คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 พลังงานกบั ชวี ติ 160 ย่อหน้าที่ 4 22.8 รูปที่ 19 ในใบความรู้เปรียบได้กับแบบจำลองเมื่อผู้สังเกตอยู่ที่ ตำแหนง่ ใด (ตำแหน่งท่ี 2) 22.9 เมอ่ื อยู่ที่ตำแหนง่ นี้ ผู้สังเกตมองเหน็ ดวงอาทิตย์อยู่ท่ีใด และเป็น เวลาใด (อยูก่ ลางศีรษะ เป็นเวลาเที่ยงวัน) 22.10 ขอบฟ้าทางขวามอื ของผูส้ งั เกตเป็นทิศใด (ทิศตะวนั ออก) ยอ่ หนา้ ท่ี 5 22.11 รูปท่ี 20 ในใบความรู้เปรยี บได้กับแบบจำลองเม่ือผู้สังเกตอยู่ที่ ตำแหนง่ ใด (ตำแหน่งท่ี 3) 22.12 เมื่ออยู่ที่ตำแหน่งนี้ ผู้สังเกตมองเห็นดวงอาทิตย์อยู่ทางด้านใด และเป็นเวลาใด (ดา้ นซา้ ยมอื เป็นเวลาเยน็ ) 22.13 ขอบฟ้าทางขวามือและซ้ายมือของผูส้ ังเกตเป็นทศิ ใด (ขอบฟ้า ทางขวามือเป็นทิศตะวันออก ขอบฟ้าทางซ้ายมือเป็นทิศ ตะวนั ตก) ย่อหนา้ ที่ 6 22.14 รปู ท่ี 21 ในใบความรเู้ ปรียบได้กับแบบจำลองเมื่อผู้สังเกตอยู่ท่ี ตำแหนง่ ใด (ตำแหน่งท่ี 4) 22.15 เมื่ออยู่ที่ตำแหน่งนี้ ผู้สังเกตมองเห็นดวงอาทิตย์อยู่ท่ีใด และ เป็นเวลาใด (ผ้สู ังเกตมองไมเ่ หน็ ดวงอาทติ ย์ เปน็ เวลาเทย่ี งคนื ) 22.16 ขอบฟา้ ทางขวามือและซ้ายมือของผ้สู ังเกตเป็นทิศใด (ขอบฟ้า ทางขวามือเป็นทิศตะวันออก ขอบฟ้าทางซ้ายมือเป็นทิศ ตะวันตก) 22.17 ถ้าผู้สังเกตยังคงหันหน้าไปทางขั้วโลกเหนือ ทิศมีการเคลื่อนท่ี หรือไม่ อย่างไร (ทิศอยู่กับที่ แม้ว่าผู้สังเกตจะเปลี่ยนตำแหน่ง ด้านขวามือของผสู้ ังเกตกย็ ังคงเป็นทิศตะวันออก ซึ่งเป็นด้านท่ี มองเห็นดวงอาทติ ยเ์ ร่ิมปรากฏขน้ึ จากขอบฟ้า) ย่อหนา้ ท่ี 7 22.18 เราใช้อะไรในการกำหนดทิศ (ใช้การมองเห็นดวงอาทิตย์ข้ึน และตกในการกำหนดทิศ โดยกำหนดให้ดา้ นทีผ่ ูส้ งั เกตมองเห็น ดวงอาทิตย์เริ่มปรากฏขึ้นจากขอบฟ้าเป็นทิศตะวันออกและ ด้านทม่ี องเหน็ ดวงอาทติ ยล์ ับขอบฟ้าเป็นทศิ ตะวันตก) สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
161 คูม่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกับชวี ิต 22.19 ถ้าด้านขวามือของผู้สังเกตเป็นทิศตะวันออก ด้านหน้าและ ด้านหลังจะเป็นทิศใด (ด้านหน้าเป็นทิศเหนือ ด้านหลังเป็น ทิศใต)้ 22.20 เครื่องหมาย E และ W ที่นักเรียนทำในแบบจำลอง ใช้แทน ทิศใด (E แทนทิศตะวนั ออก W แทนทศิ ตะวนั ตก) 22.21 ตัวอักษร E ย่อมาจากอะไร และหมายถึงอะไร (E ย่อมาจาก East หมายถึงทศิ ตะวันออก) 22.22 ตัวอักษร W ย่อมาจากอะไร และหมายถึงอะไร (W ย่อมาจาก West หมายถงึ ทิศตะวันตก) 22.23 North และ South หมายถึงทิศใด และใช้ตัวย่อเป็นอะไร (North หมายถึงทิศเหนือ ใช้ตัวย่อ N ส่วน South หมายถึง ทิศใต้ ใช้ตัวย่อ S) ยอ่ หน้าที่ 8 22.24 นักเรียนสามารถหาตำแหน่งที่ต้องการไปและหาทิศได้หรือไม่ อย่างไร (ได้ เราสามารถหาตำแหน่งที่ต้องการไปได้โดยใช้ แผนท่ี และหาทิศได้โดยใช้เข็มทิศ) 22.25 นักเรียนจะใช้เข็มทิศในการหาทิศได้อย่างไร (หมุนหน้าปัดเข็ม ทศิ ใหล้ ูกศรทับบนตัวอกั ษร N ซ่งึ แทนทศิ เหนือ) 23. ครูให้นักเรียนสงั เกตการขึ้นและตกของดวงอาทิตยโ์ ดยใช้แอปพลิเคชนั สำหรบั การสงั เกตภาพเสมือนจรงิ สามมติ ิ (AR) เรือ่ งการขึ้นและตกของ ดวงอาทิตยใ์ นหนังสอื เรียนหน้า 66 เป็นสือ่ เสรมิ ประกอบเพม่ิ เติม 24. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำ กิจกรรม โดยใช้คำถามดังต่อไปน้ี 24.1 สาเหตุการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์จากใบความรู้เหมือนกับ การอธิบายจากแบบจำลองหรือไม่ อย่างไร (เหมือนกัน คือเม่ือ โลกหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์หรอื ไฟฉาย ทำให้ ผู้สังเกตมองเห็นแสงจากดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นจากขอบฟ้า ด้านหนง่ึ และตกลับขอบฟา้ อกี ดา้ นหนึ่ง) 24.2 การกำหนดทิศในใบความรู้เหมือน กับการอธิบายจาก แบบจำลองหรือไม่ อย่างไร (เหมือนกนั คือถา้ ผ้สู งั เกตหนั หน้าไป ทางขั้วโลกเหนือ ทางขวามือของผู้สังเกตจะมองเห็นดวงอาทิตย์ ปรากฏขึ้น กำหนดเป็นทิศตะวันออก และทางซ้ายมือของ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกบั ชีวติ 162 ผู้สังเกตจะมองเห็นดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้า กำหนดเป็นทิศ ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี ตะวนั ตก) แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ 24.3 ปรากฏการณ์การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์เกิดขึ้นได้อย่างไร ปรากฏการณ์การขึ้นตกของ (เกดิ ข้นึ เม่ือโลกหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้ ดวงอาทิตย์ และการกำหนดทิศ คนบนโลกมองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นจากขอบฟ้าด้านหนึ่ง ให้ร่วมกนั อภิปรายจนนักเรียนมี แลว้ เคลื่อนทไ่ี ปบนทอ้ งฟา้ จนลับขอบฟา้ อีกดา้ นหน่ึง) แนวคดิ ทีถ่ กู ต้อง 24.4 ทิศที่ดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นและลับจากของฟ้าเป็นทิศเดียวกัน หรือไม่ อย่างไร (ทิศท่ีดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นและลับขอบฟ้าเป็น คนละทิศกัน โดยทิศที่ดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นเป็นทิศตะวันออก ส่วนทศิ ทีด่ วงอาทติ ยล์ ับขอบฟา้ เปน็ ทิศตะวนั ตก) 25. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิง่ ที่อยากรูเ้ พิ่มเติมเก่ียวกับการเกดิ ปรากฏการณ์การขน้ึ และตกของดวงอาทิตย์และการกำหนดทิศ รวมทั้ง ตรวจสอบแนวคิดของนักเรียนว่าถูกต้องหรือไม่ จากนั้นร่วมกัน อภิปรายและลงข้อสรุปว่า การที่โลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ จะทำให้เกิดปรากฏการณ์การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ โดยเมื่อโลกหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากบริเวณเหนือขั้วโลกเหนือ คนบนโลก มองเห็นดวงอาทติ ย์ปรากฏข้นึ จากขอบฟ้าด้านหน่ึง แลว้ เคลื่อนท่ีไปบน ท้องฟา้ จนลับขอบฟ้าอกี ด้านหนง่ึ ซง่ึ หมนุ เวียนเป็นแบบรูปคงที่ตอ่ เน่ือง ไมม่ ีท่ีส้ินสุดเปน็ วฏั จักร นอกจากนก้ี ารหมนุ รอบตวั เองของโลกยังทำให้ เกิดการกำหนดทิศ โดยกำหนดให้ด้านที่ผู้สังเกตบนโลกมองเห็น ดวงอาทิตย์เริ่มปรากฏขึ้นจากขอบฟ้าเป็นทิศตะวันออก และด้านที่ ผสู้ งั เกตบนโลกมองเหน็ ดวงอาทติ ย์ลับขอบฟ้าเปน็ ทศิ ตะวันตก (S13) 26. นักเรียนตอบคำถามในฉนั รู้อะไร ตอนที่ 2 และร่วมกันอภปิ รายเพ่อื ให้ ไดแ้ นวคำตอบทถ่ี กู ต้อง 27. นกั เรียนสรปุ สิง่ ทไ่ี ด้เรียนรใู้ นกิจกรรมน้ี จากน้นั ครใู หน้ กั เรียนอ่าน สิ่งท่ี ไดเ้ รียนรู้ และเปรยี บเทียบกับขอ้ สรปุ ของตนเอง 28. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกบั คำถามที่นำเสนอ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
163 คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลงั งานกบั ชวี ิต 29. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขั้นตอนใด ในหนงั สอื เรยี น หน้า 70 ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 5 พลังงานกับชีวิต 164 แนวคำตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม สรา้ งแบบจำลองและอธิบายการเกิดกลางวัน กลางคืน คำตอบขึ้นอยู่กบั ผลการออกแบบของนกั เรยี น ซ่ึงอาจจะแตกต่างจากตวั อย่าง ดวงอาทิตย์ โลก โลก ดวงอาทติ ย์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
165 คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลังงานกับชวี ติ คำตอบข้นึ อยู่กบั ผลการทำกิจกรรมของนักเรยี น คำตอบข้นึ อยู่กบั ผลการทำกิจกรรมของนกั เรียน √ เมือ่ หมุนลกู โลกให้ตำแหน่งประเทศไทยหนั ไปทางด้านทีไ่ ดร้ ับแสงจากไฟฉาย จะสวา่ ง เปน็ เวลากลางวนั แตเ่ มอ่ื หมนุ ลกู โลกใหเ้ คล่ือนท่ีตอ่ ไปจนตำแหนง่ ประเทศไทยไปอยู่อีกด้านซง่ึ ไมไ่ ดร้ บั แสงจากไฟฉาย จะมืด จงึ เป็นเวลา กลางคืน เปน็ เชน่ น้ีเหมอื นกันขณะหมุนลกู โลกทัง้ 3 รอบ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลังงานกบั ชีวิต 166 สร้างแบบจำลองและอธบิ ายปรากฏการณก์ ารขนึ้ และตก ของดวงอาทติ ย์ และการกำหนดทิศ ด้านขวามอื ของตกุ๊ ตา E กลางหวั ของตุ๊กตา ดา้ นซ้ายมอื ของตกุ๊ ตา W ใตเ้ ทา้ ของตกุ๊ ตา แสงจะตกกระทบบนกระดาษ ท่ีตำแหน่งเดียวกนั ทุกรอบของการหมุนลูกโลก สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
167 คูม่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลงั งานกบั ชวี ิต เมอ่ื โลกหมุนรอบตัวเอง ผสู้ ังเกตจะมองเหน็ แสงจากดวงอาทติ ย์ปรากฏขน้ึ จากขอบฟา้ ดา้ นหนึง่ แล้วเคลื่อนทไ่ี ปบนท้องฟา้ จนลับขอบฟ้าอกี ดา้ นหนง่ึ ตะวันออก มองเห็นแสงจาก ดวงอาทติ ยเ์ ปน็ จุดแรก ซ่ึงอยทู่ างดา้ นขวามือของผสู้ ังเกต ตะวันตก มองเหน็ แสงจาก ดวงอาทิตย์เป็นจดุ สดุ ท้าย ซึ่งอยู่ทางด้านซา้ ยมอื ของผู้สังเกต ตะวันออก ทวนเขม็ นาฬกิ า เคลือ่ นทไ่ี ป ขวามือ ซา้ ยมือ ตะวนั ตก ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 พลังงานกบั ชวี ติ 168 เกิดจากการที่โลกหมุนรอบตัวเองพร้อมกับการโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้โลก ด้านหนึ่งได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ ด้านนั้นจึงสว่าง เป็นเวลากลางวัน ส่วนโลก อกี ด้านหน่ึงไมไ่ ด้รับแสงจากดวงอาทติ ย์ ดา้ นน้ันจึงมืด เป็นเวลากลางคนื เป็นเวลากลางคืน เพราะโลกมีลักษณะคล้ายทรงกลม ทำให้ด้านที่อยู่ ตรงกันข้ามไม่ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ ดา้ นนัน้ มดื จงึ เป็นเวลากลางคนื เพราะการที่โลกหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ทำให้โลกด้านหนึ่งได้รบั แสง จึงเป็นเวลากลางวัน ส่วนโลกอีกด้านหนึง่ ไม่ได้รับแสง จึง เป็นเวลากลางคืน เมอื่ โลกหมนุ ต่อไป โลกดา้ นทเ่ี คยได้รับแสงจะเปลีย่ นเป็นไม่ได้รับแสง ส่วนดา้ นทีไ่ มเ่ คยได้รับแสงจะเปลี่ยนเป็นไดร้ บั แสง สลับกันไปอยา่ งต่อเนื่องไมม่ ีที่ส้ินสุด เมื่อโลกหมนุ รอบตัวเองทำให้โลกด้านหนึ่งได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ ด้านนน้ั สว่าง เป็นเวลากลางวัน ส่วนโลกอีกด้านหนึ่งไม่ได้รับแสง ด้านนั้นมืด เป็น เวลากลางคืน เมื่อโลกหมุนต่อไปทำให้ด้านที่ได้รับแสงเปลี่ยนเป็นไม่ได้รับ แสง และด้านที่ไม่ได้รับแสงเปลี่ยนเป็นได้รับแสง เกิดเป็นกลางวัน กลางคืน สลับกันอย่างต่อเน่ืองเปน็ แบบรปู คงท่ี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
