณภาพ หลักฐาน/ ขอ้ ที่ ประเด็นการประเมิน/ตวั บ่งช้ี มี ไมม่ ี 3 2 1 รอ่ งรอยเชงิ ประจักษ์ 1 มีการแต่งต้ังจากผูแ้ ทนหน่วยงานทางการศึกษา และ ผู้เกี่ยวข้อง ..…………….. กบั การศึกษาเปน็ เครือข่าย ....... ....... .... .... .... ……………….. 2 มกี ารวางแผนและกำหนดบทบาทหน้าทีข่ องเครอื ข่ายทชี่ ัดเจน ………………. ....... ....... .... .... .... ………………. 3 สมาชกิ เครือข่ายมีความสามารถ ประสบการณ์ หลากหลาย ………………. สาขาวิชา ....... ....... .... .... .... ..…………….. 4 สมาชิกเครือข่ายทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ มีความรู้และเข้าใจเกย่ี วกับ ……………….. โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) ....... ....... .... .... .... ………………. 5 สมาชิกเครือข่ายท่เี ขา้ รว่ มโครงการ ใหก้ ารสนบั สนนุ การทำงาน ....... ....... .... .... .... ………………. 6 สมาชกิ เครือข่ายรว่ มดำเนนิ งาน ติดตาม และประเมินผลการ ....... ....... .... .... .... ………………. ดำเนินโครงการ ..…………….. รูปแบบการบริหารจัดการเครือข่าย ........................................................................................................................... ................................................................................................................. .................................................................. ................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................................................................. ...... ............................................................................................................................ ....................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................
23 ภาคผนวก
24 (ตวั อย่าง) แบบวเิ คราะห์องคป์ ระกอบการพฒั นานวตั กรรมการบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ การนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล ตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษา เพอื่ พัฒนาการศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั และสำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ขอ้ มูลทั่วไป ชื่อสถานศึกษา.......................................................................... สังกัด....................................................... รายงานการวจิ ยั นวัตกรรม เร่ือง.................................................................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………….. บทสรปุ ผู้บรหิ าร คำนำ สารบญั สารบญั ตาราง สารบัญภาพ สว่ นท่ี 1 บทนำ 1.1 หลกั การ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.3 ขอบเขตการดำเนนิ งาน 1.4 กิจกรรมดำเนินงาน 1.5 ระยะเวลาดำเนินการ 1.6 งบประมาณ สว่ นที่ 2 แนวคดิ และงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง สว่ นท่ี 3 ผลการดำเนนิ งาน 3.1 ผลการใชน้ วตั กรรม การบริหารจัดการศกึ ษา การจดั การเรียนรู้ การนเิ ทศตดิ ตามและ ประเมินผล (ผลทเ่ี กดิ ต่อผู้บริหาร,คร,ู นกั เรียน) 3.2 ความพึงพอใจต่อการใช้นวตั กรรม การบริหารจดั การศกึ ษา การจัดการเรยี นรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล (ความพึงพอใจของผู้บริหาร , ศกึ ษานิเทศก์, ครู , นักเรยี น) ภาคผนวก คำสงั่ ภาพกิจกรรม นวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล ตามโครงการ เครอื่ งมอื ฯลฯ
25 (ตัวอยา่ ง) แบบวิเคราะห์นวัตกรรม การบรหิ ารจดั การศกึ ษา การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและประเมนิ ผล สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัด/สำนักงานศึกษาศึกษาธิการภาค ท่ี องคป์ ระกอบ การบริหาร การจดั การ การนิเทศตดิ ตาม หมายเหตุ รปู แบบ/แนวทาง จดั การ เรียนรู้ และประเมินผล 1 รายงานการวิจยั /รูปแบบ เรื่อง 2 หลักการ/ความเปน็ มา 3 วตั ถปุ ระสงค์ 4 กจิ กรรมดำเนินงาน 5 ผลการใช้รูปแบบ/แนวทางการ บริหารจดั การศกึ ษา การจัดการ เรยี นรู้ การนเิ ทศตดิ ตามและ ประเมินผล (ผลที่เกดิ ต่อ ผ้บู ริหาร,คร,ู นักเรียน) 6 ความพงึ พอใจตอ่ การใชร้ ูปแบบ/ แนวทาง การบริหารจดั การศึกษา การจัดการเรยี นรู้ การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล (ความพึงพอใจของผู้บริหาร , ศึกษานเิ ทศก์, ครู , นกั เรยี น) ความคดิ เหน็ เพ่มิ เติม ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ......................................................
26 กรอบเกณฑก์ ารคดั เลอื กนวัตกรรมทางการบริหารจดั การศกึ ษา/การจดั การเรยี นรู้/การนิเทศตดิ ตามและประเมินผลของ สถานศึกษา สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ในพนื้ ทร่ี ับผิดชอบระดบั ภาค ภายใตโ้ ครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา เพ่ือพฒั นาการศกึ ษาของจังหวัดสิงห์บรุ ี นวัตกรรม การบริหารจัดการศึกษา การจดั การเรียนรู้ การนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผล คำช้แี จง กรอบเกณฑก์ ารคัดเลือกนวัตกรรม ประกอบด้วย 2 ส่วน จำนวน 20 ตวั ชว้ี ัด สว่ นท่ี 1 การประเมินนวตั กรรมของสถานศึกษานำรอ่ ง ประกอบด้วย องคป์ ระกอบการประเมนิ จำนวน 3 ดา้ น 17 ตวั ช้ีวดั องค์ประกอบที่ 1 ดา้ นความสำคญั ของนวัตกรรม จำนวน 3 ตวั ชี้วดั ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 1 ความเป็นมาและสภาพของปญั หา ตวั ชี้วดั ที่ 2 แนวทางการแกไ้ ขปญั หาและหรอื การพัฒนา ตวั ชว้ี ัดท่ี 3 ประโยชน์และความสำคัญ องคป์ ระกอบท่ี 2 ด้านกระบวนการพัฒนานวตั กรรม จำนวน 6 ตัวชว้ี ัด ดงั น้ี ตวั ช้วี ดั ที่ 1 วัตถุประสงค์และเปา้ หมายการพฒั นา ตัวชว้ี ดั ที่ 2 หลกั การ ทฤษฎี แนวคดิ ในการพฒั นา ตัวชี้วดั ที่ 3 การออกแบบและแนวทางการพัฒนา ตัวชว้ี ดั ท่ี 5 การนำไปใช้ ตวั ชว้ี ดั ที่ 6 การประเมินและการปรับปรุง องคป์ ระกอบที่ 3 ด้านผลที่เกดิ ขน้ึ จากการดำเนินงานตามนวตั กรรม 3.1 ผลท่ีเกิดขนึ้ กบั สถานศกึ ษาและผู้บริหาร ตวั ช้ีวัดท่ี 1 มขี อ้ มูลสารสนเทศของสถานศกึ ษา ตวั ชีว้ ดั ท่ี 2 มกี ารดำเนนิ งาน/การบริหารจัดการของสถานศึกษา/การจัดการเรยี นรู้/การนเิ ทศตดิ ตาม และประเมนิ ผล อย่างเปน็ ระบบ ตัวชี้วัดท่ี 3 การมีเครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตัวชี้วดั ท่ี 4 การยอมรบั ทม่ี ตี ่อสถานศกึ ษา 3.2 ผลทเี่ กิดข้นึ กับครูผู้สอน ตวั ชี้วดั ที่ 1 การออกแบบการจดั การเรียนรู้ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 2 การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัดท่ี 3 การพฒั นาสื่อการเรียนรู้ ตัวช้วี ัดที่ 4 การวัดและการประเมินผล 3.3 ผลทีเ่ กดิ ข้นึ กับผู้เรียน ตัวชี้วัดที่ 1 ผู้เรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์เพิ่มข้นึ ส่วนที่ 2 การนำเสนอผลงานนวตั กรรม ด้านการนำเสนอผลงานและสอ่ื เอกสารประกอบการนำเสนอ ประกอบด้วย 3 ตวั ชีว้ ดั ดงั น้ี ตวั ชว้ี ัดท่ี 1 ดา้ นความถูกตอ้ ง ชดั เจนและครอบคลมุ ตัวชี้วัดที่ 2 ดา้ นความเหมาะสมของการนำเสนอ ตัวชี้วดั ที่ 3 ดา้ นการตอบประเดน็ /ข้อซักถาม
