ชีววทิ ยา เลม่ 2 บทที่ 7 | ววิ ัฒนาการ 239 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเกิดสปีชีส์ใหม่เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปว่า ความหมาย ของสปีชีส์มีหลายความหมาย โดยความหมายของสปีชีส์ทางด้านชีววิทยาจะพิจารณาความสามารถ ในการผสมพันธุ์และให้กำ�เนิดลูกหลานท่ีไม่เป็นหมัน สิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันจะมีกลไกในการป้องกัน การผสมพันธุ์ต่างสปีชีส์ ส่ิงมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันเม่ือไม่มีการถ่ายเทยีนระหว่างประชากรในรุ่น บรรพบรุ ษุ จะท�ำ ใหป้ ระชากรทง้ั สองมโี ครงสรา้ งทางพนั ธกุ รรมทแ่ี ตกตา่ งกนั และมวี วิ ฒั นาการเกดิ เปน็ สปชี ีสใ์ หมข่ ้นึ ได้ จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเพ่ือน�ำ ไปสู่ข้อสรุปว่า ความหลากหลายของส่ิงมีชีวิตเกิดจากกระบวนการวิวัฒนาการที่ค่อย ๆ เปล่ียนแปลงโครงสร้าง ทางพนั ธกุ รรมของประชากรทลี ะนอ้ ยเปน็ เวลาหลายชวั่ รนุ่ ผา่ นกระบวนการคดั เลอื กโดยธรรมชาตซิ งึ่ เป็นการคดั เลือกส่งิ มชี ีวติ ท่มี ีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ ม และเกดิ เป็นส่ิงมชี วี ติ สปชี สี ใ์ หม่ขึ้น กลไกเหล่าน้ีเกิดขึ้นอย่างต่อเน่ืองเป็นเวลานาน ทำ�ให้เกิดส่ิงมีชีวิตหลายสปีชีส์ เป็นความหลากหลาย ทางชวี ภาพทส่ี �ำ คญั ต่อการดำ�รงชวี ิตของมนุษยแ์ ละสง่ิ มชี วี ติ อื่น ๆ แนวการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ - แนวคดิ เกย่ี วกบั ความหมายของสปชี สี ด์ า้ นตา่ ง ๆ การแยกเหตกุ ารสบื พนั ธ์ุ และก�ำ เนดิ สปชี สี ์ จากการตอบคำ�ถาม และการอภิปราย ดา้ นทักษะ - การสังเกต และการลงความเห็นจากข้อมูลจากการตอบคำ�ถาม การอภิปราย และการทำ� กจิ กรรม - การสอื่ สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ และการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา จากการตอบค�ำ ถาม และการทำ�กจิ กรรม ด้านจิตวิทยาศาสตร์ - ความอยากรอู้ ยากเหน็ การใช้วิจารณญาณ ความใจกว้าง และความรอบคอบจากการตอบ คำ�ถาม การอภปิ ราย การทำ�กิจกรรม และการมสี ว่ นรว่ มในการเรียนการสอน โดยประเมิน ตามสภาพจรงิ ระหวา่ งเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
240 บทที่ 7 | ววิ ฒั นาการ ชีววทิ ยา เลม่ 2 เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 7 1. จงศึกษาภาพและขอ้ ความข้างลา่ งนี้ แล้วตอบค�ำ ถาม ภาพข้างล่างนี้เป็นซากดึกดำ�บรรพ์ของหอยโข่ง พบว่าซากดึกดำ�บรรพ์หอยหมายเลข 1 มีอายุมากท่ีสุด คือ 10 ล้านปีมาแล้ว และซากดึกดำ�บรรพ์หอยที่มีอายุน้อยท่ีสุด คือ หอยหมายเลข 10 ซ่ึงมอี ายปุ ระมาณ 3 ล้านปมี าแลว้ 12 34 5 67 8 9 10 จงตอบคำ�ถามตอ่ ไปน้ี 1.1 หอยเหล่านี้มคี วามเหมอื นกันหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร ค�ำ ตอบของนกั เรยี นอาจมไี ดห้ ลายแบบ ลกั ษณะทเ่ี หมอื นกนั คอื เปลอื กหอยมลี กั ษณะ ขดเป็นวงซ้อนกันในรูปแบบบันไดเวียนขวา โดยปลายสุดของเปลือกจะยกสูงข้ึน ผิวของเปลือกมีลักษณะนูนเป็นซ่ี ๆ และมีช่องเปิดของเปลือกเหมือนกัน ลักษณะท่ี แตกตา่ งกนั คอื จ�ำ นวนเกลยี วทข่ี ดซอ้ นกนั เปน็ วงจะมจี �ำ นวนเพม่ิ ขนึ้ จาก 1 ถงึ 10 และ ผวิ ของเปลอื กหอยเปลย่ี นจากลกั ษณะโคง้ มนมาเปน็ มรี อยหยกั เปน็ สนั ขณะทรี่ ปู ทรง ของเปลอื กหอยเปล่ยี นจากรปู กรวยทรงกลมมาเป็นรปู กรวยทรงสามเหล่ียม 1.2 จากขอ้ มลู ภาพขา้ งบนน้ีแสดงใหเ้ ห็นถึงวิวฒั นาการอยา่ งไร จากข้อมูลภาพข้างบนแสดงให้เห็นลำ�ดับการเกิดวิวัฒนาการของหอยอย่างค่อยเป็น ค่อยไป จากเปลือกหอยหมายเลข 1 จนกระทงั่ ปรากฏเปน็ เปลือกหอยหมายเลข 10 ซงึ่ เกิดข้ึนในระยะเวลานบั ล้านปี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 2 บทที่ 7 | วิวัฒนาการ 241 1.3 ถา้ ซากดกึ ด�ำ บรรพใ์ นตวั อยา่ งหมายเลข 3 4 5 และ 6 ขาดหายไป จากซากดกึ ด�ำ บรรพ์ ท่เี หลือนักเรยี นจะสรุปว่าอยา่ งไร ถ้าซากดึกดำ�บรรพ์หมายเลข 3 4 5 และ 6 ขาดหายไป ซากดึกดำ�บรรพ์ของหอย หมายเลข 1 และ 2 อาจมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันทางวิวัฒนาการ ขณะที่ ซากดึกดำ�บรรพห์ อยหมายเลข 7 8 9 และ 10 อาจมีววิ ัฒนาการมาจากบรรพบรุ ษุ ท่ีแตกตา่ งกนั จากฟอสซิลหมายเลข 1 และ 2 2. จากลำ�ดับนิวคลีโอไทด์ของยีน M ในหอย 5 สปชี สี ม์ ีดังน้ี สปชี ีส์่ ล�ำ ดบั นวิ คลีโอไทด์ 1 …TACTGGTTTA AGTTTGTTAA TTCGTGCTGA GTTAGGGCAA CCTGGTGCTT TATTAGGTGA… 2 …GGTCAACAAA TCATAAAGAC ATCGGGACGT TGTATATTTT ATTTGGAATA TGATCAGGGT… 3 …GGTCAACAAA TCATAAAGAC ATTGGAACAC TATACATTTT ATTTGGTATA TGATCCGGTC… 4 …TACAGCTTTA AGTTTATTAA TTCGAGCTGA ATTAGGGCAA CCTGGAGCAC TGCTGGGTGA… 5 …GGTCAACAAA TCATAAAGAT ATCGGGACAT TGTAGATTCT ATTTGGAATA TGATCGGGAC… จงเขียนตัวเลขสปีชีส์ของหอยลงในช่องว่างตามความใกล้ชิดกันทางสายวิวัฒนาการ และ อธบิ ายหลกั การในการเรียงล�ำ ดบั ววิ ฒั นาการของหอย 5 สปชี สี น์ ้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
242 บทที่ 7 | ววิ ฒั นาการ ชีววิทยา เลม่ 2 1 4 32 5 หมายเหตุ: บรรพบุรุษรว่ ม สปีชีสท์ ่ี 1 กบั 4 สลบั ตำ�แหนง่ กนั ได้ สปีชสี ท์ ่ี 2 กบั 5 สลับต�ำ แหนง่ กนั ได้ แนวการคดิ เมื่อเปรียบเทียบลำ�ดับนิวคลีโอไทด์พบว่าสปีชีส์ที่ 1 และ 4 มีความแตกต่างจากสปีชีส์ท่ี 2 3 และ 5 มากจงึ นา่ จะมวี วิ ฒั นาการแยกจากกนั มากกวา่ สว่ นสปชี สี ท์ ี่ 2 และ 5 นา่ จะมวี วิ ฒั นาการ ที่ใกล้ชิดกันมากกว่าสปีชีส์ท่ี 3 เนื่องจากมีลำ�ดับนิวคลีโอไทด์ที่เหมือนกันมากกว่าสปีชีส์ท่ี 3 โดยแต่ละคูม่ ีล�ำ ดับนิวคลีโอไทดแ์ ตกต่างกนั ดงั น้ี สปีชีส่์ ล�ำ ดบั นวิ คลโี อไทด์ สปีชีสท์ ่ี 1 และ 4 มลี ำ�ดับนิวคลโี อไทด์แตกตา่ งกันจำ�นวน 11 ตำ�แหนง่ 1 …TACTGGTTTA AGTTTGTTAA TTCGTGCTGA GTTAGGGCAA CCTGGTGCTT TATTAGGTGA… 4 … . . . A . C . . . . AGTTTATTAA TTCGAGCTGA ATTAGGGCAA CCTGGAGCAC TGCTGGGTGA… สปีชสี ท์ ี่ 2 และ 3 มลี ำ�ดับนิวคลโี อไทด์แตกตา่ งกันจ�ำ นวน 10 ตำ�แหน่ง 2 …GGTCAACAAA TCATAAAGAC ATCGGGACGT TGTATATTTT ATTTGGAATA