169 ค่มู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 พลงั งานกับชวี ิต คนละด้านกนั รไู้ ดจ้ ากผสู้ ังเกตซึง่ หันหน้าไปทางขั้วโลกเหนอื จะเร่ิมมองเห็น แสงหรือเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นทางด้านขวามือ เมื่อโลกหมุนต่อไป ผู้สังเกตจะมองเห็นแสงเป็นจุดสุดท้ายหรือเห็นดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า ทางด้านซ้ายมือของผ้สู ังเกต เมื่อโลกหมุนรอบตัวเองทำให้คนบนโลกมองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นจาก ขอบฟ้าดา้ นหนึง่ แลว้ เคลื่อนทีไ่ ปบนท้องฟ้าจนลบั ขอบฟา้ อีกด้านหนึง่ เม่อื โลก หมุนตอ่ ไปกย็ งั คงมองเหน็ ดวงอาทติ ย์ปรากฏข้ึนและตกเชน่ เดมิ อยา่ งต่อเนื่อง ดา้ นทม่ี องเหน็ ดวงอาทติ ย์ปรากฏขนึ้ จากขอบฟ้า กำหนดเป็นทิศตะวันออก ดา้ นที่มองเห็นดวงอาทิตยล์ ับขอบฟา้ กำหนดเปน็ ทิศตะวันตก เป็นทศิ เดมิ ตลอด เพราะเมอ่ื โลกหมนุ รอบตวั เอง ดา้ นทีม่ องเห็นดวงอาทิตย์ ปรากฏขึ้นจากขอบฟ้า ยังคงเป็นด้านขวามือซึ่งกำหนดเป็นทิศตะวันออก และด้านที่มองเห็นดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า ยังคงเป็นด้านซ้ายมือซึ่งกำหนด เป็นทศิ ตะวันตก ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 พลังงานกบั ชวี ิต 170 เม่อื โลกหมุนรอบตวั เองทำให้คนบนโลกมองเหน็ ดวงอาทติ ยป์ รากฏขึ้นจาก ขอบฟา้ ด้านหนึง่ กำหนดให้เปน็ ทิศตะวันออก จากนั้นดวงอาทิตย์เคลื่อนท่ี ไปบนท้องฟ้าจนลับขอบฟ้าอีกด้านหนึ่ง เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นแบบรูป คงที่ การหมุนรอบตัวเองของโลกในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาขณะที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดปรากฏการณ์การเกิดกลางวัน กลางคืน ปรากฏการณก์ ารขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ และการกำหนดทศิ คำถามของนักเรยี นทต่ี ั้งตามความอยากร้ขู องตนเอง สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
171 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 พลังงานกบั ชีวิต แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นทำได้ ดังนี้ 1. ประเมนิ ความรู้เดิมจากการอภปิ รายในชน้ั เรียน 2. ประเมินการเรียนร้จู ากคำตอบของนกั เรียนระหว่างการจดั การเรียนรู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทำกิจกรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทำกิจกรรมที่ 1.1 การหมุนรอบตวั เองของโลก ทำใหเ้ กิดปรากฏการณอ์ ะไรบ้าง รหัส สิ่งทปี่ ระเมนิ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S5 การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปซกบั สเปซ S8 การลงความเหน็ จากข้อมลู S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป S14 การสร้างแบบจำลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การส่ือสาร C5 ความรว่ มมอื รวมคะแนน ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกบั ชวี ิต 172 ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะ เกณฑก์ ารประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) วิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต การสังเกตและบรรยาย สามารถสงั เกตและ สามารถสงั เกตและ สามารถสังเกตและ รายละเอียดท่ีได้จาก บรรยายรายละเอียดที่ บรรยายรายละเอียดท่ีได้ บรรยายรายละเอียดท่ีได้ การสังเกตโดยใช้ ได้จากการสังเกตโดยใช้ จากการสังเกตโดยใช้ จากการสังเกตโดยใช้ ประสาทสัมผัส ประสาทสัมผสั เกี่ยวกับ ประสาทสัมผสั เกี่ยวกับ ประสาทสัมผัส เกยี่ วกับ เกี่ยวกับการไดร้ ับแสง การไดร้ ับแสงของ การได้รับแสงของลูกโลก การไดร้ ับแสงของลูกโลก ของลูกโลกและการ ลกู โลกและการ และการเปลี่ยนแปลงการ และการเปลี่ยนแปลงการ เปลีย่ นแปลงการไดร้ ับ เปลีย่ นแปลงการไดร้ ับ ไดร้ ับแสงของประเทศไทย ได้รับแสงของประเทศไทย แสงของประเทศไทย แสงของประเทศไทยเม่ือ เมื่อหมุนลูกโลก 3 รอบ เมื่อหมุนลูกโลก 3 รอบ เม่ือหมุนลูกโลก 3 รอบ หมุนลูกโลก 3 รอบ และตำแหน่งของแสงจาก และตำแหนง่ ของแสงจาก และตำแหนง่ ของแสง และตำแหน่งของแสง ไฟฉายบนแผ่นกระดาษ ไฟฉายบนแผ่นกระดาษ จากไฟฉายบน จากไฟฉายบน วงกลมได้ จากการช้แี นะ วงกลมได้เพียงบางส่วน แผ่นกระดาษวงกลม แผ่นกระดาษวงกลมได้ ของครูหรอื ผูอ้ ่นื หรือมี แม้วา่ จะไดร้ ับคำชแ้ี นะ ดว้ ยตนเอง โดยไม่ การเพิ่มเติมความคิดเห็น จากครูหรอื ผู้อื่น เพิ่มเติมความคิดเห็น S5 การหา การระบุความสัมพันธ์ สามารถระบุ สามารถระบุ สามารถระบุ ความสัมพนั ธ์ ระหว่างตำแหน่งของ ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ระหวา่ งสเปซ ดวงอาทิตย์กับการ ตำแหน่งของดวง ตำแหน่งของ ตำแหนง่ ของดวงอาทิตย์ กับสเปซ มองเหน็ ดวงอาทติ ย์ อาทติ ย์กับการมองเห็น ดวงอาทิตย์กบั การ กบั การมองเห็น เม่ือโลกหมนุ รอบ ดวงอาทิตย์เม่อื โลก มองเหน็ ดวงอาทติ ย์เมือ่ ดวงอาทติ ย์เมื่อโลก ตวั เอง หมนุ รอบตวั เองได้ โลกหมนุ รอบตวั เองได้ หมุนรอบตัวเองได้ ถูกต้อง ด้วยตนเอง ถูกต้อง จากการชแ้ี นะ ถกู ต้องเพียงบางสว่ น ของครหู รือผูอ้ ่นื แม้ว่าจะได้รับคำชแี้ นะ จากครหู รือผู้อื่น S8 การลง การลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ จาก ความเหน็ จาก ขอ้ มลู เก่ียวกับการเกดิ จากข้อมลู เกย่ี วกับการ ขอ้ มูลเก่ียวกบั การเกิด ขอ้ มลู เกีย่ วกบั การเกิด ขอ้ มูล กลางวนั กลางคืน เกดิ กลางวนั กลางคนื กลางวนั กลางคนื กลางวัน กลางคนื การขน้ึ และตกของ การขึน้ และตกของ การขนึ้ และตกของ การขน้ึ และตกของ ดวงอาทิตย์ และ ดวงอาทิตย์ และ ดวงอาทติ ย์ และ ดวงอาทติ ย์ และ การกำหนดทศิ จาก การกำหนดทิศ จาก การกำหนดทิศ จากการ การกำหนดทศิ จากการ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
173 คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 พลังงานกบั ชวี ิต ทักษะ เกณฑก์ ารประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) วทิ ยาศาสตร์ การอา่ นใบความรแู้ ละ การอ่านใบความรู้และ อา่ นใบความร้แู ละจาก อ่านใบความร้แู ละจาก จากการสร้าง จากการสรา้ ง การสร้างแบบจำลองได้ การสรา้ งแบบจำลองได้ แบบจำลอง แบบจำลองไดด้ ว้ ย จากการช้แี นะของครู เพยี งบางส่วน แม้วา่ จะ ตนเอง หรอื ผูอ้ น่ื ไดร้ ับคำชี้แนะจากครู หรือผ้อู ืน่ S13 การ การตีความหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตคี วามหมาย ตีความหมายข้อมูล ข้อมูลที่ได้จากการ ข้อมูลที่ได้จากการอา่ น ข้อมูลท่ีได้จากการอา่ น ขอ้ มลู ที่ได้จากการอ่าน และการลงข้อสรปุ อา่ นใบความรู้และจาก ใบความรู้และจาก ใบความร้แู ละจาก ใบความรู้และจาก แบบจำลองไดว้ ่า โลก แบบจำลองไดว้ ่า โลก แบบจำลองได้วา่ โลก แบบจำลองได้วา่ โลก หมนุ รอบตัวเองใน หมุนรอบตวั เองใน หมนุ รอบตัวเองใน หมุนรอบตวั เองใน ทศิ ทางทวนเข็ม ทศิ ทางทวนเข็มนาฬิกา ทศิ ทางทวนเขม็ นาฬิกา ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา นาฬกิ าเมือ่ มองจาก เมือ่ มองจากบรเิ วณ เมื่อมองจากบริเวณ เมื่อมองจากบริเวณเหนือ บริเวณเหนือขัว้ โลก เหนอื ขั้วโลกเหนือ ทำ เหนือขว้ั โลกเหนือ ขวั้ โลกเหนอื เหนือ ทำให้เกิด ใหเ้ กิดกลางวัน ทำใหเ้ กดิ กลางวนั ทำใหเ้ กดิ กลางวัน กลางวัน กลางคืน กลางคนื ปรากฏการณ์ กลางคนื ปรากฏการณ์ กลางคืน ปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์การขึน้ การขนึ้ และตกของดวง การขึ้นและตกของ การขึ้นและตกของดวง และตกของดวง อาทิตย์ และการ ดวงอาทติ ย์ และการ อาทิตย์ และการกำหนด อาทติ ย์ และการ กำหนดทิศไดด้ ้วย กำหนดทิศได้ จากการ ทิศไดเ้ พยี งบางส่วน กำหนดทศิ ตนเอง ชี้แนะจากครูและผู้อ่นื แมว้ ่าจะได้รบั คำชแี้ นะ จากครูหรอื ผู้อืน่ S14 การสรา้ ง การสร้างแบบจำลอง สามารถสร้าง สามารถสร้าง สามารถสร้างแบบจำลอง แบบจำลอง เพ่ืออธบิ ายการเกิด แบบจำลองและอธิบาย แบบจำลองและอธิบาย และอธบิ ายการเกดิ กลางวนั กลางคืน การ การเกดิ กลางวัน การเกดิ กลางวนั กลางคนื กลางวันกลางคนื การขึ้น ขึ้นและตกของ กลางคนื การข้นึ และ การขนึ้ และตกของดวง และตกของดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ และการ ตกของดวงอาทิตย์ อาทติ ย์ และการกำหนด และการกำหนดทิศ โดย กำหนดทศิ โดยใช้ และการกำหนดทิศ ทศิ โดยใชล้ ูกโลก ไฟ ใช้ลกู โลก ไฟฉาย และ ลูกโลก ไฟฉาย และ โดยใช้ลกู โลก ไฟฉาย ฉาย และอุปกรณ์อน่ื ๆ อปุ กรณ์อื่น ๆ ไดเ้ พียง อุปกรณ์อน่ื ๆ และอปุ กรณ์อ่นื ๆ ได้ ไดจ้ ากการชแี้ นะจากครู บางส่วน แม้ว่าจะได้ ดว้ ยตนเอง และผู้อืน่ รับคำช้แี นะจากครูหรอื ผ้อู