27 รายละเอียดเกณฑ์การคัดเลอื กนวตั กรรมทางการบรหิ ารจดั การศึกษา/การจัดการเรยี นรู้/การนเิ ทศติดตามและประเมินผล ของสถานศกึ ษา สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ในพ้นื ท่รี ับผิดชอบระดับภาค ภายใตโ้ ครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาการศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ส่วนที่ 1 การประเมินรูปแบบ/แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษานำร่อง องค์ประกอบ การประเมนิ จำนวน 3 ด้าน 19 ตัวชี้วดั คะแนนรวม 100 คะแนน (คดิ เป็นสัดส่วนร้อยละ 80 ของคะแนนรวม) องคป์ ระกอบท่ี 1 ด้านความสำคัญของรูปแบบ/แนวทางการพัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องสถานศึกษานำร่อง จำนวน 3 ตวั ชีว้ ัด (20 คะแนน) ที่ ตวั ชีว้ ัด รายการ เกณฑ์การให้คะแนน 1. ความเป็นมา 1) วเิ คราะห์ผลการทดสอบ O-NET ทงั้ ในภาพรวมและรายบคุ คล ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน และสภาพ เพอ่ื กำหนดเปา้ หมายท่ชี ดั เจนในการพัฒนาตามรูปแบบ/แนวทาง ปฏบิ ัตไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน ปญั หา 2) นำเสนอความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หาท่ีจะแก้ไข/พฒั นา ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 3) มีการวเิ คราะห์ปัญหาและจดั ลำดับความสำคัญของปญั หา ปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 4) ศกึ ษา/วิเคราะห์ ปจั จยั ภานใน ปจั จยั ภายนอกทีม่ ีอิทธิพลต่อการ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน พัฒนาคุณภาพตามบทบาทของสถานศึกษา 5) เลือกปัญหาท่มี ีความเป้นไปได้ในการแก้ไข/พัฒนา 2. แนวทางการ 1) บคุ ลากรและผเู้ กยี่ วข้องมีสว่ นรว่ มในการกำหนดแนวทางการ ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน แก้ไขปัญหา แกไ้ ข/พัฒนา ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน และการ 2) กำหนดเป้าหมายการพฒั นาคณุ ภาพท่ชี ัดเจนและเหมาะสม ปฏบิ ตั ิได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน พฒั นา สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา ปฏบิ ัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 3) มีการเสนอแนวคิด ทฤษฏี ทจี่ ะนำมาใชใ้ นการแกไ้ ข/พัฒนา ปฏิบัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 4) มีความเชื่อมโยงและความถูกตอ้ งของแนวคิดทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 5) มีการกำหนดรูปแบบในการแกไ้ ข/พฒั นา 3. ประโยชน/์ 1) รปู แบบ/แนวทางการพฒั นามคี วามชัดเจนสำหรับสถานศกึ ษา ปฏบิ ตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ความสำคญั ในการดำเนินงานด้านขอ้ มูลสารสนเทศและงานวชิ าการ ปฏบิ ัตไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน 2) สะทอ้ นให้เห็นถงึ การปรับเปล่ยี น/พัฒนาแนวทางการบริหาร ปฏิบัตไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน จัดการ บุคลากร เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปฏบิ ัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 3) บคุ ลากรสามารถนำรูปแบบไปพัฒนาด้านการจดั การเรยี นรไู้ ด้ ปฏบิ ตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4) กระบวนการในการบรหิ ารจดั การตามรปู แบบสอดคลอ้ งกับ เป้าหมายและแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 5) กระบวนการจดั การเรยี นรอู้ อกแบบได้ตรงตามเป้าหมายและ วัตถปุ ระสงค์
28 องค์ประกอบท่ี 2 ดา้ นกระบวนการพฒั นารปู แบบ/แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนร้ขู องสถานศึกษานำร่อง จำนวน 6 ตัวช้ีวดั (40 คะแนน) ท่ี ตวั ชีว้ ัด รายการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1. วัตถปุ ระสงค์ 1) วตั ถปุ ระสงคส์ อดคล้องกบั สภาพปญั หา และความตอ้ งการ ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน และเปา้ หมาย ในการพฒั นา ปฏบิ ัตไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน การพฒั นา 2) วตั ถุประสงค์ของการดำเนนิ งานมคี วามชดั เจนเปน็ รูปธรรม ปฏบิ ตั ิได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน ทง้ั เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 3) กำหนดวัตถุประสงค์ที่มคี วามเปน็ ไปได้ ปฏิบัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 4) ระบเุ ป้าหมายเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพอยา่ งชัดเจน สามารถวดั และประเมินผลได้ 5) วัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายแสดงถงึ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพของ การปฏบิ ตั ิงาน 2. หลกั การ 1) ศึกษาเอกสาร หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎีทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ทฤษฎี 2) มีการสงั เคราะห์ หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎที จ่ี ะนำมาใช้ในการแกไ้ ข ปฏิบัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน แนวคิดในการ ปัญหา ปฏิบตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน พัฒนา 3) นำเสนอ ระบุ หลักการ ทฤษฎี แนวคดิ ท่สี อดคล้องกับรปู แบบใน ปฏิบตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน การพัฒนาอย่างเป็นระบบ ปฏิบตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 4) สามารถอธิบายเนอื้ หา/แนวทาง ในการพฒั นาได้ชดั เจน ครบถว้ น สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย 5) มกี ารระบุหลักการ แนวคดิ ทฤษฎี ทม่ี คี วามเป็นไปได้ ในการพฒั นา รปู แบบ/แนวทางใหส้ มั ฤทธ์ิผล 3. การออกแบบ 1) มีการนำผลการสังเคราะห์ หลกั การ แนวคิด ทฤษฎี ปฏิบตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน แนวทางการ มาใชใ้ นการออกแบบแนวทางการพฒั นา ปฏิบตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน พัฒนา 2) มีการออกแบบนวตั กรรมท่ีสอดคล้องกับ ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน วัตถุประสงค์และเปา้ หมายในการพฒั นา ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 3) บคุ ลากรและผู้เกย่ี วข้องมีสว่ นรว่ มในการออกแบบ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน นวัตกรรมการพฒั นาที่ชดั เจน 4) มกี ารสร้างนวตั กรรมการพฒั นา โดยกำหนดข้นั ตอนและกจิ กรรม ที่ชดั เจน 5) มกี ารตรวจสอบความเป็นไปไดข้ องนวัตกรรมการพัฒนาก่อนนำไปใช้ 4. การมสี ว่ นรว่ ม 1) ผ้บู ริหารมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นานวตั กรรม ปฏิบตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ในการพัฒนา 2) ครูมสี ว่ นร่วมในการพฒั นานวัตกรรม ปฏบิ ตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน 3) นักเรยี นมีสว่ นร่วมในการพฒั นานวตั กรรม ปฏิบตั ิได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 4) คณะกรรมการสถานศกึ ษาส่วนร่วมในการพัฒนานวตั กรรม ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 5) ชุมชนและหน่วยงานอืน่ มีส่วนรว่ มในการพัฒนานวตั กรรม ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 5. การนำไปใช้ 1) มกี ารจดั ทำเอกสารคู่มอื แนวทางการดำเนนิ งานตามนวตั กรรม ปฏิบัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ทช่ี ัดเจน ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน 2) มกี ารช้ีแจง ทำความเข้าใจกบั ผเู้ ก่ียวข้องท่นี ำนวตั กรรม ไปใช้ ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน
29 ท่ี ตัวชีว้ ัด รายการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 6. การประเมนิ 3) มกี ารสนบั สนุนทรพั ยากรหรอื งบประมาณ ในการนำนวตั กรรมไปใช้ ปฏบิ ตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน และการ ปรับปรุง 4) มกี ารนเิ ทศ ตดิ ตาม ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ระหว่างการนำนวตั กรรมไปใช้ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 5) มกี ารจดั การแลกเปล่ียนเรียนรเู้ พือ่ สร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ ทางวชิ าชีพ (PLC) ในโรงเรียน 1) มเี ครอื่ งมอื ประเมินทีม่ ีคณุ ภาพและเที่ยงตรง ปฏิบัตไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน 2) มกี ารประเมนิ ท่มี สี ่วนร่วมจากทกุ ฝา่ ยทีเ่ ก่ียวข้อง ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน 3) มกี ารประเมินความพงึ พอใจต่อนวตั กรรมการพฒั นาศกึ ษา ปฏบิ ตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 4) มกี ารสรุปผลการประเมินนวตั กรรมการพัฒนาศึกษา ปฏิบัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 5) นำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ พฒั นา ปฏิบตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน องค์ประกอบที่ 3 ดา้ นผลท่เี กดิ ข้ึนจากการดำเนนิ งานตามรูปแบบ/แนวทางการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องสถานศึกษา จำนวน 12 ตัวชี้วดั (40 คะแนน) ที่ ตวั ช้วี ดั รายการ เกณฑ์การให้คะแนน 1. ผลทเี่ กดิ ขึ้นกบั สถานศึกษา 1. ขอ้ มูล 1) มีสารสนเทศและผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาในระดับ ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน สารสนเทศของ สถานศึกษาและระดบั หอ้ งเรยี น ปฏบิ ตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน สถานศกึ ษา 2) จัดระบบข้อมูลและสารสนเทศพื้นฐานได้ครบถ้วนครอบคลุมการ ปฏิบตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน ใช้งานและสารสนเทศที่จัดเก็บไว้มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน และเปน็ ปจั จุบัน ปฏบิ ตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 3) จัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศอย่างเป็นระบบทันสมัยทันต่อ การใชง้ านมกี ารพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื งและมีการปรบั ปรุงอยูเ่ สมอ 4) นำข้อมูลและสารสนเทศไปใช้ในการบริหารและจัดการงาน ของสถานศึกษา และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนไดเ้ กิดประโยชน์ คุ้มคา่ 5) เผยแพรข่ อ้ มลู สารสนเทศ และกิจกรรมในสถานศกึ ษาโดยใช้วธิ กี าร ท่หี ลากหลายและน่าสนใจมผี ลงานปรากฏชดั 2. การดำเนินงาน/ 1) มแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมท่สี อดคล้องกับนวตั กรรมการพฒั นา ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน การบริหาร 2) กำหนดผู้รับผิดชอบการดำเนินงาการออกแบบและจัดการเรียนรู้ ปฏิบัตไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน จัดการของ ครอบคลุมรายวิชาท่ีตอ้ งการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน สถานศึกษา 3) กำหนดห้วงเวลาการดำเนินงาน การจัดการเรียนรู้เสริม การนิเทศ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน ติดตามและประเมนิ ผล ตามปฏทิ ินการพฒั นานวตั กรรม ปฏบิ ตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 4) สถานศึกษามีการดำเนินการตามแผนงานและมีระบบการนิเทศ ตดิ ตามอยา่ งต่อเนอื่ ง 5) ผ้บู รหิ ารจัดการศึกษาโดยยึดแผนพฒั นาสถานศกึ ษาที่มงุ่ เนน้ พัฒนา คณุ ภาพนกั เรียนอย่างครบถ้วน
30 ที่ ตัวชว้ี ดั รายการ เกณฑ์การให้คะแนน 3. การมีสว่ นรว่ ม 1) บุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วม ปฏิบัตไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ปบั สถานศกึ ษา ในการวางแผน ดำเนินการตรวจสอบและพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง ปฏิบตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน 2) ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจ และมี ปฏิบตั ิได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน สว่ นรว่ มในการวางแผน ดำเนินการตรวจสอบและพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ปฏิบัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 3) ผู้บรหิ าร/สถานศกึ ษา ส่งเสริม สนับสนนุ เครอื ขา่ ยชุมชนการเรียนรู้ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน ทางวชิ าชพี (PLC) ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ 4) สถานศึกษามีการขับเคลื่อนกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยมผี ้เู ชยี่ วชาญให้ความรคู้ ำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ 5) ผู้บริหาร/สถานศึกษามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนผล การพฒั นาโรงเรียน ให้ผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียได้รบั ทราบ 4. การยอมรบั ทมี่ ี 1) ผู้บริหารยอมรับและสนบั สนุนการพฒั นานวตั กรรม ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ตอ่ สถานศึกษา 2) ครูยอมรับและให้ความร่วมมือในการดำเนินการพัฒนา ปฏบิ ัตไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน ตามนวตั กรรม ปฏิบตั ิได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 3) นกั เรียนมีส่วนร่วมในกจิ กรรมตามนวัตกรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 4) ชมุ ชนใหก้ ารสนบั สนนุ และมีสว่ นร่วมในการพัฒนาตามนวัตกรรม ปฏิบัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 5) ความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้มีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 70 2. ผลที่เกดิ ข้ึนกบั ครูผู้สอน 1. การออกแบบ 1) มีการนำผลวิเคราะห์ผลการทดสอบ O-NET มาตรฐานตัวชี้วัด ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน การจัดการ แต่ละรายวิชาตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทาง ปฏิบัตไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน เรียนรู้ การทดสอบ O-NET พร้อมทั้งข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน เพ่อื ออกแบบการจดั การเรียนรู้ ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 2) กำหนดเป้าเหมายการจัดการเรียนรู้ด้านองค์ความรู้ทักษะ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน กระบวนการตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด และยึดรายละเอียดจาก Test Blueprint ของการทดสอบO-NET กำหนดแผนการจดั การเรียนรู้ 3) มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและ ตัวช้วี ัดตามเป้าหมายทีต่ ้องการพัฒนา 4) ใช้หลักการ เทคนิคการสอนต่างๆ ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ เปา้ หมายของการพฒั นานวตั กรรม 5) มีแผนการจัดการเรยี นรู้ทม่ี ีองคป์ ระกอบ ครบถ้วนสมบรู ณ์และผ่าน การตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้กอ่ นการนำไปใช้ 2. การจดั กจิ กรรม 1) จดั กิจกรรมการเรยี นรูhตามแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ปฏิบตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน การเรยี นรู้ 2) นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ปฏิบตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน 3) ใช้สอ่ื เทคโนโลยแี ละสารสนเทศ ประกอบการจดั กิจกรรม ปฏบิ ัตไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน การเรยี นรู้ ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 4) มีการนเิ ทศเพอื่ การพัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้ ปฏิบตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 5) มีการปรับปรุงและพัฒนากจิ กรรมการเรียนรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง
31 ที่ ตัวชว้ี ดั รายการ เกณฑก์ ารให้คะแนน 3. การพัฒนาสอื่ 1) ออกแบบและพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีให้มีคุณภาพสะดวก ปฏิบตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน การเรยี นรู้ ต่อการใชป้ ระกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน 2) นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบ เลือกใช้ ผลิตและพัฒนา ปฏิบตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน คณุ ภาพของส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยี ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 3) สอ่ื นวตั กรรมเทคโนโลยี แหล่งการเรียนรู้ ได้สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมาย ปฏบิ ัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน และกิจกรรมการเรยี นรู้ 4) มกี ารประเมินสือ่ โดยการมีสว่ นรว่ มของผู้เรยี น 5) นำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงสื่อการเรียนรู้ ให้มีคุณภาพ 4. การวดั และ 1) เลือกเครื่องมือ/วิธีการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ประเมนิ ผล ของนวตั กรรม ปฏบิ ตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน 2) สร้างและพัฒนาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวัด ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน และประเมนิ ผลไดอ้ ย่างเหมาะสมและถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการ ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 3) กำหนดเกณฑก์ ารประเมินไดอ้ ย่างชดั เจน ปฏบิ ตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 4) ใช้ผลของการวัดและประเมินผลเพื่อออกแบบวางแผน และดำเนินการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ทั้งด้านการบริหารและ การจัดการเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบต่อเนื่อง 5) วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศที่ได้จาก การวัดและประเมินผล นำเสนอต่อนักเรยี นและผ้ปู กครองเพอื่ รับทราบพัฒนาการ 3. ผลท่ีเกิดกับผเู้ รยี น 1. ผู้เรยี นมคี ะแนน 1) มผี ลการทดสอบ O-NET ท้ังในภาพรวมและรายบุคคล ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ผลการทดสอบ 2) มีจำนวนนักเรียนที่มีผลการ ทดสอบ O-NET เพิ่มขึ้นร้อยละ 50 ปฏบิ ัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน ทางการศึกษา ข้นึ ไป ปฏบิ ตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน ระดับชาตขิ นั้ 3) มกี ารวิเคราะห์ขอ้ มูล O-NET มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ปฏิบตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน พน้ื ฐาน(O-NET) 4) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปฏิบตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน ทม่ี ีการสอบ O-NET แต่ละวชิ าผา่ น 5) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนตามนวัตกรรม เกณฑเ์ พิม่ ขึ้น ของจังหวดั วิธีการประเมนิ และแหลง่ ข้อมลู คณะกรรมการฯ ลงพน้ื ทปี่ ระเมินสถานศกึ ษาเพือ่ พจิ ารณาหลักฐาน/ผลงานและ สัมภาษณผ์ เู้ กย่ี วข้อง ระหวา่ งวันที่ ....................................................................................... 1) พิจารณาจากหลักฐานและผลงานทปี่ รากฏ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี/แผนพฒั นาสถานศึกษา, รายงานผลการทดสอบ O-NET ของ สทศ., แผนการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ O-NET, แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม/เอกสารที่เกยี่ วขอ้ งต่างๆ, รายงานผลการ ดำเนินโครงการ/กจิ กรรม/การปฏบิ ัตงิ าน, คำส่งั /ประกาศ, รายงานผลความสำเรจ็ /ความพึงพอใจของโครงการ/กิจกรรม, ส่ือ/นวัตกรรม การเรยี นรู้, ทะเบยี นสอ่ื /เทคโนโลย/ี รายงานการใชส้ ื่อเทคโนโลยี,บนั ทึกการปฏิบัตงิ าน/บันทึกการ ประชุม/การนำผลการรายงาน ไปใช/้ เอกสารการประชมุ , บนั ทึกการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้, ผลงาน/ชิ้นงานจากการศกึ ษาค้นคว้า/นวตั กรรมของผู้เรยี น, นิทรรศการ/ เอกสารวารสารประชาสมั พนั ธ์,เกียรติบตั ร โลร่ างวลั ผลงานจากการศึกษาคน้ ควา้ ของนกั เรียน ฯลฯ 2) สัมภาษณ์ ผบู้ รหิ าร ครู นกั เรยี น ผู้ปกครอง และผู้เกยี่ วขอ้ ง
32 สว่ นท่ี 2 การนำเสนอผลงานการพัฒนาการจดั การเรียนรูข้ องสถานศกึ ษา องค์ประกอบการประเมิน จำนวน 2 ดา้ น 7 ตัวชีว้ ดั คะแนนรวม 100 คะแนน (คิดเปน็ สัดส่วนร้อยละ 20 ของคะแนนรวม) องค์ประกอบท่ี 1 ด้านนิทรรศการ จำนวน 4 ตวั ชว้ี ดั (50 คะแนน) ที่ ตวั ชวี้ ดั รายการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1. เนื้อหาการ 1) เนอื้ หามีความสอดคล้องกบั เรอื่ งทน่ี ำเสนอ ปฏบิ ตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน นำเสนอ 2) เนอ้ื หามคี วามครบถว้ น ครอบคลุม ปฏิบตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน 3) มกี ารอ้างอิงแหลง่ ขอ้ มูลได้อยา่ งชัดเจน ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 4) มคี วามนา่ เชอื่ ถอื ปฏบิ ัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 5) มีประโยชนต์ อ่ ผ้เู ข้าชมนทิ รรศการ ปฏบิ ัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 2. ร ู ป แ บ บ ก า ร 1) มีความริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ปฏิบัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน นำเสนอ 2) บอร์ดนิทรรศการ การตกแต่ง สื่อประกอบรูปแบบการนำเสนอ ปฏบิ ตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน มีความตอ่ เนอ่ื งสอดคล้อง ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 3) ชน้ิ งาน/ผลงาน/เอกสาร มจี ุดเดน่ สอ่ื สารเขา้ ใจงา่ ย ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 4) ผลงานมีความนา่ เชอ่ื ถอื และเป็นแบบอยา่ งการปฏบิ ตั ไิ ด้ ปฏิบัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 5) จดั แสดงนิทรรศการมชี วี ติ 3. การใช้พ้ืนท่ี 1) การใช้พ้ืนทไี่ ดอ้ ย่างคุ้มคา่ ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน นำเสนอได้ 2) ใชพ้ นื้ ที่ตรงตามทีก่ ำหนด ปฏบิ ตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน อยา่ งเหมาะสม 3) ใช้พืน้ ท่อี ย่างสรา้ งสรรค์ ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 4) ความเหมาะสมของวสั ดกุ บั ขนาดพ้ืนท่ี ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 5) การใชพ้ ้ืนที/่ แบง่ สัดสว่ นไดอ้ ย่างเหมาะสม ปฏิบตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 4. การมีสว่ นร่วม 1) สรา้ งแรงจูงใจให้ผูเ้ ขา้ ชมนิทรรศการเขา้ มามสี ่วนรว่ มกับนทิ รรศการ ปฏิบัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ของผเู้ ข้าชม 2) มีกจิ กรรมให้ผู้ชมนทิ รรศการมีส่วนรว่ ม ปฏบิ ตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน นทิ รรศการ 3) มสี อื่ เอกสารเผยแพรใ่ ห้ผูช้ มนทิ รรศการมสี ว่ นรว่ ม ปฏิบตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 4) มกี ารตอบประเด็นขอ้ ซักถามให้แกผ่ ู้เขา้ ชมนิทรรศการ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 5) เปิดโอกาสให้ผู้เข้าชมนิทรรศการแสดงความคดิ เห็น/ความพึงพอใจ ปฏิบตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน ตอ่ นทิ รรศการ องคป์ ระกอบท่ี 2 ดา้ นการนำเสนอบนเวที จำนวน 3 ตัวชีว้ ดั (50 คะแนน) ท่ี ตัวชีว้ ัด รายการ เกณฑก์ ารให้คะแนน 1. ด้านความถูก 1) การนำเสนอตรงประเด็น ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน ต้อง ชัดเจน 2) เนื้อหามีความครอบคลุม ครบถ้วน ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน และครอบคลมุ 3) นำเสนอเนื้อหาตามลำดบั /ข้ันตอน ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 4) เนือ้ หามีความชดั เจนเข้าใจง่าย ปฏิบัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 5) นำเสนอเนือ้ หาครบถว้ น ครอบคลุม ปฏบิ ัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน 2. ด้านความ 1) นำเสนอเนื้อหาภายในเวลาที่กำหนด ปฏิบัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน เหมาะสมของ 2) ใชภ้ าษาถกู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ ปฏิบัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน การนำเสนอ 3) สอ่ื ในการนำเสนอมคี วามเหมาะสม ทันสมัย ปฏิบัตไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน 4) ขนาดและรปู แบบตัวอักษรชัดเจน อา่ นงา่ ย ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 5) สอ่ื /ภาพประกอบมคี วามสอดคลอ้ งกับเนื้อหาและนา่ สนใจ ปฏิบตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน
33 ท่ี ตัวชวี้ ัด รายการ เกณฑ์การให้คะแนน 3. ด้านการตอบ 1) ตอบข้อซักถามได้ตรงประเดน็ คำถาม ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน 2) สามารถเชื่อมโยงกระบวนการทำงานได้อยา่ งชัดเจน ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน ประเดน็ /ขอ้ 3) แสดงให้เหน็ ถึงความรแู้ ละความเขา้ ใจในเร่ืองทท่ี ำ ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน ซักถาม 4) มีความมน่ั ใจในการตอบคำถาม ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน 5) แสดงไหวพริบในการแก้ไขปญั หาไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที ปฏบิ ตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน วิธีการประเมินและแหล่งเรียนรู้ คณะกรรมการฯ ประเมินการนำเสนอผลการดำเนินงานและการจัดแสดงนิทรรศการ ในการจัดเวทแี ลกเปลย่ี นเรียนรู้และถอดบทเรียนรปู แบบ/แนวทางการพฒั นาการจดั การเรยี นรขู้ องจังหวัดในพ้ืนท่รี ะดบั ภาค 1. พิจารณาจากการนำเสนอผลการดำเนนิ งาน และการตอบประเดน็ ขอ้ ซักถาม 2. พจิ ารณาจากสื่อที่นำเสนอ 6. ข้ันตอนการจดั ทำคะแนน เม่อื คณะกรรมการฯ แต่ละคนใหค้ ะแนนตามรายการในแบบประเมนิ ของตนและรวมคะแนนแตล่ ะสว่ นไว้แลว้ ให้ ประธานและคณะกรรมการประเมินอภิปรายร่วมกันให้ได้ข้อยุติ และสรุปผลการประเมินในแบบสรุปผล (ภาคผนวก ข) โดยมีขั้นตอนการจดั ทำ ดงั น้ี 1. หาผลรวมคะแนนแตล่ ะส่วนของคณะกรรมการ 2. ตรวจสอบผลรวมคะแนนแต่ละสว่ นของกรรมการแตล่ ะคน 3. หาคะแนนเฉลย่ี แตล่ ะสว่ นของกรรมการทัง้ ชุด (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) 4. นำค่าเฉลยี่ แตล่ ะสว่ น (ผลจากขอ้ 3) คูณคา่ นำ้ หนักรอ้ ยละแตล่ ะส่วน 5. รวมผลคะแนนที่ไดต้ ามข้อ 4 คดิ เป็นคะแนนรวม (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) 6. นำผลคะแนนรวมมาเทียบเกณฑ์การประเมินระดับคณุ ภาพเพ่อื หาระดับคณุ ภาพของการดำเนนิ งาน 7. นำผลการประเมนิ ของสถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ มาพจิ ารณาจัดลำดับคะแนนจากสงู ไปต่ำเพื่อคดั เลอื กเปน็ สถานศึกษานำร่อง ทม่ี ีรปู แบบ/แนวทางการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ระดบั ภาค ตามโครงการ โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาการศึกษาตามแบบสรปุ (ภาคผนวก ค) 8. เสนอผลการคัดเลือก ใหศ้ กึ ษาธกิ ารภาค พจิ ารณาลงนามในประกาศผลการคดั เลือก
34 ตวั อย่างแบบสรปุ คะแนนผลการประเมินสถานศึกษา ก. จากคณะกรรมการ (จำนวน 5 คน) ขอ้ 2 ข้อ 3 ขอ้ 4 คะแนน คะแนนของคณะกรรมการ คนท่ี คะแนน คะแนนรวม 100 เตม็ เฉลยี่ คา่ นำ้ หนัก ได้ การประเมนิ (���̅���) ร้อยละ (A) (N) 200 1. 2. 3 4. 5. 89.2 71.36 ส่วนที่ 1 การประเมินคุณภาพของ 80 86 นวัตกรรมการพัฒนาการจัดการ 100 80 90 95 92 89 175.2 20 17.2 100 88.56 เรียนรขู้ องสถานศกึ ษา สว่ นท่ี 2 การนำเสนอผลงาน 100 85 85 80 90 90 คะแนนรวม 200 165 175 175 182 179 เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ข้อ 5 คะแนน 80.00 ข้ึนไป คะแนน 70.00 – 70.99 หมายถึง ดเี ย่ียม ข้อ 6 คะแนน 60.00 – 69.99 หมายถงึ ดมี าก คะแนน 50.00 – 59.99 หมายถึง ดี คะแนน น้อยกว่า 50.00 หมายถึง พอใช้ หมายถงึ ปรบั ปรุง จากตาราง พบวา่ สถานศึกษา ก มคี ะแนนผลการประเมนิ เท่ากบั 88.56 มีผลงานดำเนนิ งานอยู่ในระดับดเี ย่ียม
35 ตวั อย่างแบบตอบรบั การเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั นวัตกรรม หน่วยงาน....................................................................................................................................................... ตำแหนง่ .......................................................................................................................................................... ไดร้ ับเอกสารเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยนวตั กรรมของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัด.............................................. เรื่อง ผลการวิเคราะห์ วิจัยรูปแบบ แนวทางการบริหารจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตาม และประเมนิ ผล หน่วยงาน.....................................................................................ได้ศึกษาและนำไปใชแ้ ลว้ พจิ ารณาแล้ว เหน็ ว่า...................................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................. ...................................................... ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรับปรุงพฒั นา ...................................................................................................................................... .............................................. .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ลงชื่อ............................................................. (..........................................................) ตำแหน่ง.............................................................
36 ประกาศสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั สิงห์บุรี เร่อื ง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาการศึกษาของจังหวดั สิงห์บุรี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ……….............................................……………….. ดว้ ย สำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดสงิ ห์บรุ ี ไดท้ ำหน้าทเี่ ป็นหน่วยงานหลกั ในการขับเคล่ือนการ จดั การศกึ ษาในจังหวดั สิงหบ์ ุรี ปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกบั การบรหิ าร และการจัดการศึกษาในระดบั พน้ื ท่จี ังหวัดสิงห์บุรี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ ตามแผนการจัดการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทยี มทางการศกึ ษา และยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การ จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาตามบริบท และความ ต้องการของผู้เรียนและความต้องการของชุมชนและท้องถิ่นในจังหวัดสิงห์บุรี จึงกำหนดโครงการที่สอดคล้องกับ การพัฒนาที่สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาดำเนินการ โดยดำเนินการตามโครงการ โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษา เพื่อพฒั นาการศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นน้ั เพอื่ ให้ ภารกิจสำคัญในการกำกับ ดูแล เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาของหน่วยงาน การศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลต่อการบริหารการจัดการศึกษาของ หน่วยงานทางการศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบายและยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงศึกษาธกิ ารและบรบิ ทของเขตพื้นท่ี สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสิงห์บุรี จึงได้กำหนดให้มีโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาของจังหวัดสิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้น เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการ และเพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมอื ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้ตรงกับบริบทของพื้นท่ี ตรงกับผล การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและความต้องการของแต่ละพื้นที่ รวมทั้งแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพของ ผู้เรียน ให้เกิดผลลัพธ์ต่อคุณภาพของผู้เรียนที่สูงขึ้น ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสม เป็นผู้มีองค์ความรู้ ตามศกั ยภาพและเปน็ คนดีของสงั คม เพือ่ ให้การดำเนนิ การดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดสิงห์บุรี จึง ประกาศแตง่ ต้งั คณะกรรมการดำเนนิ การตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบด้วย 1.1 นายธนู อักษร ศกึ ษาธิการจงั หวัดสิงหบ์ ุรี ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ 1.2 นายวิทยา ยางสุด ผอ.สพป.สิงหบ์ ุรี / 1.3 นายธวัช...