TGATCAGGGT… 3 …GGTCAACAAA TCATAAAGAC ATTGGAACAC TATACATTTT ATTTGGTATA TGATCCGGTC… สปชี ีสท์ ่ี 3 และ 5 มีลำ�ดบั นิวคลีโอไทด์แตกตา่ งกนั จ�ำ นวน 10 ต�ำ แหนง่ 3 …GGTCAACAAA TCATAAAGAC ATTGGAACAC TATACATTTT ATTTGGTATA TGATCCGGTC… 5 …GGTCAACAAA TCATAAAGAT ATCGGGACAT TGTAGATTCT ATTTGGAATA TGATCGGGAC… สปีชสี ์ที่ 2 และ 5 มลี ำ�ดับนวิ คลีโอไทดแ์ ตกตา่ งกนั จ�ำ นวน 7 ตำ�แหน่ง 2 …GGTCAACAAA TCATAAAGAC ATCGGGACGT TGTATATTTT ATTTGGAATA TGATCAGGGT… 5 …GGTCAACAAA TCATAAAGAT ATCGGGACAT TGTAGATTCT ATTTGGAATA TGATCGGGAC… สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 2 บทท่ี 7 | ววิ ฒั นาการ 243 3. พจิ ารณาแผนภาพแสดงลกั ษณะของจะงอยปากของนกชนดิ หนงึ่ ทแี่ ผน่ ดนิ ใหญ่ (mainland) และท่เี กาะขนาดเลก็ 4 เกาะ (เกาะ A-D) ในแผนภาพตอ่ ไปนี้ แผ่นดินใหญ่ A B D C 3.1 ใหล้ ากเสน้ ลงในแผนภาพเพอ่ื แสดงเสน้ ทางการเกดิ ววิ ฒั นาการจะงอยปากของนกจาก แผน่ ดนิ ใหญไ่ ปยงั เกาะต่าง ๆ พร้อมทั้งอธบิ ายเหตุผลประกอบ สามารถตอบเส้นทางการวิวัฒนาการจะงอยปากของนกได้หลายแบบ โดยพิจารณา จากเหตุผลประกอบคำ�อธิบาย ตัวอย่างท่ี 1 แผ่นดินใหญ่ A ขนาดและรปู รา่ งของจะงอยปากของนกอาจแยก ออกเป็น 2 ลักษณะท่ีชัดเจน นกที่อาศัยอยู่บนเกาะ B ทางดา้ นบน (A และ B) จะมจี ะงอยปากลกั ษณะแหลม ยาวขนึ้ เรอื่ ยๆ สว่ นนกทอี่ าศยั อยบู่ นเกาะทางดา้ นลา่ ง D (C และ D) จะมีจะงอยปากลักษณะทู่และส้ันลง C ดังน้ันอาจเป็นไปได้ว่านกจากแผ่นดินใหญ่อาจมีการ แพรก่ ระจายพนั ธ์ุไปยังเกาะ A และ C กอ่ น จากน้ัน เมื่อเวลาผ่านไป นกจากเกาะ A มีการแพร่กระจาย พันธุ์ต่อไปยังเกาะ B ในทำ�นองเดียวกันนกจากเกาะ C มกี ารแพรก่ ระจายพนั ธุ์ต่อไปยงั เกาะ D สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
244 บทที่ 7 | ววิ ฒั นาการ ชวี วทิ ยา เลม่ 2 ตัวอย่างท่ี 2 แผน่ ดินใหญ่ A ขนาดและรปู รา่ งของจะงอยปากของนกอาจแยก ออกเป็น 4 ลักษณะท่ีแตกต่างกัน นกท่ีอาศัยอยู่บน B เกาะ A จะมีจะงอยปากลกั ษณะแหลมยาว และนกที่ อาศัยอยู่บนเกาะ B จะมีจะงอยปากลักษณะแหลม D ยาวและโคง้ ลง สว่ นนกทอี่ าศยั บนเกาะ C จะมจี ะงอย C ปากลกั ษณะสน้ั และแหลม ในขณะทนี่ กทอี่ าศยั อยบู่ น เกาะ D จะมีจะงอยปากลักษณะทู่ ส้ัน และหนา ดังนั้นอาจเป็นไปได้ว่านกจากแผ่นดินใหญ่อาจ มีการแพร่กระจายพันธุ์ไปยังเกาะท้ัง 4 เกาะ แ ล้ ว มี วิ วั ฒ น า ก า ร จ น มี ลั ก ษ ณ ะ ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ สภาพแวดล้อมของเกาะนั้น ๆ 3.2 จงจบั คอู่ าหารกบั ลกั ษณะจะงอยปากของนกชนดิ นที้ อี่ าศยั อยบู่ นเกาะ A-D ใหม้ คี วาม สมั พันธ์กัน ข. ค. ง. ก. เกาะ B ข. เกาะ A ค. เกาะ C ง. เกาะ D สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เลม่ 2 บทท่ี 7 | วิวฒั นาการ 245 4. ในประชากรหน่ึง ถ้าพบว่ามีสัดส่วนของผู้ท่ีเป็นโรคทาลัสซีเมีย ซ่ึงถูกควบคุมด้วย แอลลลี ดอ้ ยบนออโตโซม (aa) เทา่ กบั 10 ใน 25,000 คน ก�ำ หนดใหป้ ระชากรนอ้ี ยใู่ นสมดลุ ฮารด์ -ี ไวนเ์ บริ ก์ และมขี นาดของประชากรเทา่ กบั 500,000 คน อยากทราบวา่ 4.1 ความถ่ขี องแอลลลี ทีท่ ำ�ให้เปน็ โรคทาลสั ซีเมยี เป็นเท่าใด ความถี่ของแอลลลี a ทีท่ ำ�ใหเ้ กดิ โรคทาลสั ซีเมีย คือ 0.02 แนวการคดิ จากโจทย์ระบุให้ประชากรอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก หมายความว่าความถี่ของ แอลลลี ในประชากรจะคงทเ่ี สมอ และสดั สว่ นของจีโนไทป์ aa เท่ากับ 2 5 1 ,0 0 0 0 ดงั น้ัน ความถข่ี องจีโนไทป์ aa = q2 = 251,000 0 = 0.0004 ความถ่ีของแอลลีล a = q = 0.0004 = 0.02 4.2 ประชากรท่เี ปน็ พาหะของโรคทาลสั ซีเมียมจี �ำ นวนเท่าใด มปี ระชากรทเี่ ป็นพาหะของโรคทาลสั ซีเมยี ประมาณ 19,600 คน แนวการคิด จากโจทย์ระบุให้ประชากรอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก และสัดส่วนของจีโนไทป์ aa เท่ากบั 2 5 1 , 00 0 0 ดงั นน้ั ความถขี่ องจีโนไทป์ aa = q2 = 251,0000 = 0.0004 ความถ่ขี องแอลลลี a = q = 0.0004 = 0.02 ความถี่ของแอลลีล A = p = (1 - q) = 0.98 ความถขี่ องจโี นไทป์ Aa = 2pq = 2 × 0.98 × 0.02 = 0.0392 ดงั นัน้ ในประชากร 500,000 คน จะมีจำ�นวนประชากรทีม่ ีจโี นไทป์ Aa ซึ่งเป็นพาหะของ โรคทาลัสซีเมีย ดงั น้ี จำ�นวนประชากรท่ีมจี โี นไทป์ Aa = 0.0392 × 500,000 = 19,600 คน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
246 บทท่ี 7 | วิวัฒนาการ ชีววทิ ยา เล่ม 2 5. การศึกษาฟีโนไทปข์ องหมเู่ ลือดระบบ MN ในประชากรแหง่ หนึง่ จำ�นวน 1,000 คน พบวา่ มเี ลือดหมู่ M 280 คน เลือดหมู่ MN 490 คน และเลือดหมู่ N 230 คน จงหาความถ่ีของ จโี นไทป์ MM MN และ NN และความถข่ี องแอลลีล M และ N เลือดหมู่ M MN N จโี นไทป ์ MM MN NN จำ�นวนประชากร (คน) 280 490 230 ความถ่ีของจโี นไทป ์ 280 490 230 1,000 1,000 1,000 = 0.49 = 0.23 = 0.28 ยนี ทกุ ต�ำ แหน่งมี 2 แอลลลี จ�ำ นวนแอลลีล 280 × 2 = 560 M 490 M + 490 N 230 × 2 = 460 N (1,000 × 2 = 2,000) (560 + 490) (490 + 460) ความถ่ีของแอลลีล 2,000 2,000 = 0.525 M = 0.475 N ดังน้ันความถข่ี องจโี นไทป์ MM MN และ NN คอื 0.28 0.49 และ 0.23 ตามล�ำ ดับ ความถีข่ องแอลลลี M และ N คอื 0.525 และ 0.475 ตามลำ�ดบั 6. จากการศึกษาสัตว์เคี้ยวเอ้ืองชนิดหน่ึง ลักษณะการมีเขาถูกควบคุมด้วยยีนตำ�แหน่งเดียว และเป็นลักษณะทถี่ ่ายทอดทางพนั ธกุ รรมแบบเด่นไม่สมบรู ณ์ ในบริเวณหน่ึงซึง่ มลี ักษณะ เป็นทุ่งหญ้าและมีพุ่มไม้เต้ีย ๆ กระจายอยู่โดยรอบ โดยในกลุ่มประชากรเริ่มต้นมีจำ�นวน 100,000 ตวั มีลักษณะเขายาวและแตกแขนง (AA) 64,000 ตวั เขาสนั้ (Aa) 32,000 ตัว และไม่มีเขา (aa) 4,000 ตัว ต่อมามีผู้ล่าซ่ึงกินสัตว์ชนิดน้ีเป็นอาหารย้ายเข้าสู่บริเวณ ดงั กลา่ ว สง่ ผลใหป้ ระชากรของสตั วเ์ คยี้ วเออ้ื งชนดิ นใี้ นรนุ่ ตอ่ ๆ มามจี �ำ นวนเปลย่ี นแปลงไป โดยเมอ่ื ผา่ นไป 10 ชว่ั รนุ่ พบวา่ มลี กั ษณะเขายาวและแตกแขนง 200 ตวั เขาสน้ั 1,200 ตวั และไม่มีเขา 600 ตัว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 2 บทที่ 7 | วิวัฒนาการ 