ืน่ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกบั ชวี ิต 174 ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมินทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทักษะแห่ง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรุง (1) ศตวรรษท่ี 21 ดี (3) พอใช้ (2) สามารถนำเสนอรูปวาด C4 การสอื่ สาร แบบจำลองที่อธิบายการ การนำเสนอรปู วาด สามารถนำเสนอรปู วาด สามารถนำเสนอรปู วาด เกดิ กลางวัน กลางคนื C5 ความ และบรรยายว่าอุปกรณ์ ร่วมมือ แบบจำลองท่ีอธบิ าย แบบจำลองท่ีอธิบายการ แบบจำลองที่อธิบายการ ตา่ ง ๆ ทเี่ ลือกใช้ แทนสิง่ ใดในธรรมชาติ รวมทง้ั การเกดิ กลางวัน เกิดกลางวัน กลางคืน เกดิ กลางวนั กลางคืน ตำแหนง่ ท่แี สงตกกระทบ บนแผ่นกระดาษวงกลม กลางคนื และการ และบรรยายว่าอปุ กรณ์ และบรรยายว่าอุปกรณ์ เม่อื หมนุ ลูกโลกไป ตำแหนง่ ตา่ ง ๆ ให้ผู้อนื่ บรรยายว่าอปุ กรณ์ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ลือกใช้ แทนสงิ่ ต่าง ๆ ทีเ่ ลอื กใช้ แทนสิ่ง เข้าใจได้เพียงบางสว่ น แม้วา่ จะได้รบั คำชแ้ี นะ ตา่ ง ๆ ที่เลอื กใช้แทน ใดในธรรมชาติ รวมทั้ง ใดในธรรมชาติ รวมท้ัง จากครหู รือผู้อน่ื สามารถทำงานร่วมกับ สิ่งใดในธรรมชาติ ตำแหนง่ ท่แี สงตกกระทบ ตำแหนง่ ทแี่ สงตกกระทบ ผู้อืน่ ในการออกแบบและ สร้างแบบจำลองท่ี รวมทง้ั ตำแหนง่ ทแ่ี สง บนแผน่ กระดาษวงกลม บนแผน่ กระดาษวงกลม อธิบายการเกิดกลางวนั กลางคนื การขึ้นและตก ตกกระทบบน เมอื่ หมนุ ลูกโลกไป เมอ่ื หมนุ ลูกโลกไป ของดวงอาทติ ย์ และการ กำหนดทิศ รวมท้ัง แผน่ กระดาษวงกลม ตำแหน่งต่าง ๆ ให้ผู้อนื่ ตำแหน่งตา่ ง ๆ ให้ผู้อนื่ ยอมรบั ความคิดเหน็ ของ ผูอ้ ื่น แตเ่ ป็นบาง เมอื่ หมนุ ลูกโลกไป เขา้ ใจได้อย่างถกู ต้อง เข้าใจได้อยา่ งถกู ต้อง ชว่ งเวลาท่ที ำกิจกรรม ท้ังนตี้ ้องอาศยั การ ตำแหน่งต่าง ๆ ให้ผู้อนื่ ดว้ ยตนเอง โดยอาศยั การชีแ้ นะจาก กระต้นุ จากครูหรือผอู้ ื่น เขา้ ใจ ครหู รอื ผ้อู ่ืน การทำงานรว่ มกบั ผูอ้ น่ื สามารถทำงานรว่ มกบั สามารถทำงานรว่ มกบั ในการออกแบบและ ผูอ้ น่ื ในการออกแบบและ ผอู้ ่ืนในการออกแบบและ สร้างแบบจำลองท่ี สรา้ งแบบจำลองที่ สรา้ งแบบจำลองที่ อธิบายการเกดิ กลางวนั อธิบายการเกดิ กลางวนั อธบิ ายการเกิดกลางวัน กลางคืน การขนึ้ และ กลางคนื การขึ้นและตก กลางคืน การขน้ึ และตก ตกของดวงอาทิตย์ และ ของดวงอาทติ ย์ และการ ของดวงอาทิตย์ และการ การกำหนดทศิ รวมทง้ั กำหนดทิศ รวมท้ัง กำหนดทิศ รวมท้ัง ยอมรบั ความคิดเหน็ ของ ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของ ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของ ผู้อ่ืน ผ้อู ื่นตลอดชว่ งเวลาของ ผู้อนื่ ในบางชว่ งเวลาทท่ี ำ การทำกิจกรรม กจิ กรรม สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
175 ค่มู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 พลงั งานกับชีวติ กิจกรรมท่ี 1.2 ดวงอาทิตย์สำคญั อยา่ งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้รวบรวมข้อมูลจาก ส่อื การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ แหล่งข้อมูลต่าง ๆ และใบความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของ ดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต เพื่อบรรยายประโยชน์ของ 1. หนังสือเรยี น ป.3 เล่ม 2 หนา้ 71-74 ดวงอาทติ ย์ตอ่ สิ่งมชี วี ติ 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.3 เลม่ 2 หนา้ 62-64 เวลา 1 ชวั่ โมง จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อรวบรวมข้อมูลและบรรยายประโยชน์ของ ดวงอาทิตย์ตอ่ สิ่งมีชวี ิต ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S6 การจดั กระทำและส่ือความหมายข้อมูล S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มลู S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 การสื่อสาร C5 ความร่วมมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลังงานกับชีวติ 176 แนวการจดั การเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกีย่ วกับประโยชน์ของดวงอาทิตย์ โดยใช้คำถาม สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ ดงั ต่อไปน้ี แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง 1.1 เราใช้ประโยชน์จากดวงอาทิตย์ในเรื่องใดบ้าง (นักเรียนตอบตาม จากกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในบทเรยี นน้ี ความเขา้ ใจของตนเอง) 1.2 ถ้าไม่มีดวงอาทิตย์สิ่งมีชีวิตจะอยู่ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียน หากนกั เรียนไม่สามารถตอบ ตอบตามความเข้าใจของตนเอง) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.2 โดยครูชี้แนะว่า คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง เมอ่ื นกั เรยี นทำกจิ กรรมนีแ้ ลว้ นักเรียนจะได้ทราบว่าคำตอบของนักเรียน อดทน และรับฟังแนวความคิด ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ ของนกั เรียน 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร ( ประโยชน์ของ ดวงอาทิตย์) 3.2 นักเรียนจะได้เรยี นรเู้ ร่ืองนด้ี ว้ ยวิธใี ด (การรวบรวมขอ้ มลู ) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (บรรยายประโยชน์ของ ดวงอาทติ ยต์ ่อส่งิ มชี วี ิต) 4. นกั เรียนบันทึกจดุ ประสงคล์ งในแบบบนั ทกึ กิจกรรม หน้า 62 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไรทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกการอ่านที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับ วิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม โดยครูใช้ คำถามดงั นี้ (ครอู าจเขียนข้นั ตอนการทำกิจกรรมลงบนกระดาน) 5.1 นักเรียนต้องร่วมกันอภิปรายและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอะไร (ประโยชน์ของดวงอาทติ ยต์ ่อสิ่งมชี วี ิต) 5.2 นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลได้จากแหล่งใดบ้าง (แหล่งข้อมูลท่ี นา่ เชือ่ ถือ เชน่ อินเทอรเ์ นต็ หนังสือ) ในกรณีท่ีนักเรียนรวบรวมข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ครูควรแนะนำ นักเรียนให้ค้นหาจากเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือ และแนะนำคำสำหรับการ คน้ หา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
177 ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกับชีวติ 5.3 เมื่อนักเรียนอ่านใบความรู้เรื่องประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส่งิ มชี ีวติ แลว้ นกั เรยี นตอ้ งทำอะไรต่อไป (บนั ทกึ ผลโดยการเขียนผัง และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทนี่ กั เรยี น ความคดิ ) ในกรณีที่นักเรียนไม่สามารถเขียนผังความคิดได้ ครูควรสอน จะได้ฝึกจากการทำกิจกรรม การเขยี นผังความคดิ หรอื ทำให้นักเรยี นดเู ปน็ ตัวอยา่ ง S6 นำข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของ 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ให้นักเรียนเริ่ม ดวงอาทติ ย์ท่ีไดจ้ ากการรวบรวมมาจัด กระทำโดยเขียนผังความคิดที่สื่อให้ ปฏิบัติตามขั้นตอนของกิจกรรม โดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกบั ผอู้ น่ื เขา้ ใจ ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมชี วี ิต จากนน้ั ใหน้ กั เรียนรว่ มกันอภิปราย ผลการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามว่า ดวงอาทิตย์มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิต S8 ลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับ อย่างไรบ้าง (นกั เรียนตอบตามผลการอภปิ ราย) ประโยชน์ของดวงอาทิตย์จากการ 7. ครูให้นักเรียนอ่านใบความรู้ เรื่องประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต อภปิ รายและรวบรวมขอ้ มูล จากนนั้ ใชค้ ำถามในการอภิปราย ดงั นี้ 7.1 ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานใด (ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน C4 นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของ ด ว ง อ า ท ิ ต ย ์ จ า ก ผ ั ง ค ว า ม ค ิดที่ แสง และพลงั งานความร้อน) จัดกระทำขน้ึ ให้ผู้อืน่ เขา้ ใจ 7.2 พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร C5 ทำงานร่วมกับผู้อื่นในการอภิปราย (พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ช่วยให้โลกอบอุ่น มีอุณหภูมิ และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ทำให้บริเวณต่าง ๆ ของ ของดวงอาทิตย์ โลกมีอุณหภูมิแตกต่างกัน รวมทั้งยังใช้พลังงานความร้อนในการ ตากผ้า ตากผลผลติ ทางการเกษตร ถนอมอาหาร ทำนาเกลือ) C6 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ 7.3 ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดลมได้อย่างไร (พลังงานความร้อนจาก รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของ ดวงอาทิตย์ทำให้บริเวณต่าง ๆ ของโลกมีอุณหภูมิแตกต่างกัน ถ้า ดวงอาทติ ย์ บริเวณที่อยู่ใกล้เคียงกันมีอุณหภูมิแตกต่างกัน จะทำให้เกิดการ เคล่ือนทขี่ องอากาศหรือเกดิ ลม) ความรู้เพ่ิมเติมสำหรับครู 7.4 ลมมีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ของตนเอง เชน่ ช่วยคลายร้อน) สิ่งมีชีวิตจะมีการกินกันเป็นอาหาร 7.5 พลังงานแสงจากดวงอาทิตย์มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร (ทำให้ โดยการกินต่อกันเป็นทอด ๆ เริ่มจาก