37 1.3 นายธวัช แซฮ่ ่ำ ผอ.สพม.5 กรรมการ 1.4 นายก้เู กยี รติ นิ่มเนียม ทอ้ งถิ่นจงั หวดั สิงหบ์ รุ ี กรรมการ 1.5 นางสาวจันทิรา เคหะนาค ผอ.สำนักงานพระพุทธศาสนาจ.สงิ หบ์ รุ ี กรรมการ 1.6 นายวัชระ อนั โยธา รองศึกษาธกิ ารจังหวดั สิงห์บุรี กรรมการ 1.7 นางทศั นยี ์ เอย่ี มละออ ประธาน ปสกช.จ.สงิ หบ์ ุรี กรรมการ 1.8 นายสนอง เพ็งบุญ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ กศจ.สงิ หบ์ ุรี กรรมการ 1.9 นายสมชาย สขุ เคหา กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ อกศจ.ดา้ นการบริหารราชการเชงิ ยุทธศาสตร์ กรรมการ 1.10 นางสวุ มิ ล สาสงิ ห์ กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ อกศจ.ดา้ นการพฒั นาการศึกษา กรรมการ 1.11 นางสาวฐติ ยิ า ฉมิ บรรเทงิ ผอ.กลมุ่ อำนวยการ กรรมการ 1.12 นางทศั นยี ์ คำนึง ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน กรรมการ 1.13 นางสาวจงกล เรือนงาม ผอ.กลมุ่ พัฒนาการศึกษา กรรมการ 1.14 นางสาววนิดา รองแกว้ ผอ.กลุ่มสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน กรรมการ 1.15 นายสุทลทัศน์ เจริญสุข นักวชิ าการศกึ ษา สนง.ศธภ.1 กรรมการ 1.16 นางกุลยา สอาดม่วง 1.17 นายณฐั พล กองทอง ผอ.กลุม่ นเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผล กรรมการและเลขานกุ าร ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ.สงิ หบ์ ุรี กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร มีหนา้ ท่ี อำนวยความความสะดวก ส่งเสรมิ สนับสนุน เพ่ือให้การดำเนินงานตาม โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษา เพื่อพฒั นาการศกึ ษาของจงั หวัดสิงหบ์ รุ ี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 2. คณะกรรมการฝ่ายเลขานุการ ประกอบด้วย 2.1 นางกุลยา สอาดม่วง ผอ.กลมุ่ นิเทศฯ ศธจ.สิงหบ์ ุรี ประธานกรรมการ 2.2 นางประมวล ศรสี ุธรรมศกั ด์ิ ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ.สงิ หบ์ ุรี รองประธานกรรมการ 2.3 นายศภุ วัฒน์ เคนภาวะ ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ.สงิ หบ์ ุรี กรรมการ 2.4 นายสิงหราช นยิ มรส เจา้ หน้าท่ธี ุรการ ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการ 2.5 นายณฐั พล กองทอง ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ.สิงห์บุรี กรรมการและเลขานกุ าร มหี น้าท่ี 1) ตดิ ตอ่ ประสานงาน การดำเนินงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ 2) จัดทำหนังสอื เชิญประชุมคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง 3) ดำเนินการงานธุรการตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วข้อง 4) จัดทำสรุปผลการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม การศึกษา เพื่อพัฒนาการศกึ ษาของจงั หวัดสิงหบ์ รุ ี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 /3. คณะกรรมการ...
38 3. คณะกรรมการดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำสารสนเทศผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน พืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษาในระดับจังหวดั ประกอบด้วย 3.1 นายวัชระ อันโยธา รองศึกษาธกิ ารจงั หวัดสงิ ห์บุรี ประธานกรรมการ 3.2 นางกลุ ยา สอาดมว่ ง ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ.สงิ ห์บุรี รองประธานกรรมการ 3.3 นางภทั รรัตน์ สขุ มา ศกึ ษานิเทศก์ สพป.สิงหบ์ รุ ี กรรมการ 3.4 นางสาวรชั ฎา สืบกระพันธ์ ศึกษานิเทศก์ สพม.5 กรรมการ 3.5 นางประมวล ศรีสธุ รรมศักด์ิ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ.สงิ หบ์ รุ ี กรรมการ 3.6 นายศุภวฒั น์ เคนภาวะ ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการ 3.7 นายสทุ ลทศั น์ เจริญสขุ นักวิชาการศึกษา สนง.ศธภ.1 กรรมการ 3.8 นายภูเบศร์ โปรยเงนิ นกั สง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น สถจ.สิงห์บรุ ี กรรมการ 3.9 นางสมบัติ พงษ์พรต นกั วิชาการศาสนา สนง.พศ.สิงหบ์ ุรี กรรมการ 3.10 นายณัฐพล กองทอง ศึกษานิเทศก์ ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการและเลขานกุ าร 3.11 นายสิงหราช นิยมรส เจา้ หน้าทธ่ี รุ การ ศธจ.สงิ หบ์ รุ ี กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ มีหนา้ ที่ วิเคราะหข์ ้อมลู และจัดทำสารสนเทศผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) โดย ใชข้ ้อมลู ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) 3 ปีย้อนหลงั (ปกี ารศึกษา 2560-2562) และ สรุปผลการวเิ คราะห์ภาพรวมของจงั หวดั สิงหบ์ ุรี ให้เป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ยและภายในระยะเวลาที่กำหนด 4. คณะกรรมการนิเทศ “Supervisor Teams” ตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพฒั นาการศึกษาของจังหวดั สิงห์บุรี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำสังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ประกอบด้วย 4.1 นายสมชาย พวงโต ผอ.กลุ่มนิเทศฯ สพป.สิงห์บุรี ประธานกรรมการ 4.2 นางประภาพรรณ พลู เจริญศลิ ป์ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.สิงหบ์ ุรี รองประธานกรรมการ 4.3 นางเพ็ญศรี ชิตสกุล ผอ.โรงเรยี นชุมชนบ้านไมด้ ัด กรรมการ 4.4 นายนิกร ศรีทอง ผอ.โรงเรยี นวดั เพ่มิ ประสทิ ธิผล กรรมการ 4.5 นางสาวเนาวรัตน์ ช่างเครื่อง ผอ.โรงเรียนวัดกลาง กรรมการ 4.6 นายเพิ่มศักด์ิ บัวรกั ษ์ ผอ.โรงเรียนวัดตกึ ราชา กรรมการ 4.7 นางดวงใจ สขุ สบาย ผอ.โรงเรยี นวัดโพธ์สิ ังฆาราม กรรมการ 4.8 นาวสาวนริศรา มาลาศรี ผอ.โรงเรียนวดั ถอนสมอ กรรมการ 4.9 นางสาวปณิศรา น้อยศรี ผอ.โรงเรยี นวัดท่าอฐิ กรรมการ 4.10 นางกุลยา สอาดม่วง ผอ.กลมุ่ นิเทศฯ ศธจ.สิงหบ์ ุรี กรรมการและเลขานุการ /มหี นา้ ท.่ี ..