247 6.1 ประชากรของสตั ว์เคย้ี วเอ้อื งชนิดนี้ในกลุ่มเร่ิมต้น มคี วามถี่ของแอลลลี A และ a และ ความถ่ขี องจีโนไทป์แต่ละแบบ อยา่ งละเทา่ ใด ประชากรของสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิดน้ีในกลุ่มเริ่มต้น มีความถ่ีของแอลลีล A เป็น 0.8 และความถี่ของแอลลีล a เป็น 0.2 แนวการคิด ในประชากรกลมุ่ เริ่มตน้ จ�ำ นวนแอลลลี A ความถี่ของแอลลลี A = จำ�นวนแอลลลี ทงั้ หมด = (2 × จ�ำ นวนของ AA) + จ�ำ นวนของ Aa 2 × (จ�ำ นวน AA + Aa+ aa) = (2 × 64,000) + 32,000 200,000 = 0.8 จ�ำ นวนแอลลีล a ความถี่ของแอลลลี a = จำ�นวนแอลลลี ทัง้ หมด = (2 × จำ�นวนของ aa) + จ�ำ นวนของ Aa 2 × (จ�ำ นวน AA + Aa+ aa) = (2 × 4,000) + 32,000 200,000 = 0.2 ความถ่ขี องจีโนโทป์ AA = 64,000 = 0.64 ความถี่ของจีโนโทป์ Aa = 100,000 = 0.32 ความถ่ขี องจีโนโทป์ aa = 32,000 = 0.04 100,000 4,000 100,000 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
248 บทที่ 7 | ววิ ฒั นาการ ชีววิทยา เลม่ 2 6.2 ประชากรของสัตว์เค้ียวเอื้องชนิดนี้ที่เหลือเมื่อผ่านไป 10 ช่ัวรุ่น มีความถ่ีของ แอลลลี A และ a และความถข่ี องจีโนไทปแ์ ต่ละแบบ อยา่ งละเท่าใด ประชากรของสัตวเ์ คี้ยวเอื้องชนดิ นี้ท่ีเหลอื เมื่อผา่ นไป 10 ชั่วรนุ่ มีความถ่ีของแอลลลี A เป็น 0.4 และความถ่ขี องแอลลีล a เปน็ 0.6 แนวการคดิ ในประชากรท่เี หลอื เม่ือผ่านไป 10 ช่ัวรนุ่ ความถี่ของแอลลีล A = จ�ำ นวนแอลลลี A จ�ำ นวนแอลลีลทง้ั หมด = (2 × 200) + 1,200 4,000 = 0.4 จ�ำ นวนแอลลลี a ความถข่ี องแอลลีล a = จำ�นวนแอลลลี ทัง้ หมด = (2 × 600) + 1,200 4,000 = 0.6 6.3 ประชากรของสตั วเ์ คย้ี วเออ้ื งชนดิ นม้ี กี ารเกดิ ววิ ฒั นาการขน้ึ หรอื ไม่ พจิ ารณาจากขอ้ มลู ใด มวี วิ ฒั นาการเกดิ ขน้ึ โดยพจิ ารณาจากประชากรของสตั วเ์ คยี้ วเออื้ งชนดิ นท้ี เ่ี หลอื เมอ่ื ผ่านไป 10 ช่ัวรุ่น มีการเปล่ียนแปลงความถ่ีของแอลลีล หรือความถ่ีของจีโนไทป์ไป จากประชากรในกล่มุ เร่ิมตน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 2 บทท่ี 7 | ววิ ฒั นาการ 249 6.4 สามารถอธบิ ายการเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ความถขี่ องแอลลลี ในกลมุ่ ประชากรของ สัตว์เคี้ยวเอื้องชนิดน้ีในบริเวณดังกล่าวโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยที่ทำ�ให้เกิด วิวัฒนาการระดับจลุ ภาคไดอ้ ย่างไร เกิดการคดั เลือกโดยธรรมชาติขนึ้ กบั ประชากรของสัตวเ์ คี้ยวเออ้ื งชนดิ นใี้ นบริเวณดัง กลา่ ว ซงึ่ อาจเกดิ จากการถกู ลา่ โดยผลู้ า่ ซงึ่ กนิ สตั วช์ นดิ นเ้ี ปน็ อาหาร ในสภาพแวดลอ้ ม ทเ่ี ปน็ ทงุ่ หญา้ และมพี มุ่ ไมเ้ ตย้ี ๆ สตั วเ์ คย้ี วเออ้ื งชนดิ นที้ มี่ ลี กั ษณะเขายาวและแตกแขนง อาจไมส่ ามารถซ่อนตวั จากผู้ลา่ ได้ ทำ�ใหถ้ กู ลา่ จนมจี ำ�นวนลดลง สง่ ผลใหค้ วามถี่ของ แอลลลี A ในประชากรร่นุ ตอ่ ๆ มาลดลง ในขณะที่สัตว์เคี้ยวเอื้องชนดิ นีท้ มี่ ีลักษณะ เขาส้ันและไม่มีเขาสามารถหลบรอดจากการล่าได้ดีกว่า ความถ่ีของแอลลีล a ใน ประชากรรุ่นต่อๆ มาจึงเพ่มิ ข้ึน 7. Ellis-Van Creveld syndrome เป็นภาวะผิดปกติทางพันธุกรรมที่เกิดจากแอลีลด้อยบน โครโมโซมค่ทู ่ี 4 ของมนษุ ย์ มีลกั ษณะนวิ้ เกนิ แคระ แขนขาส้นั มฟี ันผดิ ปกติแตก่ �ำ เนดิ มี โครงหนา้ ผิดรูป และเปน็ โรคหวั ใจ พบผเู้ ป็นโรคประมาณ 1 คนตอ่ ประชากร 60,000 คน แตใ่ นกลมุ่ Old Order Amish ในประเทศสหรฐั อเมรกิ าพบความถข่ี องโรคนสี้ งู ถงึ ประมาณ 1 ใน 2,000 คน บรรพบรุ ุษของกลุ่ม Amish ยา้ ยมาจากทวีปยุโรปและเร่ิมมาต้ังถ่ินฐานใน ศตวรรษท่ี 18 โดยประชากรเริม่ ต้น 1 ใน 30 คนเปน็ โรคดงั กล่าว กลมุ่ Amish มีความเคร่ง ดา้ นศาสนาและมีการแต่งงานภายในกลุ่มเทา่ นนั้ 7.1 ความถขี่ องแอลลลี ทที่ �ำ ใหเ้ กดิ โรค Ellis-Van Creveld syndrome ในกลมุ่ Old Order Amish อยู่ในสมดุลฮาร์ด-ี ไวนเ์ บิรก์ หรือไม่ เพราะเหตุใด ไมอ่ ยใู่ นภาวะสมดลุ ของฮารด์ -ี ไวนเ์ บริ ก์ เพราะในกลมุ่ ประชากรน้ี สมาชกิ มกี ารเลอื ก คู่อย่างเจาะจง (การเลือกคู่ไม่เป็นแบบสุ่ม) ผู้ที่แสดงอาการของโรคมีโอกาสที่จะ แต่งงานนอ้ ยกว่าผู้ไมแ่ สดงอาการ และมโี อกาสส่งต่อแอลลลี ท่ที �ำ ใหเ้ กิดโรคไปยังรนุ่ ลกู หลานได้น้อยลงความถ่ขี องแอลลีลในร่นุ ตอ่ ๆ ไปจงึ มีการเปลย่ี นแปลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
250 บทท่ี 7 | วิวัฒนาการ ชีววิทยา เลม่ 2 7.2 สามารถใช้ความรู้เกี่ยวกับพันธุศาสตร์ประชากรอธิบายถึงความถี่ของผู้เป็น โรค Ellis-Van Creveld syndrome ในกล่มุ Amish น้ีได้อย่างไร การที่ความถ่ีของผู้เป็นโรค Ellis-Van Creveld syndrome ในกลุ่ม Amish สูงกว่า ประชากรทว่ั ไปมากนนั้ นา่ จะเปน็ ผลมาจากการเปลย่ี นความถยี่ นี จาก founder effect เพราะในประชากรเริ่มต้นท่ีอพยพมาจากยุโรปน้ันมีขนาดเล็ก ความถี่ของแอลลีลท่ี เปน็ โรคเรมิ่ ตน้ จงึ สงู และการทชี่ าว Amish มกี ารแตง่ งานภายในกลมุ่ เปน็ สว่ นใหญย่ งิ่ ทำ�ให้มผี ูเ้ ป็นโรคน้ีมสี ัดสว่ นท่ีสูงกวา่ ประชากรโดยรวม 7.3 ตามประเพณีของชาว Amish เม่อื มีอายุ 16 ปี จะออกจากกลุม่ ไปใช้ชวี ิตภายนอกได้ ก่อนท่ีจะตัดสินใจว่าจะเข้าร่วมศาสนาและกลับมาอยู่ในกลุ่มหรือไม่เม่ือบุคคลมีอายุ 18-21 ปี และสามารถแต่งงานมีครอบครัวได้ ผู้ที่เลือกไม่เข้าร่วมศาสนาจะต้อง ย้ายออกจากกลุ่มและไม่สามารถแต่งงานกับบุคคลใดในกลุ่ม Amish ได้ แต่พบว่า ลูกหลานชาว Amish ส่วนใหญ่จะเลือกเข้าร่วมศาสนาและอยู่กับกลุ่มต่อไป การท่ี บุคคลเลือกที่จะออกจากกลุ่มหลังอายุ 16 ปี จะส่งผลถึงยีนพูลของกลุ่มประชากร Amish นีอ้ ยา่ งไร และของกลุ่มประชากรในสหรัฐอเมริกาอยา่ งไร การออกนอกกลุ่มมีโอกาสที่จะทำ�ให้ความถ่ีของแอลลีลในยีนพูลของประชากรน้ี เปล่ยี นแปลงไป แตพ่ บว่าลกู หลานชาว Amish สว่ นใหญ่จะเลอื กเขา้ ร่วมศาสนาและ อยู่กับกลุ่มต่อไป จำ�นวนผู้ท่ีออกจากกลุ่มจึงมีปริมาณน้อย ความถี่ของแอลลีลในยีน พูลของประชากร Amish จึงเปล่ียนแปลงในปริมาณน้อยซึ่งอาจไม่ทำ�ให้ความถ่ีของ แอลลีลเปล่ยี นแปลง ส�ำ หรบั การเปลย่ี นแปลงของยนี พลู ของประชากรในสหรฐั อเมรกิ าจากการยา้ ยเขา้ ของ ผู้ท่ีออกจากกลุ่ม Amish ก็เช่นเดียวกัน จะมีในสัดส่วนที่น้อยมาก ซึ่งไม่ควรจะส่ง ผลกระทบอยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ตอ่ ยนี พูลของประชากรในสหรฐั อเมริกา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 2 บทท่ี 7 | ววิ ัฒนาการ 251 8. เมอ่ื 20 ปที แี่ ลว้ นกชนดิ หนง่ึ ซงึ่ พบเฉพาะในหมเู่ กาะแหง่ หนง่ึ มปี รมิ าณลดลงมากเหลอื เพยี ง 6 ตัว โดยนกเพศผู้และเพศเมียเพียง 1 คู่เท่าน้ันที่สามารถสืบพันธุ์ได้ จึงมีความพยายาม ที่จะปกป้องสายพันธ์ุน้ีไว้โดยวิธีต่าง ๆ ในปัจจุบันพบว่าประชากรของนกชนิดน้ีเพ่ิมเป็น 300 ตัว แต่เมื่อพิจารณาจากข้อมูลทางพันธุกรรมนกชนิดนี้ยังคงถูกจัดว่าเป็นสปีชีส์ที่มี ความเส่ยี งของการสูญพันธ์ุสงู มากอยู่ จงให้เหตผุ ลว่าเป็นเพราะเหตใุ ด ถงึ แมป้ ระชากรนกในปจั จบุ นั จะมจี �ำ นวนมากพอ แตน่ กทง้ั หมดนนั้ มบี รรพบรุ ษุ เดยี วกนั คอื นกเพศผแู้ ละเพศเมยี 1 คู่ เมอ่ื 20 ปที ผี่ า่ นมา ซง่ึ ท�ำ ใหค้ วามหลากหลายทางพนั ธกุ รรมของ ประชากรนกนม้ี นี อ้ ย ในขณะทมี่ วิ เทชนั หรอื การถา่ ยเทยนี ซงึ่ จะท�ำ ใหค้ วามหลากหลายทาง พนั ธุกรรมเพมิ่ ขนึ้ นัน้ เกิดในอัตราท่ตี ำ�่ ความหลากหลายทางพนั ธุกรรมของประชากรนี้จงึ ยงั คงมนี อ้ ย เปน็ ผลใหค้ วามตา้ นทานตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสง่ิ แวดลอ้ มมจี �ำ กดั จงึ มคี วาม เสี่ยงต่อการสญู พนั ธ์สุ ูง 9. จงเติมข้อความเกี่ยวกับการแยกเหตุการสืบพันธุ์ที่กำ�หนดให้ ลงในท่ีว่างหน้าข้อความที่มี ความสมั พันธก์ นั (ตอบซ้�ำ ได)้ แหลง่ ท่อี ย่ ู ชว่ งเวลาในการผสมพันธุ์ โครงสร้างของอวยั วะสบื พนั ธุ์ สรรี วิทยาของเซลลส์ บื พนั ธ ์ุ พฤติกรรม ช ่วงเวลาใน กา รผสมพนั ธ์ุ 9.1) กบ Rana sylvatica ผสมพันธ์ุในช่วงกลางเดือนมีนาคม ขณะที่ กบ R. pipiens ผสมพันธชุ์ ่วงตน้ เดือนเมษายน โครง สรา้ งของ อว ยั วะสบื พนั ธ์ุ9 .2) ลักษณะการวนของเปลือกหอยทาก 2 ชนิด ในสกุล Bradybaena มีการวนต่างทศิ กนั ท�ำ ใหช้ ่องเปดิ อวยั วะสบื พันธ์ุไมต่ รงกัน สร รี วทิ ยาขอ งเซ ลลส์ บื พนั ธ์ุ 9 .3) การท่ีเม่นทะเล 2 สายพันธ์ุ คือ red urchin และ purple urchin ปลอ่ ยสเปริ ม์ และไขอ่ อกไปในน�ำ้ ทะเล แตไ่ มส่ ามารถปฏสิ นธเิ ปน็ zygote ได้ เพราะโปรตีนบนผวิ ของสเปิร์มและไขย่ ึดติดกันไมไ่ ด้ แหล ง่ ท ่ีอยู่ 9.4) ง ู 2 ชนิด ในสกุล Thamnophis อยู่ในพื้นที่เดียวกันแต่พบว่าชนิดหน่ึง อยใู่ นน�้ำ เป็นหลกั ขณะท่ีอีกชนิดอยู่บนบกเปน็ สว่ นใหญ่ ช ่วงเวลาใน กา รผสมพันธุ์ 9.5) สกั๊งค์ (skunk) 2 ชนดิ ในทวปี อเมรกิ าเหนอื อาศัยอยใู่ นเขตภมู ศิ าสตร์ ซ้อนทับกนั แตพ่ บวา่ ชนิด Spilogale putoris ผสมพนั ธปุ์ ลายฤดูหนาว ขณะที่ชนดิ S. gracilis ผสมพันธป์ุ ลายฤดรู ้อน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
252 บทที่ 7 | ววิ ฒั นาการ ชีววทิ ยา เลม่ 2 พฤต กิ ร รม 9.6) น ก blue-footed booby เพศผู้เต้นรำ�เพ่ือดึงดูดให้เพศเมียเข้าร่วม เตน้ ดว้ ย 10. จงอธิบายว่าเหตใุ ดส่ิงมชี ีวติ บางชนิดทีม่ ลี กั ษณะคล้ายคลึงกันมาก จึงไมส่ ามารถผสมพันธุ์ กันและให้กำ�เนดิ ลูกได้ ส่ิงมีชีวิตท่ีมีลักษณะคล้ายกันมาก แต่ไม่สามารถผสมพันธ์ุกันและให้กำ�เนิดลูกได้ เพราะ สง่ิ มชี วี ติ ดงั กลา่ วเปน็ สงิ่ มชี วี ติ ตา่ งสปชี สี ก์ นั มยี นี พลู ตา่ งกนั จงึ ไมส่ ามารถถา่ ยเทยนี ระหวา่ ง ประชากรได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก
254 ภาคผนวก ชวี วทิ ยา เลม่ 2 ตวั อยา่ งเครือ่ งมอื วดั และประเมินผล แบบทดสอบ การประเมินผลด้วยแบบทดสอบเป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการวัดผลสัมฤทธ์ิใน การเรียนโดยเฉพาะด้านความรู้และความสามารถทางสติปัญญา ครูควรมีความเข้าใจในลักษณะของ แบบทดสอบ รวมท้งั ขอ้ ดีและขอ้ จำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ ประโยชนใ์ นการสร้างหรอื เลือกใช้แบบทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและ ขอ้ จ�ำ กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เป็นดังนี้ 1) แบบทดสอบแบบทม่ี ีตวั เลือก แบบทดสอบแบบทม่ี ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจบั คู่ รายละเอียดของแบบทดสอบแตล่ ะแบบเปน็ ดังนี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เป็นแบบทดสอบที่มีการกำ�หนดตัวเลือกให้หลายตัวเลือก โดยมีตัวเลือกที่ถูกเพียงหนึ่ง ตัวเลอื ก องคป์ ระกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลือกตอบมี 2 สว่ น คอื คำ�ถามและตวั เลอื ก แต่บางกรณีอาจมีส่วนของสถานการณ์เพ่ิมขึ้นมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลาย รปู แบบ เชน่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดย่ี ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลือกตอบค�ำ ถาม 2 ช้ัน โครงสรา้ งดงั ตัวอย่าง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเด่ียวทไ่ี ม่มสี ถานการณ์ คำ�ถาม……………………………………………………………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เลม่ 2 ภาคผนวก 255 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเดย่ี วทม่ี ีสถานการณ์ สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถามเป็นชุด สถานการณ์…………………………………………………………….. คำ�ถามท่ี 1 …………………………………………………………….. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …………………………………………………………….. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
256 ภาคผนวก ชวี วิทยา เลม่ 2 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถาม 2 ช้ัน สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถามที่ 1 …………………………………………………………….. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …(ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามท่ี 1)…… …………………………………………………………………………………...... …………………………………………………………………………………...... แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีข้อดีคือ สามารถใช้วัดผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนได้ครอบคลุมเนื้อหา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ได้ นอกจากน้นี กั เรียนทีไ่ มม่ คี วามรูส้ ามารถเดาค�ำ ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถกู หรือผดิ เปน็ แบบทดสอบทม่ี ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นนั้ มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ ักเรยี นพิจารณาวา่ ถูกหรือผิด ดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบถูกหรือผดิ ค�ำ ส่ัง ให้พิจารณาวา่ ขอ้ ความต่อไปนถ้ี ูกหรือผิด แล้วใสเ่ ครอื่ งหมาย √ หรือ × หน้าข้อความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 2. ข้อความ……………………………………………..…………………….. ………… 3. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 4. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 5. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 2 ภาคผนวก 257 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี ามารถสรา้ งไดง้ า่ ย รวดเรว็ และครอบคลมุ เนอื้ หา สามารถตรวจไดร้ วดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณ์ในบางเนอ้ื หาทำ�ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบดว้ ยสว่ นทเี่ ปน็ ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ 2 ชดุ ทใี่ หจ้ บั คกู่ นั โดยขอ้ ความชดุ ที่ 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ที่ 2 อาจเป็นค�ำ ตอบหรอื ตัวเลือก โดยจำ�นวนขอ้ ความในชดุ ที่ 2 อาจมมี ากกว่าในชุด ที่ 1 ดงั ตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบจบั คู่ คำ�สง่ั ใหน้ ำ�ตัวอกั ษรหน้าข้อความในชุดค�ำ ตอบมาเติมในชอ่ งว่างหน้าข้อความในชุดคำ�ถาม ชุดคำ�ถาม ชุดค�ำ ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… แบบทดสอบรปู แบบนสี้ รา้ งไดง้ า่ ยตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั และเดาค�ำ ตอบไดย้ ากเหมาะส�ำ หรบั วัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีท่ีนักเรียนจับคู่ผิด ไปแลว้ จะท�ำ ใหม้ กี ารจับคผู่ ดิ ในคู่อ่ืน ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างสั้น และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบที่มี การตอบแต่ละแบบเป็นดังนี้ 2.1) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบเตมิ ค�ำ หรอื ตอบอย่างส้นั ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความท่ีไม่สมบูรณ์ซึ่งจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพ่ือให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทท่ี �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแี้ บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น สงิ่ ท่กี ำ�หนดคำ�ตอบใหม้ ีความถกู ตอ้ งและเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
258 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เลม่ 2 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ จิ ฉยั ค�ำ ตอบทนี่ กั เรยี น ตอบผิดเพ่ือให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางคร้ังมี ค�ำ ตอบถูกต้องหรอื ยอมรบั ได้หลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธบิ าย เปน็ แบบทดสอบทตี่ อ้ งการใหน้ กั เรยี นสรา้ งค�ำ ตอบอยา่ งอสิ ระ ประกอบดว้ ยสถานการณแ์ ละ คำ�ถามทีส่ อดคลอ้ งกัน โดยค�ำ ถามเป็นคำ�ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรูปแบบนี้ให้อิสระแก่นักเรียนในการตอบจึงสามารถใช้วัดความคิดระดับสูงได้ แต่เนื่องจากนักเรียนต้องใช้เวลาในการคิดและเขียนคำ�ตอบมาก ทำ�ให้ถามได้น้อยข้อ จึงอาจทำ�ให้ วดั ไดไ้ มค่ รอบคลมุ เน้ือหาทัง้ หมด รวมท้ังตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจให้คะแนนอาจไม่ตรงกนั แบบประเมนิ ทักษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏิบัตไิ ด้เป็นอย่างดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทสี่ �ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทวั่ ไปจะ ประเมนิ 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบตั กิ ารทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครื่อง มอื ทใี่ ชป้ ระเมนิ ดังตัวอยา่ ง ตวั อยา่ งแบบสำ�รวจรายการทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลอง รายการที่ตอ้ งส�ำ รวจ ผลการสำ�รวจ การวางแผนการทดลอง มี ไมม่ ี การทดลองตามข้ันตอน (ระบุจ�ำ นวนคร้งั ) การสงั เกตการทดลอง การบนั ทึกผล การอภปิ รายผลการทดลอง ก่อนลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 2 ภาคผนวก 259 ตัวอยา่ งแบบประเมินทกั ษะปฏบิ ัตกิ ารทดลองทีใ่ ชก้ ารให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลอง คะแนน 321 การเลอื กใช้อปุ กรณ์/ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลอื กใชอ้ ุปกรณ/์ เคร่อื งมือในการทดลอง เครือ่ งมอื ในการทดลองได้ เครื่องมอื ในการทดลองได้ เครื่องมือในการทดลอง ถูกต้องเหมาะสมกบั งาน ถกู ตอ้ งแต่ไม่เหมาะสมกบั ไมถ่ กู ตอ้ ง งาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ ใช้อปุ กรณ/์ เครื่องมอื ใน ใชอ้ ุปกรณ์/เครอ่ื งมอื ใน ใชอ้ ปุ กรณ์/เครื่องมือใน เครื่องมือในการทดลอง การทดลองไดอ้ ยา่ ง การทดลองไดถ้ ูกตอ้ งตาม การทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว และถูกต้อง หลักการปฏบิ ตั ิ แตไ่ ม่ การทดลองตามแผนที่ ตามหลักการปฏิบัติ คลอ่ งแคลว่ ก�ำ หนด ทดลองตามวธิ กี ารและ ทดลองตามวิธกี ารและ ทดลองตามวธิ กี ารและ ขนั้ ตอนทกี่ �ำ หนดไว้อย่าง ขัน้ ตอนท่กี ำ�หนดไว้ มกี าร ข้ันตอนท่ีกำ�หนดไว้หรอื ถูกตอ้ ง มีการปรับปรุง ปรับปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ดำ�เนินการขา้ มขัน้ ตอนที่ แกไ้ ขเปน็ ระยะ กำ�หนดไว้ ไม่มกี าร ปรับปรงุ แก้ไข ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลองทีใ่ ช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทักษะทป่ี ระเมิน ผลการประเมนิ 1. วางแผนการทดลองอยา่ งเป็นขั้นตอน 321 2. ป ฏบิ ตั กิ ารทดลองได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว สามารถเลอื กใช้ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 อปุ กรณ์ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และจดั วางอุปกรณ์เปน็ หมายถึง หมายถึง หมายถึง ระเบียบ สะดวกตอ่ การใช้งาน ปฏบิ ัติได้ ปฏิบตั ิได้ ปฏบิ ัตไิ ด้ 3. บันทกึ ผลการทดลองได้ถูกตอ้ งและครบถ้วนสมบรู ณ์ 3 ขอ้ 2 ข้อ 1 ขอ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
260 ภาคผนวก ชวี วิทยา เล่ม 2 ตัวอย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 32 1 เขียนรายงานตามลำ�ดบั ขนั้ ตอน เขียนรายงานการทดลอง เขียนรายงานโดยลำ�ดบั ขน้ั ตอน ผลการทดลองตรงตามสภาพจรงิ ตามล�ำ ดบั แต่ไม่สือ่ ความหมาย ไม่สอดคลอ้ งกัน และสื่อความหมาย และไม่สือ่ ความหมาย แบบประเมินคณุ ลกั ษณะดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทปี่ รากฏให้เห็นในลกั ษณะของค�ำ พดู การแสดงความคิดเหน็ การปฏบิ ัตหิ รอื พฤติกรรมบง่ ช้ี ทส่ี ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สง่ิ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เคร่ืองมือท่ใี ช้ประเมนิ คุณลักษณะดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ ดงั ตัวอย่าง ตัวอย่างแบบประเมนิ คุณลกั ษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ค�ำ ช้ีแจง จงท�ำ เคร่ืองหมาย √ ลงในช่องว่างที่ตรงกับคณุ ลักษณะทีน่ กั เรียนแสดงออก โดยจำ�แนกระดับพฤตกิ รรม การแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังน้ี มาก หมายถงึ นักเรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นั้นอย่างสม�ำ่ เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นักเรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นัน้ เป็นครง้ั คราว นอ้ ย หมายถึง นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นน้ั น้อยครง้ั ไมม่ ีการแสดงออก หมายถึง นักเรียนไมแ่ สดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านนั้ เลย รายการพฤติกรรมการแสดงออก ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก ดา้ นความอยากรอู้ ยากเห็น มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. นักเรียนสอบถามจากผรู้ หู้ รอื ไปศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ แสดงออก เมือ่ เกดิ ความสงสัยในเรอื่ งราววิทยาศาสตร์ 2. น ักเรยี นชอบไปงานนทิ รรศการวิทยาศาสตร์ 3. น กั เรยี นนำ�การทดลองที่สนใจไปทดลองตอ่ ท่ีบ้าน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เลม่ 2 ภาคผนวก 261 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก ด้านความซอื่ สัตย์ มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามทีท่ ดลองได้จรงิ แสดงออก 2. เมื่อทำ�การทดลองผดิ พลาด นกั เรียนจะลอก ผลการทดลองของเพือ่ นสง่ ครู 3. เมื่อครมู อบหมายใหท้ �ำ ช้นิ งานออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์ นกั เรยี นจะประดิษฐ์ตามแบบท่ปี รากฏอยู่ในหนงั สือ ด้านความใจกวา้ ง 1. แมว้ ่านกั เรยี นจะไม่เห็นด้วยกบั การสรุปผลการทดลอง ในกลุ่ม แตก่ ย็ อมรับผลสรุปของสมาชิกสว่ นใหญ่ 2. ถา้ เพือ่ นแย้งวธิ กี ารทดลองของนกั เรียนและมเี หตผุ ลท่ี ดีกวา่ นกั เรยี นพรอ้ มท่จี ะนำ�ขอ้ เสนอแนะของเพื่อนไป ปรับปรงุ งานของตน 3. เมื่องานทีน่ ักเรยี นตั้งใจและทุ่มเทท�ำ ถูกตำ�หนหิ รอื โต้แย้ง นกั เรียนจะหมดก�ำ ลงั ใจ ด้านความรอบคอบ 1. นกั เรียนสรุปผลการทดลองทันทเี ม่อื เสร็จสิน้ การทดลอง 2. นักเรยี นท�ำ การทดลองซำ�้ ๆ ก่อนทีจ่ ะสรปุ ผล การทดลอง 3. น กั เรยี นตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ก่อนทำ� การทดลอง ด้านความมงุ่ มัน่ อดทน 1. ถึงแม้ว่างานคน้ คว้าทีท่ ำ�อย่มู ีโอกาสส�ำ เร็จได้ยาก นกั เรียนจะยงั ค้นควา้ ต่อไป 2. น ักเรยี นลม้ เลกิ การทดลองทันที เม่อื ผลการทดลอง ทีไ่ ด้ขดั จากท่เี คยได้เรยี นมา 3. เมือ่ ทราบวา่ ชุดการทดลองทน่ี กั เรยี นสนใจต้องใช้ ระยะเวลาในการทดลองนาน นักเรยี นกเ็ ปลยี่ นไป ศึกษาชดุ การทดลองที่ใช้เวลานอ้ ยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
262 ภาคผนวก ชวี วิทยา เล่ม 2 รายการพฤติกรรมการแสดงออก ระดับพฤติกรรมการแสดงออก เจตคตทิ ีด่ ีตอ่ วิทยาศาสตร์ มาก ปานกลาง น้อย ไมม่ กี าร 1. นักเรียนน�ำ ความรู้ทางวิทยาศาสตรม์ าใชแ้ กป้ ญั หาใน แสดงออก ชวี ติ ประจำ�วนั อย่เู สมอ 2. นกั เรียนชอบทำ�กจิ กรรมท่เี กย่ี วขอ้ งกบั วทิ ยาศาตร์ 3. นักเรียนสนใจติดตามข่าวสารท่ีเก่ียวข้องกับ วทิ ยาศาสตร์ วิธกี ารตรวจใหค้ ะแนน ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑโ์ ดยก�ำ หนดน�ำ้ หนกั ของตวั เลอื กในชอ่ งตา่ ง ๆ เปน็ 4 3 2 1 ขอ้ ความที่มคี วามหมายเปน็ ทางบวก ก�ำ หนดใหค้ ะแนนแตล่ ะข้อความดังน้ี ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 ไมม่ กี ารแสดงออก 1 สว่ นของขอ้ ความทม่ี คี วามหมายเปน็ ทางลบการก�ำ หนดใหค้ ะแนนในแตล่ ะขอ้ ความจะ มีลักษณะเปน็ ตรงกนั ขา้ ม การประเมินการน�ำ เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังรายละเอียดต่อไปน้ี 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทตี่ อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลักที่สำ�คัญ ๆ เช่น การประเมินความถูกต้องของเนื้อหา ความรู้และการประเมินสมรรถภาพ ด้านการเขียนโดยใช้เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบภาพรวม ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 2 ภาคผนวก 263 ตัวอย่างเกณฑก์ ารประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ เน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ต้องปรบั ปรุง เน้ือหาถูกต้องแต่ให้สาระสำ�คัญน้อยมาก และ พอใช้ ไมร่ ะบุแหล่งท่ีมาของความรู้ เน้ือหาถกู ตอ้ ง มีสาระสำ�คญั แต่ยงั ไม่ครบถ้วน มี ดี การระบแุ หล่งทีม่ าของความรู้ เน้ือหาถูกต้อง มีสาระสำ�คัญครบถ้วน และระบุ ดีมาก แหลง่ ท่มี าของความรู้ชัดเจน ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรับปรงุ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุด ประสงค์ ขาดการเช่ือมโยงเน้ือหาบางส่วน พอใช้ ไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสม และสะกดคำ�ไม่ถูกต้อง ไม่อ้างอิงแหล่งท่ีมาของ ดี ความรู้ เขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มีรายละเอียด ไม่เพียงพอ เน้ือหาบางตอนไม่สัมพันธ์กัน การเรียบเรียบเนื้อหาไม่ต่อเนื่อง ใช้ภาษา ถูกตอ้ ง อา้ งองิ แหล่งทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของ เร่ือง บอกความสำ�คัญและท่ีมาของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็น สำ�คัญทั้งหมด เน้ือหาบางตอนเรียบเรียงไม่ ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อ้างองิ แหล่งทีม่ าของ ความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
264 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เลม่ 2 รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเรื่อง บอกความส�ำ คญั และทม่ี าของปญั หา จดุ ประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญทั้งหมด เรียบเรียงเนื้อหาได้ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อ้างอิงแหล่งท่มี าของความรู้ 2) การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย เป็นการประเมินเพื่อต้องการนำ�ผลการประเมิน ไปใชพ้ ัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงข้ึนกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้ เกณฑ์ย่อย ๆ ในการประเมินเพื่อทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุง การทำ�งานในส่วนน้ัน ๆ เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบย่อย มีตัวอย่างดังน้ี ตวั อย่างเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพ (แบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย) รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ ด้านการวางแผน ตอ้ งปรับปรุง พอใช้ ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรือออกแบบไดแ้ ต่ไม่ ดี ตรงกบั ประเด็นปัญหาทีต่ ้องการเรยี นรู้ ดมี าก ออกแบบการได้ตามประเดน็ สำ�คัญของปญั หา เปน็ บางสว่ น ออกแบบครอบคลุมประเด็นส�ำ คญั ของปัญหา เป็นส่วนใหญ่ แตย่ ังไมช่ ัดเจน ออกแบบได้ครอบคลุมทุกประเด็นสำ�คญั ของ ปญั หาอย่างเป็นข้นั ตอนท่ีชัดเจนและตรงตาม จดุ ประสงคท์ ตี่ อ้ งการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 2 ภาคผนวก 265 รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ด้านการด�ำ เนนิ การ ต้องปรบั ปรงุ ด�ำ เนนิ การไมเ่ ป็นไปตามแผน ใช้อปุ กรณ์และสอ่ื ประกอบถูกตอ้ งแตไ่ มค่ ล่องแคล่ว พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละส่ือ ดี ประกอบถกู ตอ้ งแต่ไม่คล่องแคล่ว ด�ำ เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อปุ กรณ์และสือ่ ดมี าก ประกอบการสาธติ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทันเวลา ผลงานในบางขั้นตอนไม่เป็นไปตามจุด ต้องปรบั ปรุง ประสงค์ พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ุปกรณ์และสื่อ ดี ประกอบไดถ้ ูกต้อง คล่องแคลว่ และเสรจ็ ทัน ดีมาก เวลา ผลงานทกุ ขัน้ ตอนเปน็ ไปตามจุดประสงค์ ดา้ นการอธิบาย อธิบายไม่ถกู ต้อง ขัดแยง้ กบั แนวคดิ หลักทาง วิทยาศาสตร์ อธิบายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธบิ ายเปน็ แบบพรรณนาทวั่ ไปซ่ึงไม่ ค�ำ นงึ ถงึ การเช่ือมโยงกบั ปัญหาทำ�ให้เขา้ ใจยาก อธิบายโดยอาศยั แนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปัญหาแต่ขา้ มไปในบางขัน้ ตอน ใชภ้ าษาได้ถูกตอ้ ง อธบิ ายตามแนวคดิ หลักทางวทิ ยาศาสตร์ ตรง ตามประเด็นของปญั หาและจุดประสงค์ ใช้ ภาษาได้ถกู ต้องเข้าใจงา่ ย ส่อื ความหมายได้ ชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
266 บรรณานุกรม ชีววิทยา เล่ม 2 บรรณานกุ รม กระทรวงพลงั งาน. (2554). พระบิดาแหง่ การพฒั นาพลังงานไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ส�ำ นักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สำ�นกั งานปลดั กระทรวงพลังงาน. ราชบัณฑติ ยสถาน. (2546). ศพั ทว์ ทิ ยาศาสตร์ องั กฤษ-ไทย ไทย-องั กฤษ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน (พมิ พค์ รงั้ ที่ 5 แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ). กรงุ เทพฯ : หา้ งห้นุ สว่ นจ�ำ กดั อรณุ การพมิ พ์. สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชีววิทยา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4–6 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ส�ำ หรบั นกั เรยี นทเ่ี นน้ วิทยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์คร้ังท่ี 9). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2558). หนังสือเรยี นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ชีววิทยา เล่ม 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (พมิ พ์คร้งั ท่ี 9). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สำ�นกั งานราชบณั ฑิตยสภา. (2560). พจนานกุ รมศพั ท์พันธศุ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสภา (พิมพค์ ร้งั ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : หา้ งหุ้นสว่ นจำ�กดั อรณุ การพิมพ.์ Appling, D. R., Anthony-Cahill, S. J., Mathews, C. K. (2016). Biochemistry Concepts and Connections (Global ed). London: Pearson Education Limited. Campbell, N. A., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Reece, J. B. (2018). Biology: A global approach (11th ed). New York: Pearson Education Limited. Griffiths, A. J. F., Susan R. W., Sean B. C., & John D. (2012). Introduction to genetic analysis (10th ed). New York: W.H. Freeman and Company. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เลม่ 2 บรรณานกุ รม 267 Hardin, J., Bertoni, G. (2016). Becker’s World Of The Cell (9Th Ed). Boston: Pearson Education, Inc. Mader, S. S., Windelspecht, M. (2016). Biology (12th ed). New York: McGraw-Hill Education. Marry K., Campbell and Shawn O. Farrell. (2008). Biochemistry (6th ed). Canada: Nelson Education Limited. Moran, L. M., Horton, R. A., Scrimgeour, G., Perry, M. (2014). Principles of Biochemistry (5th ed). London: Pearson Education Limited. Teresa Audesirk, Gerald Audesirk and Bruce E.Byers. (2008). Biology : life on earth with physiology (8th ed). New York: Pearson Education Limited. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
268 คณะกรรมการจดั ทำ�คมู่ อื ครู ชวี วิทยา เล่ม 2 คณะกรรมการจัดท�ำ ค่มู ือครู รายวชิ าเพมิ่ เติมวทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา เล่ม 2 ตามผลการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 คณะที่ปรกึ ษา ผู้อำ�นวยการ 1. ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำ�นวยการ 2. รศ.ดร.สญั ญา มิตรเอม สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผจู้ ัดท�ำ คมู่ ือครู รายวิชาเพิม่ เติมวทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เลม่ 2 1. รศ.ดร.ธีรพงษ์ บวั บูชา จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 2. ดร.วนดิ า ธนประโยชน์ศกั ดิ์ ผชู้ ว่ ยผอู้ �ำ นวยการ 3. ศ.ดร.ไพศาล สิทธกิ รกลุ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. นายธรี พัฒน์ เวชชประสทิ ธ ์ิ ผู้เชย่ี วชาญพิเศษ 5. รศ.ดร.วรี ะวรรณ สิทธกิ รกุล สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. นางเพ็ชรรตั น์ ศรีวลิ ัย ผู้อ�ำ นวยการสาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 7. ผศ.ดร.พชั นี สงิ หอ์ าษา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. นายณรงค์ พว่ งศร ี ผเู้ ชี่ยวชาญ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้เช่ียวชาญ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผชู้ �ำ นาญ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผชู้ ำ�นาญ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 2 คณะกรรมการจดั ท�ำ คู่มือครู 269 9. นายณฐั พงศ์ มนตอ์ ่อน โรงเรียนบดินทรเดชา (สงิ ห์ สิงหเสน)ี กรุงเทพมหานคร 10. ดร.สุนดั ดา โยมญาติ ผู้ชำ�นาญสาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11. ดร.นันทยา อัครอารยี ์ นกั วิชาการสาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 12. ดร.ขวญั ชนก ศรัทธาสุข นกั วิชาการสาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 13. นางสาวปุณยาพร บริเวธานนั ท ์ นักวชิ าการสาขาวทิ ยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผูร้ ว่ มพิจารณาคูม่ ือครู รายวิชาเพมิ่ เติมวทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ 2 1. ผศ.ดร.อาจอง ประทัตสุนทรสาร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 2. ผศ.ดร.รชั นีกร ธรรมโชติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. อ.ดร.กิตตคิ ุณ วงั กานนท ์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 4. นายวรี ะเดช ค�ำ ถาวร โรงเรยี นหอวงั กรงุ เทพมหานคร 5. นางถนมิ าภรณ์ ต้งั ตรัยรตั นกลุ โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร 6. นายสิปป์แสง สขุ ผล โรงเรยี นรตั นโกสินทรส์ มโภช จ.นครปฐม 7. นายธรี ะรตั น์ อบุ ลรัตน์ โรงเรียนจอมสรุ างค์อุปถมั ภ์ จ.อยธุ ยา 8. นางสาวศศิพนิ ท์ุ นรเศรษฐพนั ธุ์ โรงเรียนสริ ินธรราชวทิ ยาลัย จ.นครปฐม 9. นางสาววริ ัญญา สุขม ี โรงเรยี นพทั ลุง จ.พัทลุง 10. นายอนุรุทธิ์ หมดี เสน็ โรงเรียนจฬุ าภรณราชวิทยาลัย จ.นครศรธี รรมราช 11. นางวรรณวภิ า เบญจเลิศยานนท์ โรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ ภเู กต็ จ.ภเู กต็ 12. นายสุรเดช เอ่งฉ้วน โรงเรยี นอ่าวลึกประชาสรรค์ จ.กระบ่ี 13. ดร.อติโรจน์ ปพัฒน์เปรมสริ ิ โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี 14. นายนราธปิ ประสมบูรณ ์ โรงเรียนนารีนุกูล จ.อบุ ลราชธานี 15. นางราษี สืบโมรา โรงเรียนพยัคฆภูมวิ ิทยาคาร จ.มหาสารคาม 16. นางสาวเยาวเรช หมูด่ ี โรงเรียนประสาทวิทยาคาร จ.สรุ ินทร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
270 คณะกรรมการจดั ท�ำ คมู่ อื ครู ชวี วทิ ยา เลม่ 2 17. นายกฤษฎา โสมดำ� โรงเรียนปทมุ เทพ จ.หนองคาย 18. นายฉัตรชยั ชยั นนถี โรงเรียนสงู เม่นชนปู ถมั ภ์ จ.แพร่ 19. นางสาวอังคนางค์ เช้อื เจ็ดตน โรงเรยี นสามัคคีวิยาคม จ.เชียงราย 20. นางจรุ ีภรณ์ ไชยเหลก็ โรงเรยี นแมใ่ จวทิ ยาคม จ.พะเยา 21. นายอดุ ร ปงกาวงค ์ โรงเรยี นฝางชนปู ถัมภ์ จ.เชียงใหม่ 22. นายทวศี กั ดิ์ เปย่ี มทพั โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย จ.พิษณโุ ลก 23. นายกติ ติศกั ดิ์ ปราบพาล โรงเรียนมาบตาพดุ พันพิทยาคาร จ.ระยอง 24. นายมณเฑียร ส่งเสริม โรงเรียนชลราษฎรอำ�รุง จ.ชลบุรี 25. ดร.ปารวรี ์ เลก็ ประเสรฐิ นักวิชาการอาวุโสสาขาวทิ ยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 26. นางสาววลิ าส รตั นานุกูล นักวชิ าการสาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 27. ดร.ภณั ฑิลา อุดร นักวชิ าการสาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 28. นางสาวปาณิก เวยี งชยั นกั วิชาการสาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะบรรณาธิการ 1. รศ.ดร.ธรี พงษ์ บวั บูชา จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2. ผศ.ดร.อาจอง ประทตั สุนทรสาร จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 3. ผศ.ดร.รชั นกี ร ธรรมโชต ิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. ดร.วนดิ า ธนประโยชน์ศักด ์ิ ผชู้ ่วยผู้อำ�นวยการ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. ศ.ดร.ไพศาล สทิ ธิกรกุล ผเู้ ชยี่ วชาญพิเศษ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. นายธรี พัฒน์ เวชชประสทิ ธ์ิ ผอู้ �ำ นวยการสาขาวิทยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284