มองเหน็ สง่ิ ต่าง ๆ และช่วยในการสรา้ งอาหารของพืช) ผู้ผลิต ได้แก่ พืช ใช้แสงในการสร้าง 7.6 สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ได้ประโยชน์จากการที่พืชใช้แสงในการสร้างอาหาร อาหาร เมื่อมีผู้บริโภค เช่น สัตว์ มากิน อย่างไร (สิ่งมีชีวิตอื่นที่กินพืชเป็นอาหาร จะได้รับพลังงานจากพืช พืช สัตว์ก็จะได้รับพลังงานจากพืช เมื่อมี เพื่อดำรงชีวิตและเจริญเติบโต เมื่อพืชและสัตว์ตายไป ซากพืช สัตว์ชนิดอื่นมากินสัตว์ตวั นี้ พลังงานก็จะ ซากสตั วเ์ หล่าน้ันก็จะย่อยสลายเปน็ ธาตุอาหารให้กับพืช นอกจากนี้ ถ่ายทอดต่อไป ทำให้เกิดการถ่ายทอด ซากพชื ซากสตั วบ์ างส่วนจะทับถมกันเปน็ เวลานานจนเปลี่ยนแปลง พลังงานจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีก สิ่งมชี ีวติ หนึง่ ต่อกนั ไปเปน็ ทอด ๆ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกับชีวติ 178 เป็นถ่านหินและน้ำมันดิบ เป็นแหล่งพลังงานที่มนุษย์นำมาใช้ ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี ประโยชนไ์ ด)้ แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ 7.7 พลังงานความร้อนและพลังงานแสงเปลี่ยนเป็นพลังงานประเภทใด ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ ให้ ได้ (พลงั งานไฟฟา้ ) ร่วมกันอภิปรายจนนักเรียนมี 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามในส่ิงที่อยากรู้เพิ่มเติมเกีย่ วกับประโยชน์ แนวคิดท่ถี ูกต้อง ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานแสงและพลังงานความร้อน ซึ่งมีประโยชน์ ตอ่ การดำรงชวี ติ ของส่ิงมีชวี ิต (S13) 9. นักเรียนตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้แนว คำตอบท่ถี กู ต้อง 10. นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในกิจกรรมนี้ จากนั้นครูใหน้ ักเรียนอ่านส่งิ ท่ี ไดเ้ รียนรู้ และเปรยี บเทยี บกบั ข้อสรปุ ของตนเอง 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกยี่ วกบั คำถามทนี่ ำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขั้นตอนใด ในหนังสือเรยี น หน้า 74 13. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องน้ี ในหนังสือเรียนหน้า 75 ครูนำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากนั้นครู กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็นคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังนี้ “ในเวลากลางคืนท่ี ไมม่ ีแสงจากดวงอาทิตย์มแี ต่แสงสว่างจากหลอดไฟฟา้ แล้วหลอดไฟฟ้า ได้รับพลังงานจากแหล่งใด” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง ซง่ึ จะหาคำตอบได้จากการเรยี นในบทต่อไป สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
179 คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 พลงั งานกับชีวติ แนวคำตอบในแบบบันทึกกิจกรรม รวบรวมข้อมลู และบรรยายประโยชนข์ องดวงอาทิตย์ต่อ สงิ่ มีชีวิต คำตอบข้นึ อยู่กบั ผลการอภิปรายและการรวบรวมข้อมูลของนักเรียน ซง่ึ อาจแตกตา่ งจากตัวอย่าง เช่น ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกับชวี ติ 180 ส่งิ มีชวี ติ จะดำรงชวี ิตอยูไ่ ม่ได้ เพราะดวงอาทิตยเ์ ปน็ แหล่งพลงั งาน แสงและพลงั งานความร้อน ซ่ึงส่ิงมีชีวิตสามารถนำพลังงานดงั กล่าว ไปใช้ประโยชน์ในลกั ษณะตา่ ง ๆ ได้ ดวงอาทิตย์เปน็ แหล่งพลังงานความรอ้ นและพลังงานแสง ทมี่ ีประโยชน์ต่อ การดำรงชวี ิตของสิ่งมีชีวิต เช่น พลงั งานความรอ้ นช่วยให้โลกมีอณุ หภูมิ เหมาะสมตอ่ การดำรงชีวติ ของส่ิงมชี ีวติ พลงั งานแสงทำให้สงิ่ มีชวี ิตมองเหน็ ส่ิงตา่ ง ๆ และชว่ ยในการสร้างอาหารของพืช ดวงอาทติ ย์ให้ท้งั พลังงานแสงและพลงั งานความร้อน พลังงานจาก ดวงอาทติ ย์มปี ระโยชน์ต่อการดำรงชีวติ ของส่ิงมีชีวิต สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
181 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 พลังงานกับชวี ติ คำถามของนักเรียนทต่ี ั้งตามความอยากรขู้ องตนเอง ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกับชีวิต 182 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ของนกั เรยี นทำได้ ดงั นี้ 1. ประเมนิ ความร้เู ดิมจากการอภปิ รายในช้ันเรียน 2. ประเมนิ การเรยี นร้จู ากคำตอบของนักเรยี นระหวา่ งการจดั การเรียนรแู้ ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน การประเมินจากการทำกิจกรรมที่ 1.2 ดวงอาทติ ยส์ ำคัญอย่างไร รหสั สง่ิ ท่ีประเมนิ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S6 การจดั กระทำและส่ือความหมายขอ้ มลู S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตีความหมายขอ้ มูลและลงข้อสรุป ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสื่อสาร C5 ความรว่ มมอื C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร รวมคะแนน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
183 คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 5 พลงั งานกับชีวิต ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ เกณฑ์การประเมิน กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) วทิ ยาศาสตร์ S6 การจดั กระทำ การนำข้อมลู เกยี่ วกบั สามารถนำข้อมูล สามารถนำข้อมลู สามารถนำข้อมูลเก่ียวกบั และสอ่ื ความหมาย ประโยชน์ของ เกย่ี วกบั ประโยชนข์ อง เก่ยี วกับประโยชนข์ อง ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ ขอ้ มูล ดวงอาทติ ย์ท่ีไดจ้ ากการ ดวงอาทิตย์ทไ่ี ด้จากการ ดวงอาทติ ย์ทไี่ ดจ้ ากการ ทไ่ี ด้จากการรวบรวมมาจัด รวบรวมมาจดั กระทำ รวบรวมมาจดั กระทำ รวบรวมมาจัดกระทำ กระทำโดยเขียน โดยเขียนผงั ความคิดท่ี โดยเขยี นผงั ความคดิ ที่ โดยเขยี นผังความคิดที่ ผงั ความคิด แตส่ ่ือให้ผู้อ่นื สอ่ื ให้ผู้อ่นื เข้าใจ สอ่ื ให้ผูอ้ นื่ เข้าใจได้ดว้ ย สื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้จาก เขา้ ใจไมไ่ ด้ แม้ว่าจะได้ ตนเอง การช้แี นะของครูหรอื รับคำชแ้ี นะจากครหู รือ ผ้อู ืน่ ผู้อนื่ S8 การลง การลงความเหน็ จาก สามารถลงความเหน็ จาก สามารถลงความเหน็ จาก สามารถลงความเหน็ จาก ความเหน็ จาก ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ข้อมลู เกีย่ วกับประโยชน์ ข้อมลู เก่ียวกับประโยชน์ ข้อมลู เก่ยี วกบั ประโยชน์ ขอ้ มูล ประโยชนข์ อง ของดวงอาทิตย์ ที่ไดจ้ าก ของดวงอาทติ ย์ ทไ่ี ด้จาก ของดวงอาทติ ย์ ทไี่ ด้จาก ดวงอาทิตย์ ท่ีไดจ้ าก การอภปิ รายและ การอภปิ รายและ การอภปิ รายและรวบรวม การอภปิ รายและ รวบรวมขอ้ มูลจาก รวบรวมขอ้ มลู จาก ข้อมูลจากแหล่งข้อมูล รวบรวมขอ้ มลู จาก แหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ ได้ แหลง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ ได้ ตา่ ง ๆ ได้เพียงบางสว่ น แหล่งขอ้ มลู ตา่ ง ๆ อยา่ งถูกต้อง ด้วยตนเอง อยา่ งถูกต้องจากการ แม้วา่ จะไดร้ ับคำชีแ้ นะจาก ชแ้ี นะของครหู รือผูอ้ ่นื ครูหรอื ผ้อู น่ื S13 การ การตีความหมายข้อมูล สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย ตีความหมายข้อมูล ท่ไี ด้จากการอภิปราย ขอ้ มลู ท่ีได้จากการ ข้อมูลที่ได้จากการ ข้อมูลที่ได้จากการ และการลงข้อสรปุ และรวบรวมข้อมลู และ อภปิ รายและรวบรวม อภปิ รายและรวบรวม อภปิ รายและรวบรวม ลงขอ้ สรปุ ได้วา่ ดวง ขอ้ มูล และลงขอ้ สรุปได้ ขอ้ มูล และลงข้อสรปุ ได้ ขอ้ มลู และลงขอ้ สรุปได้วา่ อาทิตย์มปี ระโยชนต์ ่อ วา่ ดวงอาทติ ยม์ ี วา่ ดวงอาทิตย์มี ดวงอาทติ ย์มีประโยชน์ตอ่ การดำรงชวี ิตของ ประโยชน์ต่อการ ประโยชนต์ อ่ การ การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวติ สิง่ มีชวี ิต โดย ดำรงชวี ติ ของสิ่งมชี ีวิต ดำรงชวี ติ ของส่งิ มีชีวติ โดยดวงอาทติ ย์เป็นทั้ง ดวงอาทิตยเ์ ป็นทง้ั โดยดวงอาทติ ยเ์ ปน็ ทั้ง โดยดวงอาทิตย์เป็นท้ัง แหล่งพลังงานความรอ้ น แหล่งพลังงานความ แหลง่ พลงั งานความร้อน แหล่งพลงั งานความร้อน และพลงั งานแสงได้เพยี ง รอ้ นและพลงั งานแสง และพลังงานแสงได้ดว้ ย และพลงั งานแสงได้จาก บางสว่ น แม้วา่ จะไดร้ ับ ตนเอง การชแ้ี นะจากครแู ละ คำช้แี นะจากครหู รือผู้อนื่ ผอู้ น่ื ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลังงานกบั ชีวิต 184 ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรยี น ทักษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 พอใช้ (2) C4 การส่อื สาร การนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูล เก่ียวกับประโยชน์ เกี่ยวกับประโยชน์ของ เกี่ยวกับประโยชน์ของ เก่ียวกับประโยชน์ของ ของดวงอาทิตย์จาก ดวงอาทิตย์จาก ดวงอาทิตย์จาก ดวงอาทิตย์จาก ผังความคิดท่ี ผังความคิดที่ ผังความคิดที่จัดกระทำ ผังความคิดท่ีจัดกระทำ จัดกระทำขึ้น จัดกระทำขึ้นให้ผู้อ่ืน ขึ้นให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่าง ขึ้นให้ผู้อื่นเข้าใจไดเ้ พยี ง ให้ผู้อ่ืนเข้าใจ เข้าใจได้อย่างถูกต้อง ถูกต้อง จากการชี้แนะ บางส่วน แม้วา่ จะไดร้ ับ ดว้ ยตนเอง จากครูหรือผู้อ่ืน คำชแ้ี นะจากครูหรอื ผู้อ่นื C5 ความ การทำงานรว่ มกบั สามารถทำงานรว่ มกับ สามารถทำงานรว่ มกับ สามารถทำงานร่วมกบั ผูอ้ ื่น ร่วมมือ ผูอ้ ่ืนในการอภปิ ราย ผู้อ่นื ในการอภิปรายและ ผู้อน่ื ในการอภิปรายและ ในการอภปิ รายและรวบรวม และรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมลู เกย่ี วกบั รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับ ข้อมลู เกย่ี วกับประโยชน์ เกย่ี วกับประโยชน์ ประโยชน์ของ ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ ของดวงอาทิตย์ รวมทัง้ ของดวงอาทติ ย์ ดวงอาทิตย์ รวมทัง้ รวมทัง้ ยอมรบั ความ ยอมรบั ความคิดเห็นของ รวมทง้ั ยอมรับความ ยอมรับความคดิ เหน็ คิดเหน็ ของผูอ้ นื่ ในบาง ผู้อนื่ ในบางช่วงเวลาที่ทำ คิดเหน็ ของผู้อืน่ ของผู้อนื่ ตลอด ช่วงเวลาท่ีทำกจิ กรรม กจิ กรรม ทง้ั นี้ตอ้ งอาศัย ช่วงเวลาของการทำ การกระตุ้นจากครหู รือ กจิ กรรม ผู้อื่น C6 การใช้ การใชเ้ ทคโนโลยี สามารถใชเ้ ทคโนโลยี สามารถใชเ้ ทคโนโลยี สามารถใชเ้ ทคโนโลยี เทคโนโลยี สารสนเทศในการ สารสนเทศในการ สารสนเทศในการ สารสนเทศในการรวบรวม สารสนเทศ รวบรวมขอ้ มลู รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกับ รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ ข้อมูลเกยี่ วกับประโยชน์ และการสื่อสาร เกยี่ วกับประโยชน์ ประโยชน์ของ ประโยชน์ของ ของดวงอาทิตย์ไดเ้ พียง ของดวงอาทิตย์ ดวงอาทติ ย์ไดด้ ้วย ดวงอาทติ ย์ได้ โดยอาศัย บางสว่ น แมว้ า่ จะได้รบั ตนเอง การชี้แนะจากครหู รือ คำชีแ้ นะจากครูหรือผู้อืน่ ผอู้ ืน่ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
185 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลงั งานกบั ชวี ติ กจิ กรรมท้ายบทท่ี 1 ดวงอาทติ ยแ์ ละปรากฏการณข์ องโลก (1 ชว่ั โมง) 1. ครูให้นักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากบทน้ีตามความ เข้าใจของตนเอง ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หน้า 65 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ของตนเองโดยเปรียบเทียบกับ แผนภาพในหวั ขอ้ ร้อู ะไรในบทน้ี ในหนังสอื เรยี น หนา้ 78 3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคำตอบของตนเองในสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 52-53 อีกครั้ง ถ้าคำตอบของนักเรียน ไม่ถูกต้องให้ขีดเส้นทับข้อความเหล่านั้น แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง นอกจากนี้ ครูอาจนำคำถามในรูปนำบทในหนังสือเรียนหนา้ 54 มาร่วมกันอภิปราย คำตอบอกี ครัง้ 4. นักเรียนทำ แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 ดวงอาทิตย์และปรากฏการณ์ของ โลก ในแบบบันทึกกิจกรรมหน้า 66-67 จากนั้นนำเสนอคำตอบหน้า ชั้นเรียน ถ้าคำตอบยังไม่ถูกต้องครูควรนำอภิปรายหรือให้สถานการณ์ เพ่ิมเตมิ เพื่อแกไ้ ขแนวคิดคลาดเคลอื่ นให้ถูกต้อง 5. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามในชวนคิด ซึ่งเป็นคำถามท้าทายการคิด ใน แบบบนั ทึกกจิ กรรมหน้า 67 6. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมร่วมคิด ร่วมทำ โดยร่วมกันวางแผนการใช้ ชวี ติ ในพน้ื ท่ที ไ่ี ฟฟา้ เข้าไม่ถงึ โดยใช้ความรจู้ ากเรื่องดวงอาทิตย์มาช่วยใน การวางแผน ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 พลังงานกบั ชีวติ 186 สรปุ ผลการเรยี นรขู้ องตนเอง รูปหรือข้อความสรปุ ส่ิงทไ่ี ดเ้ รียนรูจ้ ากบทนต้ี ามความเขา้ ใจของนกั เรียน สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
187 คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลงั งานกบั ชวี ติ แนวคำตอบในแบบฝกึ หัดท้ายบท ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 พลังงานกับชีวติ 188 เราจะเหน็ ดวงอาทติ ย์ปรากฏข้นึ จากขอบฟา้ ทางดา้ นหนึ่ง แลว้ เคลื่อนท่ี ไปบนทอ้ งฟา้ จนตกลับขอบฟา้ อีกด้านหนงึ่ พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ช่วยให้อุณหภูมิของโลกเหมาะสมต่อ การดำรงชีวติ ของส่ิงมีชวี ิต ทำใหผ้ า้ แหง้ ช่วยในการถนอมอาหาร พลงั งาน แสงช่วยให้เรามองเหน็ สง่ิ ตา่ ง ๆ และชว่ ยในการสร้างอาหารของพืช เลอื กทนี่ ง่ั บรเิ วณด้านขวาของรถ เพราะในเวลาบา่ ย ดวงอาทิตย์จะอยู่ทางทิศตะวันตก ซง่ึ อยดู่ ้านซา้ ยของรถ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
189 คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 พลังงานกับชีวิต บทท่ี 2 พลังงานไฟฟ้า จุดประสงค์การเรียนรปู้ ระจำบท เม่อื เรยี นจบบทน้ี นักเรยี นสามารถ 1. ยกตวั อย่างการเปล่ยี นแปลงพลงั งานหนงึ่ ไปเปน็ อกี พลงั งานหนง่ึ 2. บรรยายการทำงานของเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ 3. ระบุแหลง่ พลังงานท่ใี ช้ในการผลติ ไฟฟ้า 4. บอกประโยชน์และอันตรายจากการใช้ไฟฟา้ 5. นำเสนอวธิ ีการใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งประหยดั และ ปลอดภัย เวลา 9 ชั่วโมง แนวคิดสำคญั บทนม้ี ีอะไร พลังงานเป็นสิ่งที่แสดงถึงความสามารถในการ เรอื่ งที่ 1 พลังงานไฟฟา้ กับชวี ติ ทำงานของสิ่งต่าง ๆ พลังงานมีหลายแบบและสามารถ กิจกรรมท่ี 1.1 พลงั งานหน่งึ เปลี่ยนเป็นพลังงาน เปลี่ยนจากพลังงานหนึ่งไปเป็นอีกพลังงานหนึ่งได้ ไฟฟ้า เป็นพลังงานแบบหนึ่งซึ่งส่วนใหญ่ผลิตจากเครื่องกำเนิด อะไรไดบ้ ้าง ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานจากแหล่งต่าง ๆ การใช้ไฟฟ้าต้องใช้ กิจกรรมที่ 1.2 ผลติ ไฟฟ้าได้อยา่ งไร อย่างถูกวธิ ี ปลอดภัย และประหยดั กจิ กรรมท่ี 1.3 ใช้ไฟฟา้ อย่างประหยดั และปลอดภยั สื่อการเรยี นรูแ้ ละแหล่งเรียนรู้ ไดอ้ ย่างไร 1. หนงั สือเรียน ป. 3 เล่ม 2 หนา้ 82-105 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป. 3 เลม่ 2 หนา้ 70-93 ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 5 พลังงานกบั ชีวติ 190 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 รหสั ทักษะ กิจกรรมท่ี 1.1 1.2 1.3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S2 การวดั S3 การใช้จำนวน S4 การจำแนกประเภท S5 การหาความสมั พันธ์ระหว่าง สเปซกบั สเปซ สเปซกบั เวลา S6 การจดั กระทำและสอ่ื ความหมายขอ้ มลู S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเห็นจากข้อมลู S9 การตง้ั สมมติฐาน S10 การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการ S11 การกำหนดและควบคุมตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ C3 การแก้ปัญหา C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมอื C6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายเหตุ : รหัสทกั ษะทปี่ รากฏน้ี ใชเ้ ฉพาะหนงั สอื คูม่ ือครเู ลม่ น้ี สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
191 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกับชีวิต แนวคิดคลาดเคลอื่ น แนวคดิ คลาดเคล่ือนที่อาจพบและแนวคดิ ท่ีถกู ตอ้ งในบทท่ี 2 พลังงานไฟฟ้า มดี งั น้ี แนวคดิ คลาดเคล่อื น แนวคิดทถ่ี กู ตอ้ ง พลังงานไฟฟา้ เปลีย่ นเป็นพลงั งานความเยน็ * ในทางวิทยาศาสตร์ไม่มีคำว่าพลังงานความเย็น โดย เครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด เช่น ตู้เย็น มีการเปลี่ยนพลังงาน ไฟฟ้าเป็นพลังงานกลในการทำงานเพ่ือให้ความร้อนในต้เู ย็น ระบายออกมา ทำให้อุณหภูมใิ นต้เู ย็นลดลง ถา้ ครพู บว่ามแี นวคิดคลาดเคลอื่ นใดท่ยี ังไม่ได้แก้ไขจากการทำกจิ กรรมการเรียนรู้ ครูควรจดั การเรียนรูเ้ พ่ิมเตมิ เพ่อื แกไ้ ขตอ่ ไป * ข้อมลู จากการสังเกตช้ันเรียนจากการทดลองใช้หนังสือเรียนของ สสวท. ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกับชวี ิต 192 บทนเี้ รมิ่ ต้นอย่างไร (1 ชว่ั โมง) ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ทบทวนความรู้พื้นฐานและตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนโดยครูและ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ นกั เรียนร่วมสนทนาเก่ยี วกับประโยชนข์ องดวงอาทติ ยซ์ ่ึงนักเรยี นได้เรียน แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง มาแลว้ ในบทที่ 1 โดยใชค้ ำถามดังต่อไปนี้ จากกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในบทเรียนน้ี 1.1 ดวงอาทิตย์มีประโยชน์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ เช่น ทำให้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ทำให้ผ้าที่ตากไว้แห้ง เป็นแหล่งพลังงาน และสามารถเปลย่ี นเป็นพลังงานไฟฟา้ ได้) 1.2 พลงั งานคอื อะไร (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) 1.3 พลังงานที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ เชน่ พลังงานแสง พลงั งานไฟฟ้า พลังงานความร้อน) 1.4 พลังงานไฟฟ้าเกดิ ขึ้นได้อย่างไร และนอกจากแสงอาทิตย์ท่ีสามารถ เปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้แล้ว ยังมีแหล่งพลังงานอื่นอีกหรือไม่ (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) 2. นกั เรยี นอา่ นชือ่ บทและจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ประจำบท ในหนังสอื เรยี น หน้า 83 จากน้ันครใู ชค้ ำถามเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจ ดงั นี้ 2.1 ในบทนี้ นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การเปลี่ยนพลังงานหน่ึง ไปเป็นอีกพลังงานหนึ่ง การทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า แหล่งพลังงานที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ประโยชน์และอันตรายจาก ไฟฟา้ และวิธีใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งประหยัดและปลอดภัย) 2.2 จากจุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อเรียนจบบทนี้นักเรียนสามารถทำ อะไรได้บ้าง (สามารถยกตัวอย่างการเปลย่ี นพลังงานหนึ่งไปเป็น อกี พลังงานหนง่ึ บรรยายการทำงานของเครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟ้า ระบุ แหลง่ พลงั งานทใี่ ช้ในการผลติ ไฟฟา้ บอกประโยชนแ์ ละอันตราย จากไฟฟ้า และนำเสนอวิธีใช้ไฟฟา้ อย่างประหยัดและปลอดภยั ) 3. นกั เรยี นอา่ นช่ือบทและแนวคิดสำคัญ ในหนังสอื เรยี นหนา้ 84 จากนั้น ครูใช้คำถามดังน้ี จากการอ่านแนวคิดสำคัญ นักเรียนคิดว่าจะได้เรียน เกี่ยวกับเรื่องอะไร (เรียนเรื่องการเปลี่ยนพลังงาน การผลิตไฟฟ้าจาก เครื่องกำเนิดไฟฟ้า แหล่งพลังงานต่าง ๆ และการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี ปลอดภยั และประหยดั ) 4. ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตรูปและอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 84 โดยครูฝึกทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
193 คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 พลงั งานกับชีวิต ความสามารถของนักเรียน ครูตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดย หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ใช้คำถามดงั นี้ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 4.1 เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านมีอะไรบา้ ง (โทรทศั น์ พดั ลม คอมพิวเตอร์ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน นาฬกิ า หม้อหงุ ข้าว กระตกิ นำ้ รอ้ น) และรับฟังแนวความคิดของ 4.2 เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดทำงานแตกต่างกันอย่างไร (นักเรียน นกั เรียน ตอบตามความเข้าใจ เช่น โทรทัศน์ให้เสียงและแสง พัดลมให้ ลม) 4.3 เครื่องใช้ไฟฟ้าจะทำงานได้เมื่อใด (เมื่อเสียบเต้าเสียบและเปิด สวิตช์ของเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ) 4.4 เตา้ เสียบหรอื ปลก๊ั มีลกั ษณะอยา่ งไร (เป็นหัวเสียบโดยปลายหน่ึง ต่อกับเครื่องใช้ไฟฟ้า และปลายที่เป็นหัวเสียบใช้เสียบเข้ากับ เต้ารับเพอื่ ใหเ้ คร่อื งใชไ้ ฟฟ้าทำงานได้) 4.5 เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดสามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานอะไรได้บ้าง เราจะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้ถูกวิธี ปลอดภัย และประหยัดได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง) ครูยังไม่เฉลยคำตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนไปหาคำตอบจากการทำ กิจกรรม 5. นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าในสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 70-73 โดยนักเรียนอ่านคำถามแต่ละข้อ ครูตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี น จนแนใ่ จวา่ นักเรียนสามารถทำได้ ด้วยตนเอง จึงให้นักเรียนตอบคำถามซึ่งคำตอบของแต่ละคนอาจ แตกตา่ งกนั และคำตอบอาจถกู หรือผิดกไ็ ด้ 6. ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมี แนวคิดเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าอย่างไรโดยอาจสุ่มให้นักเรียน 2-3 คน นำเสนอคำตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้นักเรียน ย้อนกลับมาตรวจสอบอีกครั้งหลังจากเรียนจบบทนี้แล้ว ทั้งนี้ครูควร บันทึกแนวคิดคลาดเคลื่อนหรือแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียน แล้วนำมาใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ไขแนวคิด คลาดเคล่อื นใหถ้ ูกต้อง และตอ่ ยอดแนวคิดทีน่ ่าสนใจของนกั เรียนต่อไป ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 พลังงานกบั ชีวิต 194 แนวคำตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม การสำรวจความรู้ก่อนเรยี น นกั เรยี นอาจตอบคำถามถกู หรือผดิ ก็ไดข้ น้ึ อยกู่ บั ความรูเ้ ดิมของนักเรยี น แตเ่ มื่อเรียนจบบทเรยี นแลว้ ใหน้ ักเรียนกลบั มาตรวจสอบคำตอบอกี ครั้งและแก้ไขให้ถูกต้อง ดังตวั อย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
195 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 พลงั งานกบั ชวี ติ แทง่ แม่เหล็ก ขดลวดทองแดง ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 พลังงานกบั ชีวิต 196 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
197 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลงั งานกบั ชวี ติ ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 พลงั งานกบั ชีวิต 198 เรอ่ื งที่ 1 พลังงานไฟฟ้ากบั ชีวิต ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของ พลังงาน การเปลี่ยนพลังงานหนึ่งไปเป็นอีกพลังงานหนึ่ง พลังงานไฟฟ้าซึ่งเป็นส่ิงจำเป็นสำหรับมนุษย์ในปัจจบุ ัน เรียนรู้ เกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า แหล่งพลังงานที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า และวิธีการใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งถูกวิธี ประหยัด และปลอดภยั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สำรวจและระบุการเปลี่ยนพลังงานหนึ่งไปเป็น พลงั งานอน่ื 2. รวบรวมข้อมูลและอธิบายการทำงานของเครื่อง กำเนดิ ไฟฟ้าในการผลิตไฟฟ้า 3. สืบค้นข้อมูลและระบุแหล่งพลังงานที่ใช้ในการผลิต ไฟฟา้ 4. สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับประโยชน์และ อนั ตรายจากไฟฟา้ 5. สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าอย่าง ประหยดั และปลอดภัย เวลา 7 ชั่วโมง วสั ดุ อุปกรณ์สำหรับทำกจิ กรรม ไม้บรรทัด โคมไฟ เครื่องคิดเลขหรือของเล่นที่ใช้ เซลล์สุริยะ สายไฟฟ้า ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า ท่ีตดิ ใบพัด ชุดสาธิตเครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้า สอื่ การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน ป.3 เล่ม 2 หน้า 87-102 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.3 เล่ม 2 หนา้ 74-90 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
199 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 5 พลงั งานกบั ชีวิต แนวการจัดการเรียนรู้ (60 นาที) ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น ขน้ั ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้นักเรียนไปหา 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับประโยชน์ของไฟฟ้าใน คำตอบด้วยตนเองจากการอ่าน ชีวติ ประจำวัน โดยใชค้ ำถาม ดังนี้ เนอ้ื เร่ือง 1.1 เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าทีน่ ักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง และเครอื่ งใช้ไฟฟ้าชนิด นั้น ๆ มีประโยชน์อย่างไร (นักเรียนตอบตามประสบการณ์ เชน่ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ โทรทัศน์สำหรับดูการ์ตูน ตู้เย็นใช้แช่ผักผลไม้ กระติกน้ำร้อนใช้ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ต้มนำ้ รอ้ น) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 1.2 ถา้ วันหนง่ึ เราไมม่ ีไฟฟ้าใช้ จะสง่ ผลอยา่ งไรบ้าง (นกั เรียนตอบตาม อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน ความเข้าใจ เช่น ในเวลากลางคืน เราจะมองไม่เห็นสิ่งต่าง ๆ เรา และรับฟังแนวความคิดของ จะร้อนเพราะใช้พัดลมไม่ได้) นักเรยี น 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่องพลังงานไฟฟ้ากับ ชีวิต โดยชักชวนนักเรียนอ่านเนื้อเรื่องเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ใน ชวี ติ ประจำวัน ขัน้ ฝึกทักษะจากการอา่ น (40 นาที) 3. นักเรียนอ่านชื่อเรื่องและคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน หน้า 87 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อหาแนวคำตอบ ครูบันทึกคำตอบของ นกั เรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทยี บคำตอบหลังจากอา่ นเนื้อเรอื่ ง 4. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน อธบิ ายความหมายของคำสำคญั ตามความเขา้ ใจของตนเอง 5. นักเรียนอ่านเนื้อเร่ืองในหนังสือเรียนหน้า 87 โดยครูฝกึ ทักษะการอ่าน ตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครู ตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอา่ น โดยใชค้ ำถามดงั น้ี 5.1 กิจกรรมในชีวิตประจำวันที่ต้องใช้พลังงานได้แก่กิจกรรมใดบ้าง (การเดนิ การเลน่ การรบั ประทานอาหาร) 5.2 พลังงานคืออะไร (สิ่งที่ไม่มีน้ำหนัก ไม่ต้องการที่อยู่ แต่สามารถ ทำงานได)้ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลังงานกับชีวิต 200 5.3 พลังงานมีแบบใดบ้าง (พลังงานความร้อน พลังงานแสง พลังงาน เสยี ง พลังงานไฟฟ้า พลังงานกล) 5.4 พลังงานกลเป็นอย่างไร (พลังงานที่ทำให้วัตถุสามารถเคลื่อนท่ี หรือเคล่อื นไหวได)้ 5.5 พลังงานไฟฟ้าเป็นอย่างไร (พลังงานที่ทำให้เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ทำงานได)้ 5.6 พลังงานไฟฟ้ามีความสำคัญต่อมนุษย์ในปัจจุบันอย่างไร (ให้แสง สว่างและอำนวยความสะดวกในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น บ้านเรือน โรงเรียน โรงพยาบาล ใช้ในการผลิตสินค้าในโรงงาน อตุ สาหกรรม) 5.7 ถา้ วนั หนึ่ง เราไม่มไี ฟฟา้ ใช้ นักเรียนคิดวา่ ชีวิตของเราจะเปน็ เช่น ไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง เช่น ขาดความ สะดวกสบาย ไม่มีโทรทัศน์ให้ดู ต้องอยู่ในความมืดในเวลา กลางคืนเพราะไม่มแี สงจากหลอดไฟฟา้ ) 5.8 นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดไฟฟ้าท่ีผลิตในประเทศไทยจึงไม่ เพียงพอต่อความต้องการของคนในประเทศ (นักเรียนตอบตาม ความคิดของตนเอง เช่น เพราะประเทศไทยมีประชากรจำนวน มาก มีเทคโนโลยีและสงิ่ ก่อสร้างท่ตี อ้ งใชไ้ ฟฟา้ ในปริมาณมาก เช่น อุปกรณ์สือ่ สารตา่ ง ๆ) 5.9 เมื่อไฟฟ้าที่ผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของคนในประเทศ เราควรทำอย่างไรเพื่อให้มีไฟฟ้าไว้ใช้ไปนาน ๆ (เราควรใช้ไฟฟ้า อยา่ งประหยดั ) 5.10ถ้าเราใช้ไฟฟ้าผิดวิธี จะมีโทษอย่างไร (ถ้าใช้ไฟฟ้าผิดวิธีอาจเป็น อันตรายถึงชีวิตได้ หรือเป็นสาเหตุให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรจนเกิด ไฟไหมไ้ ด)้ ขน้ั สรุปจากการอา่ น (10 นาท)ี 6. นักเรยี นรว่ มกันสรุปเร่ืองท่ีอ่านซึ่งควรสรุปได้ว่า พลงั งานเป็นสิ่งที่ไม่มี น้ำหนัก ไม่ต้องการที่อยู่ แต่แสดงถึงความสามารถในการทำงานของ สิง่ ตา่ ง ๆ พลังงานมีหลายแบบ พลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานแบบหนึ่งที่ มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของเรา การใช้ไฟฟ้าต้องใช้อย่างถูกวิธี เพ่ือให้ปลอดภยั และใช้อยา่ งประหยดั เพอื่ ให้เรามไี ฟฟ้าไว้ใช้ไปนาน ๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
201 คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 พลังงานกับชีวติ 7. นกั เรียนตอบคำถามในรหู้ รือยงั ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หน้า 74 8. ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทยี บคำตอบของนกั เรียนใน รู้หรือยัง กบั คำตอบทเี่ คยตอบและบันทึกไว้ในคดิ ก่อนอ่าน 9. นักเรียนตอบคำถามท้ายเรื่อง ดังน้ี “การผลิตไฟฟ้าทำได้อย่างไร พลังงานไฟฟ้าสามารถเปลี่ยนไปเป็นพลังงานใดได้บ้าง และถ้าเรา ต้องการให้มีไฟฟ้าไว้ใช้นาน ๆ จะทำได้อย่างไร” (นักเรียนตอบตาม ความเขา้ ใจของตนเอง) ครูยังไม่เฉลยคำตอบ แต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการ ทำกิจกรรม การเตรยี มตวั ลว่ งหน้าสำหรบั ครู เพอ่ื จดั การเรียนร้ใู นครัง้ ถัดไป ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำกิจกรรมท่ี 1.1 พลังงานหนึ่งเปลี่ยนเป็นพลังงานอะไรได้บ้าง โดยการสังเกตแลว้ นำผลที่ได้มาอภิปรายรว่ มกนั ดงั นน้ั ครคู วรเตรียมอุปกรณต์ ามรายการอุปกรณ์ และ ควรตรวจสอบอุปกรณ์ เช่น หลอดไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า สายไฟฟ้า และของเล่นที่ใช้เซลล์สุริยะว่า พร้อมใช้งานหรือไม่ ก่อนที่จะให้นักเรียนทำกิจกรรม นอกจากนี้ ครูอาจเตรียมเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือ มอบหมายให้นักเรียนเตรียมนำเครือ่ งใช้ไฟฟ้ามาจากบ้าน เช่น กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า พัดลมไฟฟ้า หรือ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าอนื่ ๆ สำหรบั ให้นักเรยี นสงั เกตการทำงานของอุปกรณไ์ ฟฟ้าเหลา่ น้นั ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลงั งานกบั ชวี ิต 202 แนวคำตอบในแบบบันทึกกิจกรรม ส่ิงที่ไม่มีน้ำหนัก ไม่ต้องการท่ีอยู่ แต่แสดงถึงความสามารถในการ ทำงานของสิง่ ตา่ ง ๆ พลังงานมีหลายแบบ เช่น พลังงานแสง พลังงานเสยี ง พลงั งานไฟฟ้า พลงั งานกล เราจะไม่มไี ฟฟ้าเพอื่ ให้แสงสว่างและเพือ่ อำนวยความสะดวกในการทำ กิจกรรมในสถานทตี่ า่ ง ๆ ไม่มีไฟฟา้ เพ่ือใช้ผลิตสินค้าในโรงงานอุตสาหกรรม หรือด้านอืน่ ๆ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
203 ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลงั งานกบั ชีวิต กิจกรรมที่ 1.1 พลังงานหนึง่ เปล่ยี นเป็นพลงั งานอะไรไดบ้ า้ ง กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้สังเกตการเปลี่ยนพลังงาน จากพลังงานหนึ่งไปเป็นพลังงานอื่น และสำรวจการเปลี่ยน พลังงานของเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ตา่ ง ๆ รอบตวั เวลา 2 ชวั่ โมง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สำรวจและระบุการเปลีย่ นพลังงานหนึง่ ไป เปน็ พลงั งานอืน่ วสั ดุ อุปกรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม 1 อนั ส่ือการเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ 1 ดวง ส่ิงทคี่ รูต้องเตรียม/กลุ่ม 1. หนงั สือเรียน ป.3 เลม่ 2 หนา้ 89-91 1. ไมบ้ รรทัด 1 เคร่อื ง/ชนิ้ 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.3 เลม่ 2 หน้า 75-79 2. โคมไฟ 2 เสน้ 3. ตัวอยา่ งวดี ิทศั นป์ ฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู 3. เคร่ืองคิดเลขหรือของเล่นทใ่ี ช้ 1 กอ้ น 1 ชุด 3.1 เรือ่ งไฟฟา้ เป็นพลังงานหรือไม่ เซลลส์ ุรยิ ะ 1 ชุด http://ipst.me/9454 4. สายไฟฟ้าแบบคลปิ ปากจระเข้ 5. ถา่ นไฟฉาย 1.5 โวลต์ 3.2 เรอื่ งพลังงานไฟฟ้าเปล่ียนเปน็ พลังงานอน่ื ได้ 6. หลอดไฟฟ้าพร้อมฐานหลอด หรอื ไม่ http://ipst.me/8756 7. มอเตอรไ์ ฟฟ้าท่ีตดิ ใบพดั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรุป ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 C4 การสอื่ สาร C5 ความรว่ มมอื ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 พลงั งานกบั ชวี ิต 204 แนวการจดั การเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับผลของพลังงานไฟฟ้าที่มีต่อ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ การทำงานของเคร่อื งใช้ไฟฟ้า โดยใช้คำถาม ดงั น้ี แต่ชักชวนให้นักเรียนไปหา 1.1 เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านที่นักเรียนใช้งานเป็นประจำมีอะไรบ้าง คำตอบด้วยตนเองจากการทำ (นักเรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง เช่น เตารีด โทรทัศน์ กิจกรรม วิทยุ) 1.2 ผลของพลังงานไฟฟ้าที่มีต่อการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าท่ี ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม นักเรียนใช้มีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง ครอู าจเขียน Flowchart ขั้นตอน เชน่ พลงั งานไฟฟ้าทำให้เตารดี ร้อน ทำให้โทรทศั นม์ แี สง เสยี ง และ การทำกิจกรรมอยา่ งย่อไวบ้ น มีภาพ และพลังงานไฟฟ้าทำให้วทิ ยมุ เี สยี ง) กระดานเมื่อนักเรียนตอบข้นั ตอน 1.3 นักเรียนคิดว่า พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นพลังงานใดได้บ้าง ทีละข้อ (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.1 ว่าจากกิจกรรมนี้ นักเรียนจะไดเ้ รยี นรเู้ ก่ยี วกับการเปลย่ี นพลังงานหนงึ่ ไปเป็นพลงั งานอ่นื 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดงั น้ี 3.3 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การเปลี่ยนพลังงาน หนง่ึ ไปเปน็ พลงั งานอ่ืน) 3.4 นักเรยี นจะได้เรยี นรู้เรอื่ งนด้ี ้วยวธิ ีใด (การสำรวจ) 3.5 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (ระบุการเปลี่ยนพลังงาน หนงึ่ ไปเปน็ พลังงานอนื่ ) 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 75 และอ่าน ส่งิ ทีต่ อ้ งใช้ในการทำกจิ กรรม ครแู นะนำอุปกรณ์บางอยา่ งท่ีนักเรียนอาจ ไม่รู้จัก เช่น เครื่องคิดเลขหรือของเล่นที่ใช้เซลล์สุริยะ หลอดไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟา้ ตดิ ใบพดั 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไรทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านที่ เหมาะสมกบั ความสามารถของนักเรยี น จากนน้ั ครูตรวจสอบความเข้าใจ เกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม โดย ใช้คำถามดงั น้ี 5.1 สิ่งท่ีนักเรียนต้องทำเป็นอย่างแรกคืออะไร (ใช้ไม้บรรทัดเคาะ บนโต๊ะ จากนั้นสังเกตสง่ิ ทีเ่ กิดขนึ้ ) สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
205 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 พลงั งานกบั ชวี ติ 5.2 นักเรียนต้องทำอย่างไรต่อไป (ถูฝ่ามือทั้งสองข้างเข้าด้วยกัน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แรง ๆ แลว้ สงั เกตสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ) และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 5.3 จากนั้น นักเรียนต้องทำอย่างไรต่อไป (นำโคมไฟมาส่องบริเวณ ทน่ี กั เรยี นจะได้ฝึกจากการทำกิจกรรม เซลล์สุริยะของเครื่องคิดเลขหรือของเล่น สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น จากนั้นนำกระดาษมาปิดบริเวณเซลล์สุริยะ แล้วสังเกตสิ่งที่ S1 สังเกตการเปลี่ยนแปลงพลงั งาน เกิดขน้ึ อกี ครั้ง) ของวัตถตุ ่าง ๆ 5.4 ในทำอย่างไรข้อที่ 4 นักเรียนต้องใช้อุปกรณ์อะไร (หลอดไฟฟ้า S8 ลงความเห็นเกี่ยวกับการเปล่ยี น สายไฟฟา้ มอเตอรไ์ ฟฟ้าท่ตี ดิ ใบพัด ถ่านไฟฉาย) พลงั งานหนง่ึ ไปเปน็ พลังงานอ่นื 5.5 นักเรียนต้องนำอุปกรณ์ในข้อที่ 4 มาต่อกันอย่างไร และต้อง C4 อภปิ รายรว่ มกบั ผู้อืน่ เกี่ยวกับ สังเกตอะไรบ้าง (ต่อสายไฟฟ้าเข้ากับหลอดไฟฟ้าและ การเปล่ียนพลังงานจากการทำ ถ่านไฟฉาย สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น จากนั้นต่อสายไฟฟ้าเข้ากับ กจิ กรรม และผลการสำรวจ มอเตอร์ไฟฟ้าทต่ี ดิ ใบพัดและถ่านไฟฉาย สงั เกตสิ่งท่เี กิดขึ้น) เครื่องใช้ไฟฟา้ ในข้อที่ 5 นี้ครูให้นักเรียนดูรูป ก และ ข ในหนังสือเรียน C5 ร่วมมือกันทำกิจกรรมและ หน้า 90 จากนั้นครูแนะนำวิธีการใช้อุปกรณ์แต่ละอย่าง เช่น อภิปรายผลการทำกิจกรรม ถ่านไฟฉาย สายไฟฟ้าแบบปากจระเข้ ครูสาธิตโดยการนำปลาย สายไฟฟา้ แบบปากจระเขไ้ ปหนีบเข้ากับข้ัวของฐานหลอดไฟฟ้าหรือ ฐานของมอเตอร์ไฟฟ้าทต่ี ิดใบพดั 5.6 สิ่งที่นักเรียนต้องร่วมกันอภิปรายคืออะไร (ผลการทำกิจกรรม เกิดการเปลี่ยนพลังงานจากพลังงานใดไปเปน็ พลังงานใด) 5.7 นักเรียนต้องทำอะไรต่อไป (สำรวจเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ ภายใน โรงเรียนหรือที่บ้าน พร้อมระบุว่าเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเหล่านัน้ เปลี่ยน พลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลังงานใดบา้ งและนำเสนอ) 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ให้นักเรียนรับ อปุ กรณแ์ ละเรม่ิ ปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอนการทำกจิ กรรม 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม ตามแนวคำถามดังนี้ 7.1 สง่ิ ทเี่ กดิ ขึน้ เมื่อนกั เรียนใช้ไมบ้ รรทัดเคาะบนโต๊ะคืออะไร (ได้ยิน เสียงไม้บรรทดั กระทบโตะ๊ ) 7.2 กิจกรรมในข้อ 7.1 มีการเปลี่ยนพลังงานหนึง่ ไปเป็นพลังงานอื่น หรือไม่ อย่างไร (มีการเปลี่ยนพลังงานจากพลังงานกลเป็น พลงั งานเสยี ง) ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 พลงั งานกบั ชีวติ 206 7.3 เมื่อถูฝ่ามือทั้งสองข้างเข้าด้วยกันแรง ๆ นักเรียนสังเกตอะไรได้ ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ บา้ ง (ได้ยนิ เสยี งฝา่ มอื เสียดสีกันและรสู้ กึ ร้อนที่ฝ่ามือ) ในระหว่างการอภิปรายเกี่ยวกับการ 7.4 กิจกรรมในข้อ 7.3 มีการเปลี่ยนพลังงานหรือไม่ อย่างไร (มีการ เปลย่ี นพลงั งานไฟฟา้ ของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เปลี่ยนพลังงาน จากพลังงานกลเป็นพลังงานเสียงและพลังงาน เป็นพลังงานอื่น ครูอาจพบประเด็น ความรอ้ น) ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. นักเรียนอาจตอบว่าตู้เย็นเปลี่ยน 7.5 เมื่อนำโคมไฟมาส่องบริเวณเซลล์สุริยะของเครื่องคิดเลขหรือ ของเล่นกับเมื่อนำกระดาษมาปิดบริเวณเซลล์สุริยะ สิ่งที่สังเกต พลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานความเย็น ได้มีความแตกต่างกันอย่างไร (เมื่อนำโคมไฟมาส่องจะ ครูอาจชวนนักเรียนร่วมกันอภิปราย สังเกตเห็นตัวเลขปรากฏที่หน้าจอของเครื่องคิดเลข ส่วน ว่าในทางวิทยาศาสตร์ไม่มีคำว่า ของเล่นจะเคลื่อนไหวได้ มแี สง มเี สียง แต่เม่ือนำกระดาษมาปิด พลังงานความเย็น ตู้เย็นมีการ บริเวณเซลล์สุริยะพบว่าเครื่องคิดเลขหรือของเล่นหยุดทำงาน เ ป ล ี ่ ย น พ ล ั ง ง า น ไ ฟ ฟ ้ า เ ป็ น ** ผลการสังเกตตามจริง ขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องคิดเลข พลังงานกลผ่านการทำงานเพื่อให้ หรือของเล่นท่ีนำมาทำกิจกรรม) ความร้อนในตู้เย็นระบายออกมา ทำให้อุณหภูมใิ นตู้เยน็ ลดลง 7.6 เครื่องคิดเลขซึ่งเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า จะทำงานได้ต้องใช้พลังงาน อะไร (ใชพ้ ลังงานไฟฟา้ ) 2. ในการอภิปรายว่าเครื่องใช้ไฟฟ้า 7.7 เครื่องคิดเลขที่มีเซลล์สุริยะได้พลังงานไฟฟ้ามาจากแหล่ง ชนิดหนึ่งเปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้า พลงั งานใด (ได้มาจากโคมไฟหรอื แสงอาทิตย์) เป็นพลังงานอะไรบ้าง นักเรียนอาจ ต อ บ พ ล ั ง ง า น อ ย ่ า ง อ ื ่ น ท ี ่ ไ ม ่ ใ ช่ 7.8 เมื่อนำโคมไฟมาส่องบริเวณเซลล์สุริยะของเครื่องคิดเลขหรือ จุดประสงค์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าน้ัน ของเล่น มีการเปลี่ยนพลังงานหรือไม่ อย่างไร (เมื่อนำโคมไฟ เช่น เครื่องรับโทรทัศน์เปลี่ยนจาก มาส่องบรเิ วณเซลลส์ รุ ิยะ เครื่องคิดเลขมีการเปลี่ยนพลังงานแสง พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงและ เป็นพลังงานไฟฟ้า และเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง พลังงานเสียง แต่เมื่อใช้มือสัมผัสที่ ในการแสดงผลท่ีหน้าจอเคร่ืองคิดเลข ส่วนของเล่นมีการเปล่ียน ด้านหลังของโทรทัศน์จะรู้สึกร้อน พลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า และเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น ดังนั้น นักเรียนบางคนอาจตอบว่า พลังงานกล พลังงานแสง หรือพลงั งานเสียง โทรทัศน์เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น ** ผลการอภิปรายตามจริง ขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องคิดเลข พลังงานความร้อน ซึ่งครูอาจนำ หรอื ของเลน่ ท่นี ำมาทำกิจกรรม) อภิปรายว่าโทรทัศน์มีการเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความ 7.9 เมื่อต่อสายไฟฟ้าเข้ากับถ่านไฟฉายและหลอดไฟฟ้า นักเรียน ร้อนด้วย แต่เราไม่ได้นำพลังงาน สังเกตเห็นอะไรบา้ ง (หลอดไฟฟา้ สว่าง) ค ว า ม ร ้ อ น จ า ก โ ท ร ท ั ศ น ์ ไ ป ใ ช้ ประโยชน์ 7.10กิจกรรมในข้อ 7.9 มีการเปลี่ยนพลังงานหรือไม่ อย่างไร (มีการ เปลีย่ นพลงั งานจากพลงั งานไฟฟา้ เปน็ พลังงานแสง) 7.11เม่อื ตอ่ สายไฟฟ้าเข้ากับถา่ นไฟฉายและมอเตอรไ์ ฟฟ้าท่ีติดใบพัด นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง (ใบพัดที่ติดอยู่กับมอเตอร์ไฟฟ้า หมุน) สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
207 คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 พลงั งานกบั ชีวติ 7.12กิจกรรมในข้อ 7.11 มีการเปลี่ยนพลังงานหรือไม่ อย่างไร การเตรียมตวั ลว่ งหน้าสำหรับครู (มกี ารเปลีย่ นพลังงานจากพลงั งานไฟฟ้าเป็นพลงั งานกล) เพ่ือจดั การเรียนรใู้ นครง้ั ถัดไป 7.13การที่หลอดไฟฟ้าสว่าง และใบพัดที่ติดอยู่กับมอเตอร์ไฟฟ้า ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำกิจกรรมท่ี 1.2 หมุนได้ เกิดขึ้นเนื่องจากหลอดไฟฟ้าและมอเตอร์ไฟฟ้าได้ ผลิตไฟฟ้าได้อย่างไร โดยการสังเกตและนำผล พลังงานไฟฟ้ามาจากแหล่งพลังงานใด (ได้พลังงานไฟฟ้ามาจาก การทำกิจกรรมมาอภปิ รายรว่ มกนั ดงั น้ันครูควร ถา่ นไฟฉาย) เตรยี มชดุ สาธติ เครอื่ งกำเนิดไฟฟ้าสำหรับการทำ กิจกรรม โดยครูควรตรวจสอบอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ว่า 7.14เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าท่ีนักเรียนสำรวจจากบ้านและโรงเรยี นมีอะไรบ้าง พร้อมใช้งานหรือไม่ นอกจากนี้ครเู ตรียมวีดิทัศน์ (นักเรียนตอบตามผลการสำรวจ เช่น พัดลมไฟฟ้า กระติก เรื่อง การผลิตไฟฟ้าจากชุดสาธิตเครื่องกำเนิด นำ้ รอ้ น) ไฟฟ้าเพื่อนำมาให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันใน ครง้ั ถดั ไป โดยหากห้องเรียนไม่มอี ินเทอร์เนต็ ครู 7.15 เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน อาจดาวน์โหลดวีดิทัศน์ไว้ล่วงหน้าจาก QR อะไรบ้าง ยกตัวอย่าง (นักเรียนตอบตามผลการสังเกต เช่น code ในหนังสือเรียน หนา้ 92 พัดลมไฟฟา้ เปล่ยี นพลงั งานไฟฟา้ เปน็ พลงั งานกล กระติกนำ้ ร้อน เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน นักเรียนบางคน นอกจากนี้ครูอาจเตรียมไฟฉายมือบีบหรือ อาจตอบวา่ พลังงานแสงดว้ ย เพราะกระตกิ นำ้ รอ้ นอาจมีไฟเตือน เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ ที่ทำงานโดยใช้เครื่อง อยภู่ ายนอกกระติก) กำเนิดไฟฟ้ามาให้นักเรียนสังเกตในกิจกรรม ถัดไป 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในส่ิงที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเปลี่ยนพลังงานหนึ่งไปเป็นพลังงานอื่น จากนั้นร่วมกันอภิปรายและ ลงขอ้ สรปุ วา่ พลังงานทำใหส้ ง่ิ ต่าง ๆ ทำงานได้ โดยพลังงานมีหลายแบบ พลังงานสามารถเปลี่ยนจากพลังงานหนึ่งไปเป็นพลังงานอื่นได้ และ พลังงานไฟฟ้าสามารถทำให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทำงานได้โดยเปลี่ยน ไปเป็น พลังงานอื่น เช่น พลังงานความร้อน พลังงานแสง พลังงานเสียง หรือ พลังงานกล (S13) 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพิ่มเตมิ ในการอภิปรายเพอื่ ใหไ้ ด้แนวคำตอบท่ถี ูกต้อง 10.นกั เรียนอา่ น สิง่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ และเปรยี บเทียบกบั ขอ้ สรุปของตนเอง 11.ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า ครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นำเสนอคำถาม ของตนเองหน้าชั้นเรยี น จากนั้นนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเกี่ยวกับคำถาม ที่นำเสนอ 12.ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในขัน้ ตอนใด ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 พลังงานกบั ชีวติ 208 แนวคำตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม สำรวจและระบุการเปลี่ยนพลังงานหน่ึงไปเปน็ พลงั งานอืน่ ได้ยินเสยี ง พลงั งานกล พลงั งานเสยี ง ไดย้ ินเสียงและรสู้ ึกร้อน พลงั งานกล ทฝี่ ่ามือ พลังงานเสียงและพลังงานความรอ้ น สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
209 คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 พลงั งานกับชีวติ มีตัวเลขปรากฏทีห่ นา้ จอของ พลังงานแสง เคร่ืองคดิ เลข พลังงานไฟฟ้าแลว้ พลังงาน ไฟฟา้ เปลี่ยนเป็นพลังงานแสง ตวั เลขทีห่ น้าจอของเครื่อง คดิ เลขหายไป เซลลส์ รุ ยิ ะต้องไดร้ ับแสง จึงจะทำใหเ้ คร่อื งคดิ เลข ทำงานได้ ของเล่นเคลือ่ นไหวได้ มี พลงั งานแสง เสียง มีแสง (ตามผลการ พลังงานไฟฟา้ แลว้ พลงั งานไฟฟ้าเปล่ียนเป็น สังเกตจริง) พลงั งานกล พลงั งานแสง หรอื พลังงานเสยี ง ของเล่นหยุดเคลอ่ื นไหว เซลลส์ รุ ิยะตอ้ งได้รับแสงจงึ ไม่มแี สง ไมม่ เี สียง จะทำใหข้ องเล่นทำงานได้ หลอดไฟฟ้าสว่าง พลงั งานไฟฟ้า พลังงานแสง ใบพัดทตี่ ิดอยู่กบั มอเตอร์ไฟฟ้าหมุน พลงั งานไฟฟา้ พลงั งานกล ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311