39 มหี นา้ ที่ ดำเนินการพิจารณาคัดเลือกโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพอ่ื พัฒนาการศึกษาของจงั หวัดสงิ หบ์ รุ ี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และ ดำเนนิ การนเิ ทศ กำกับ ติดตาม สง่ เสรมิ สนับสนุน ให้คำแนะนำ โรงเรียนในกลมุ่ เป้าหมายในพน้ื ที่ของสำนักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสงิ หบ์ รุ ี 5. คณะกรรมการนิเทศ “Supervisor Teams” ตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพ่ือพฒั นาการศึกษาของจังหวัดสิงห์บรุ ี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำสังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 5 ประกอบด้วย 5.1 นางหัทยา เข็มเพ็ชร ผอ.กลุม่ นเิ ทศฯ สพม.5 ประธานกรรมการ 5.2 นางสาวรชั ฎา สบื กระพนั ธ์ ศึกษานิเทศก์ สพม.5 รองประธานกรรมการ 5.3 นายสมศกั ย์ แยม้ นุน่ ผอ.โรงเรยี นอินทรบ์ ุรี กรรมการ 5.4 ว่าทรี่ อ้ ยตรชี าญชยั กาศักด์ิ ผอ.โรงเรียนสงิ หพาหุ (ประสานมติ รอปุ ถัมภ)์ กรรมการ 5.5 นายวชั รพงษ์ แพรห่ ลาย ผอ.โรงเรียนท่าช้างวทิ ยาคาร กรรมการ 5.6 นางนัฐวรรณ ศรที อง ผอ.โรงเรียนคา่ ยบางระจันวทิ ยาคม กรรมการ 5.7 นางสาวนุชนารถ ยิม้ จนั ทร์ ผอ.โรงเรยี นพรหมบรุ ีรัชดาภิเษก กรรมการ 5.8 นางประมวล ศรีสุธรรมศกั ดิ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ.สิงหบ์ ุรี กรรมการและเลขานุการ มีหน้าท่ี ดำเนนิ การพจิ ารณาคัดเลือกโรงเรียนกลมุ่ เป้าหมายตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพ่ือพฒั นาการศึกษาของจงั หวัดสิงหบ์ รุ ี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ ดำเนินการนิเทศ กำกับ ตดิ ตาม สง่ เสริม สนบั สนุน ให้คำแนะนำ โรงเรียนในกล่มุ เป้าหมายในพื้นท่ีของสำนักงาน เขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 6. คณะกรรมการนเิ ทศ “Supervisor Teams” ตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพ่ือพฒั นาการศึกษาของจังหวดั สงิ ห์บุรี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำสงั กัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ,โรงเรยี นสงั กดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินจงั หวัดสงิ ห์บุรี และ โรงเรยี นสังกัดสำนกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดสิงหบ์ รุ ี ประกอบด้วย 6.1 นางกลุ ยา สอาดมว่ ง ผอ.กลุม่ นเิ ทศฯ ศธจ.สิงหบ์ รุ ี ประธานกรรมการ 6.2 นางสาววนิดา รองแกว้ ผอ.กลมุ่ ส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน รองประธานกรรมการ 6.3 นายทวปี ใจเพยี ร ผอ.โรงเรียนใจเพยี รวิทยานสุ รณ์ กรรมการ 6.4 นายซ้อน สุริยวัฒนานนท์ ผอ.โรงเรยี นวจิ ติ รศึกษา กรรมการ 6.5 คุณพอ่ ฮรี าลี สมพร ฤทยั หวนพนา ผอ.โรงเรียนพระกมุ ารเยซู สิงหบ์ รุ ี กรรมการ 6.6 นางสมปอง คำแย้ม ผอ.โรงเรียนนาคประดิษฐว์ ทิ ยา กรรมการ / 6.7 นายรา่ เรงิ ...
40 6.7 นายรา่ เริง รกั ชัย ผอ.โรงเรยี นอดุ มศลิ ป์ (โพธลิ งั การ์มูลนิธิ) กรรมการ 6.8 นางวลั ชรี ตาลเวช ผอ.โรงเรยี นศรอี ุดมวิทยา กรรมการ 6.9 นายชลิต ชมชื่นจิตร์ ผอ.โรงเรยี นสามัคควี ิทยา กรรมการ 6.10 นายทศพร บรรจง ผอ.โรงเรยี นอินทโมลปี ระทาน 2 (ค่ายบางระจัน) กรรมการ 6.11 นายสุรพล แทนเต ผอ.โรงเรยี นอนบุ าลเทศบาล 3 กรรมการ 6.12 พระครูสริ ิพรหมโสภติ ผอ.โรงเรียนพระปริยตั ิธรรมฯ วดั พิกุลทอง กรรมการ 6.13 พระมหาทองเลือ่ น ทกขฺ ชโย ผอ.โรงเรยี นพระปริยัติธรรมฯ วัดโพธิ์ศรี กรรมการ 6.14 นางประมวล ศรีสธุ รรมศกั ดิ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ.สิงหบ์ รุ ี กรรมการ 6.15 นางสาวประภา ศรมี ว่ งพงษ์ ครู โรงเรียนใจเพียรวิทยานุสรณ์ กรรมการ 6.16 นายภเู บศร์ โปรยเงนิ นกั สง่ เสริมการปกครองส่วนท้องถน่ิ สถจ.สงิ หบ์ ุรี กรรมการ 6.17 นางสมบัติ พงษ์พรต นกั วชิ าการศาสนาชำนาญการ สนง.พศ.สงิ ห์บุรี กรรมการ 6.18 นางประมวล ศรีสธุ รรมศักด์ิ ศึกษานิเทศก์ ศธจ.สิงห์บุรี กรรมการ 6.19 นายศุภวฒั น์ เคนภาวะ ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ.สงิ หบ์ ุรี กรรมการ 6.20 นายณฐั พล กองทอง ศึกษานิเทศก์ ศธจ.สงิ หบ์ รุ ี กรรมการและเลขานกุ าร มหี นา้ ท่ี ดำเนินการพิจารณาคัดเลือกโรงเรียนกลมุ่ เป้าหมายตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศึกษา เพอ่ื พัฒนาการศึกษาของจังหวัดสงิ หบ์ รุ ี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ ดำเนนิ การนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้คำแนะนำ โรงเรยี นในกลุม่ เป้าหมายในพ้ืนท่ีของ สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ,โรงเรียนสงั กดั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจงั หวัดสิงหบ์ รุ ี และโรงเรยี น สงั กดั สำนกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดสิงห์บุรี 7. คณะกรรมการดำเนนิ การจัดทำวิจัยจากการพัฒนานวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ การจดั การเรยี นรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล เพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของจังหวัดสงิ ห์บุรี ประกอบด้วย 7.1 นายวชั ระ อนั โยธา รองศึกษาธิการจงั หวดั สงิ ห์บรุ ี ประธานกรรมการ 7.2 นางกุลยา สอาดมว่ ง ผอ.กลุ่มนิเทศฯ ศธจ.สงิ ห์บุรี รองประธานกรรมการ 7.3 นางเพ็ญศรี ชติ สกลุ ผอ.โรงเรยี นชมุ ชนบ้านไม้ดัด กรรมการ 7.4 นางสาวนรศิ รา มาลาศรี ผอ.โรงเรียนวดั ถอนสมอ กรรมการ 7.5 นางสาวนชุ นารถ ย้มิ จนั ทร์ ผอ.โรงเรียนพรหมบุรรี ชั ดาภเิ ษก กรรมการ 7.6 นางรงุ่ นภา ธีฆะพร ผอ.โรงเรยี นศรวี นิ ิตวทิ ยาคม กรรมการ 7.7 นางสาวสมุ นพชั ร์ ปอ้ งกัน ครู โรงเรยี นสงิ หพาหุ (ประสานมติ รอุปถมั ภ)์ กรรมการ 7.8 นางณิรดา น้อยประไพ ครู โรงเรยี นวัดถอนสมอ กรรมการ 7.9 นางสาวมชั ชา แสงฉาย ครู โรงเรียนใจเพียรวทิ ยานุสรณ์ กรรมการ 7.10 นางสาววีรวรรณ อมิ่ มาก ครู โรงเรียนใจเพียรวิทยานสุ รณ์ กรรมการ / 7.11 นายภูเบศร์...
41 7.11 นายภูเบศร์ โปรยเงิน นกั สง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่น สถจ.สงิ หบ์ ุรี กรรมการ 7.12 นางสมบตั ิ พงษพ์ รต นกั วชิ าการศาสนาชำนาญการ สนง.พศ.สงิ หบ์ ุรี กรรมการ 7.13 นางสาววนดิ า รองแก้ว ผอ.กลมุ่ ส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการ 7.14 นางประมวล ศรสี ุธรรมศักดิ์ กรรมการ ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ.สิงห์บรุ ี 7.15 นายศุภวัฒน์ เคนภาวะ ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ.สิงห์บุรี กรรมการ 7.16 นายณฐั พล กองทอง ศึกษานิเทศก์ ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการและเลขานุการ 7.17 นายสงิ หราช นยิ มรส เจา้ หน้าท่ีธุรการ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร มีหน้าท่ี จัดทำโครงร่างการวิจยั ออกแบบการวิจัย จัดทำเคร่ืองมือวิจยั เก็บรวบรวมขอ้ มูล และรายงาน ผลการวิจยั ทไ่ี ด้จากการพัฒนานวัตกรรมดา้ นการบริหารจัดการ ดา้ นการจดั การเรียนรู้ และด้านการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของจังหวัดสิงหบ์ ุรี ตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาของจงั หวดั สิงห์บุรี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา ภายในระยะเวลาท่สี ำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการกำหนด 8. คณะกรรมการฝ่ายปฏิคมและรับรายงานตวั ประกอบดว้ ย 8.1 นางกลุ ยา สอาดมว่ ง ผอ.กลุ่มนิเทศฯ ศธจ.สงิ ห์บุรี ประธานกรรมการ 8.2 นางสาวจงกล เรอื นงาม ผอ.พฒั นาการศกึ ษา ศธจ.สงิ หบ์ ุรี รองประธานกรรมการ 8.3 นางสาววนิดา รองแกว้ ผอ.กลมุ่ ส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ศธจ.สงิ หบ์ รุ ี กรรมการ 8.4 นางสาวรภสั สา ศศริ ภ์ ัทร นักวชิ าการศกึ ษา ศธจ.สงิ หบ์ รุ ี กรรมการ 8.5 นางยวุ กานต์ ยศวฒั นะกุล นกั ทรพั ยากรบคุ คล ศธจ.สงิ ห์บรุ ี กรรมการ 8.6 นางสาวชลติ ์ญา ทรพั ย์พาลี นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการ 8.7 นางสาวณัฐรดา บณุ ยเนตร นกั วิชาการตรวจสอบภายใน ศธจ.สงิ ห์บรุ ี กรรมการ 8.8 นางสาวปทุมพร มว้ นเงิน เจา้ พนักงานธรุ การ ศธจ.สิงหบ์ รุ ี กรรมการ 8.9 นางสาววลัยกร บวั เงนิ นักวชิ าการศกึ ษา ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการ 8.10 นางสาวลลติ า เพงิ สงเคราะห์ เจา้ หน้าทค่ี รุ ุสภา ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการ 8.11 นายอิทธิพล พลอยประสทิ ธิ์ เจา้ หน้าทล่ี กู เสอื ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการ 8.12 นายสงิ หราช นิยมรส เจา้ หนา้ ท่ธี ุรการ ศธจ.สงิ ห์บุรี กรรมการและเลขานุการ 8.13 นางดวงเดอื น คำรอด ลูกจา้ งชั่วคราว ศธจ.สงิ ห์บรุ ี กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ มหี นา้ ท่ี ดำเนนิ การต้อนรบั รายงานตัว ดูแล และจัดหาเครอื่ งด่ืมให้แขกผมู้ เี กยี รติ ในวันทม่ี ีการจัดประชมุ ตาม โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาของจังหวดั สิงหบ์ รุ ี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ทุกคร้งั ในวันเวลาสถานที่ ท่กี ำหนด ใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อย /9. คณะกรรมการ...
42 9. คณะกรรมการฝ่าย ICT และประชาสัมพนั ธ์ ประกอบด้วย 9.1 นางทศั นีย์ คำนึง ผอ.กลมุ่ นโยบายและแผน ศธจ.สงิ ห์บุรี ประธานกรรมการ 9.2 นายสาทติ ย์ จักรเทพวงศ์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน ศธจ.สิงหบ์ ุรี รองประธานกรรมการ 9.3 นายสิงหราช นยิ มรส เจา้ หนา้ ท่ีธุรการ ศธจ.สิงห์บรุ ี กรรมการ 9.4 นางสาวพิชามญช์ุ อนโุ รจน์ เจา้ หนา้ ท่ธี ุรการ ศธจ.สิงหบ์ ุรี กรรมการ 9.5 นายอิทธพิ ล พลอยประสทิ ธิ์ เจ้าหน้าทล่ี ูกเสอื ศธจ.สิงหบ์ รุ ี กรรมการ 9.6 นายธณกฤต งามขำ เจา้ หนา้ ทง่ี านเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนสิงหบ์ ุรี กรรมการ 9.7 นางสาวหทยั ภทั ร รตั นบวั พา เจา้ หนา้ ท่ีประชาสมั พนั ธ์ ศธจ.สิงหบ์ ุรี กรรมการและเลขานกุ าร มีหน้าที่ จัดเตรียมอปุ กรณ์ ICT คอมพิวเตอร์ ตลอดจนบนั ทึกถา่ ยภาพประกอบกิจกรรม และประชาสมั พนั ธ์การ ดำเนินโครงการฯ ตลอดระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ ทางเว็ปไซตแ์ ละส่ือสงั คมออนไลน์ต่างๆ ใหเ้ ป็นปจั จบุ ัน สมำ่ เสมอ 10. คณะกรรมการฝา่ ยการเงนิ ประกอบด้วย 10.1 นางสาวฐิตยิ า ฉิมบรรเทิง ผอ.กลมุ่ อำนวยการ ศธจ.สิงห์บรุ ี ประธานกรรมการ 10.2 นางกลุ ยา สอาดม่วง ผอ.กลุ่มนเิ ทศฯ ศธจ.สงิ หบ์ ุรี รองประธานกรรมการ 10.3 นายสาทิตย์ จกั รเทพวงศ์ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ศธจ.สิงหบ์ ุรี กรรมการ 10.4 นางสาวณฐั สริ ิ พรหมมา เจา้ พนกั งานธุรการ ศธจ.สงิ ห์บรุ ี กรรมการ 10.5 นางสาวธนชั ยา ปานทอง นกั วชิ าการเงินและบัญชี ศธจ.สงิ ห์บุรี กรรมการและเลขานุการ มีหน้าท่ี ดำเนนิ การด้านการจัดการบริหารงบประมาณ และอำนวยความสะดวกดา้ นการเงนิ การบญั ชี และการ เบกิ จา่ ยเงนิ ในการดำเนินโครงการฯ ให้เปน็ ไปตามความเรยี บรอ้ ยถกู ต้อง บรสิ ุทธิ์ ยตุ ิธรรม และเปน็ ไปตาม ระเบียบของทางราชการฯ ท้งั นี้ ต้ังแตบ่ ัดนเ้ี ป็นตน้ ไป สง่ั ณ วนั ท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2564 (นายธนู อักษร) ศกึ ษาธิการจงั หวดั สิงหบ์ ุรี
43 ทปี่ รกึ ษา คณะผู้จดั ทำ 1. นายธนู อักษร ศึกษาธิการจังหวัดสงิ หบ์ ุรี รองศึกษาธกิ ารจังหวดั สงิ ห์บุรี 2. นายวัชระ อันโยธา ผอ.กล่มุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ศธจ.สงิ ห์บรุ ี คณะทำงาน ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ.สงิ ห์บรุ ี ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ.สงิ หบ์ รุ ี 1. นางกุลยา สอาดมว่ ง ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ.สิงหบ์ ุรี 2. นางประมวล ศรีสธุ รรมศักด์ิ เจา้ หนา้ ทีธ่ ุรการ ศธจ.สงิ ห์บรุ ี 3. นายณฐั พล กองทอง 4. นายศุภวัฒน์ เคนภาวะ 5. นายสงิ หราช นยิ มรส
Search
Read the Text Version
- 1 - 47
Pages: