Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฝึก EF พัฒนาสมองลูกน้อย

ฝึก EF พัฒนาสมองลูกน้อย

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-18 16:14:02

Description: ฝึก EF พัฒนาสมองลูกน้อย

Keywords: ฝึก EF พัฒนาสมองลูกน้อย

Search

Read the Text Version

สง่ิ เลก็ ๆ ทส่ี รา้ งลกู Executive Function (EF) = ทกั ษะการคดิ เพอ่ื ชวี ติ ทส่ี ำเรจ็ พัฒนาสมองลกู นอ้ ย

การพัฒนาสมองของเด็ก นอกเหนือจากเรื่อง IQ และ EQ การฝึกทักษะ EF-Executive Function (ทักษะการคิด เพ่ือชีวิตที่สำ�เร็จ) เป็นส่ิงจำ�เป็นและสำ�คัญที่จะเป็นรากฐาน กระบวนการคิด ตัดสินใจ และการกระทำ�ท่ีมีส่วนช่วยให้ ลูกน้อยในวนั นเ้ี ปน็ คนทปี่ ระสบความสำ�เรจ็ ได้ในอนาคต ซ่งึ ทกั ษะ EF ไม่ได้มีตดิ ตัวเรามา แต่เราทกุ คนมีศกั ยภาพที่จะ ฝกึ ฝนให้เกิดทกั ษะ EF ได้ ซึ่งพ่อแมส่ ามารถ ชว่ ยฝกึ ฝนทกั ษะน้ีให้กบั ลูก

ทกั ษะ EF ชว่ ยพฒั นา สมองลกู น้อย หากอธิบายให้เข้าใจง่ายก็คือ Executive Function หรือ EF คือ กระบวนการทางความคิดในส่วน “สมองส่วนหน้า” ท่ีเกี่ยวข้องกับ ความคิด ความรสู้ ึก การกระทำ� เป็น ความสามารถของสมองท่ีใช้บริหาร จัดการชีวิตในเร่ืองต่างๆ เพ่ือกำ�กับ ตวั เราใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมทม่ี งุ่ สเู่ ปา้ หมาย นอกจากนี้ EF ยังช่วยให้เรา คิดอย่างมีเหตุผล รู้จักยับยั้งช่ังใจ รู้จักตั้งเป้าหมายในชีวิต รู้จักการ วางแผน มีความมุ่งม่ัน มีการจดจำ� สิ่งต่างๆ เพ่ือนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ ยืดหยุ่นความคิดเป็น หรือสามารถ จัดลำ�ดับความสำ�คัญในชีวิต รวมท้ัง รจู้ กั รเิ รม่ิ และลงมอื ท�ำ สงิ่ ตา่ งๆ อยา่ ง เปน็ ขน้ั เปน็ ตอน ซง่ึ ทกั ษะเหลา่ นเ้ี ปน็ ส่ิงท่ีทุกคนต้องใช้และมีผลต่อความ สำ�เร็จทั้งการงาน การเรียน และ การใชช้ วี ิต

เมอ่ื ไรท่ตี อ้ งใช้ EF เมอ่ื ตอ้ งเจอสถานการณใ์ หม่ หรอื ไมค่ นุ้ เคย เชน่ ยา้ ยโรงเรยี น เปลี่ยนทีท่ ำ�งาน พบครูใหม่ พบ เพ่ือนใหม่ เมื่อผลของงานท่ี ทำ�ออกมาไม่เป็นไปตามท่ีคาด มี ปั ญ ห า ท่ี ต้ อ ง ห า ท า ง แ ก้ ไ ข เมื่อเราต้องระงับความคิดและ การกระทำ�เพื่ออดทนต่อสิ่ง ย่ัวยุต่างๆ หรือเม่ือต้องอยู่ ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ คั บ ขั น ห รื อ ส ถ า น ก า ร ณ์ ท่ี ต้ อ ง ตั ด สิ น ใ จ ทกั ษะ EF จะชว่ ยใหเ้ ราคิดและ ตดั สนิ ใจอยา่ งถกู ตอ้ ง และเลอื ก ทำ�ในสิ่งท่ีสำ�คัญกับความสำ�เร็จ ของงาน

ทักษะ EF ท่สี �ำ คญั มี 9 ด้าน ดังน้ี 1 ทกั ษะความจ�ำ ทน่ี ำ�มาใช้งาน (Working Memory) คอื ทกั ษะความจ�ำ หรอื เกบ็ ขอ้ มลู จากประสบการณท์ ผ่ี า่ นมา และดงึ มาใช้ประโยชน์ตามสถานการณ์ที่พบเจอ 2 ทกั ษะการยบั ยัง้ ช่งั ใจ-คิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) คือ ความสามารถในการควบคมุ ความต้องการของตนเอง ให้อยใู่ นระดบั ทเี่ หมาะสม 3 ทักษะการยืดหย่นุ ความคิด (Shift Cognitive Flexibility) คอื ความสามารถในการยืดหย่นุ หรอื ปรบั เปล่ียน ให้เหมาะสมกับสถานการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ได้ 4 ทกั ษะการใสใ่ จจดจอ่ (Focus) คือ ความสามารถในการใส่ใจจดจ่อ มุง่ ความสนใจ อยกู่ บั สิง่ ท่ีท�ำ อย่างตอ่ เน่ืองในชว่ งเวลาหนึ่ง 5 การควบคมุ อารมณ์ (Emotion Control) คอื ความสามารถในการควบคมุ การแสดงออก ทางอารมณใ์ ห้อยู่ในระดบั ทเี่ หมาะสม

6 การประเมินตัวเอง (Self-Monitoring) คอื การสะท้อนการกระท�ำ ของตนเอง รู้จกั ตนเอง รวมถึงการประเมินการงานเพ่ือหาข้อบกพร่อง 7 การรเิ รมิ่ และลงมอื ท�ำ (Initiating) คือ ความสามารถในการรเิ รม่ิ และลงมอื ทำ�ตามท่คี ิด ไม่กลัวความล้มเหลว และไมผ่ ดั วนั ประกนั พรุ่ง 8 การวางแผนและการจดั ระบบดำ�เนนิ การ (Planning and Organizing) คอื ทักษะการท�ำ งาน ตงั้ แตก่ ารตง้ั เป้าหมาย การวางแผน การมองเห็นภาพรวม 9 การมุ่งเปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) คือ ความพากเพียรมุ่งสเู่ ป้าหมาย เมื่อตั้งใจและลงมอื ท�ำ สง่ิ ใดแล้ว กม็ ีความม่งุ มนั่ อดทน ไมว่ ่าจะมอี ปุ สรรคใดๆ กพ็ ร้อมฝ่าฟันให้ส�ำ เร็จ EF จะมีการเปล่ียนแปลงตลอดช่วงชีวิต ต้ังแต่ เด็กช่วงวัย 3-6 ขวบ เป็นช่วง วัยเด็กเล็กและพัฒนาข้ึนจนถึงวัยรุ่น โดยทักษะด้าน เ ว ล า ท่ี ดี ท่ี สุ ด ใ น ก า ร พั ฒ น า ความจำ�ที่นำ�มาใช้งาน (Working Memory) จะ ทกั ษะ EF ด้านตา่ งๆ ให้กับเด็ก พัฒนาเร็วกว่าด้านอ่ืนต้ังแต่ช่วงปลายขวบปีแรกและ เพราะเปน็ ช่วงที่สมองส่วนหนา้ จะพัฒนาดีข้ึนเรื่อยๆ เม่ือเด็กโตขึ้น ส่วนทักษะการ พฒั นามากที่สุด ยบั ยง้ั ชง่ั ใจ-คดิ ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) จะเรม่ิ ในช่วงปฐมวัยและจะพัฒนาเต็มท่ีเม่ือเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ และเสอื่ มลงเม่ือเขา้ สวู่ ัยชรา

EF สำ�คัญตอ่ การเรียนของเด็ก มีงานวิจัยระบุว่า เด็กที่มี EF ดี จะมีความพร้อม ทางการเรียนมากกว่าเด็กที่ EF ไม่ดี และประสบ ความสำ�เร็จได้ในการเรียนทุกระดับต้ังแต่อนุบาล ไปจนถึงมหาวิทยาลัยและในการทำ�งาน นอกจากนี้ ทักษะ EF ยังเป็นตัวบ่งบอกถึงความพร้อมทางการ เรียนมากกว่าระดับสติปัญญา (IQ) อีกทั้งยังส่ง ผลอย่างยิ่งกับด้านทักษะคณิตศาสตร์และการอ่าน

เดก็ ที่มี EF ดเี ปน็ อยา่ งไร ความจ�ำ ดี มีสมาธิจดจ่อ รู้จักอดทน กับงานทที่ �ำ รอคอยท่จี ะทำ� สามารถ อยา่ งต่อเนอื่ ง หรอื พดู ในเวลา คาดการณ์ จนงานเสร็จ ผลของการ ท่เี หมาะสม กระท�ำ ได้ รูจ้ ัก ขอความ ช่วยเหลือ เมอ่ื จ�ำ เป็น ไม่ รบกวน ผอู้ น่ื

มีความคดิ ยืดหยุ่น สามารถทำ�งาน เปลยี่ นความคดิ ให้เสรจ็ ตาม ไดเ้ ม่ือเง่อื นไข ก�ำ หนดและได้ และสถานการณ์ ผลส�ำ เร็จทด่ี ี เปลี่ยนไป สามารถ รู้จกั ประเมินตนเอง ทำ�งานกับผ้อู นื่ น�ำ จดุ บกพรอ่ ง มาปรับปรงุ การ ไดอ้ ย่าง ทำ�งานของตน มีความสุข ใหด้ ขี ้นึ ร้จู ักยบั ยงั้ เข้าอก ควบคุมตนเอง เข้าใจ ไม่ใหท้ ำ�ในส่ิงท่ี และเหน็ ใจ ผอู้ ่นื ไมถ่ กู ต้อง ไมเ่ หมาะสม มปี ฏิสมั พนั ธ์ที่ดี มเี ปา้ หมาย กบั คนรอบขา้ ง ชัดเจน

เดก็ ทมี่ ปี ญั หาความบกพรอ่ ง EF เปน็ อยา่ งไร ปญั หาดา้ นการยบั ยัง้ • ไมร่ ูต้ ัววา่ พฤตกิ รรมของตัวเอง มีผลกระทบหรือรบกวนผอู้ ่ืน • อยู่ไม่สุข กระสับกระสา่ ย • วอกแวกงา่ ยขณะทำ�กจิ กรรม • หุนหนั พลนั แลน่ ขาดความยับยั้งชั่งใจ ปญั หาด้านการเปล่ยี น ความคดิ ยืดหยนุ่ • มีปัญหาในการปรบั ตวั เข้ากับสิง่ ใหมๆ่ • อารมณเ์ สยี เมือ่ มีการเปล่ยี นแผนหรือ เปลี่ยนกจิ วตั รประจำ�วัน • ใชเ้ วลานานกวา่ จะรสู้ กึ วางใจใน สถานท่ีใหมห่ รอื สง่ิ แวดล้อมใหม่ ปัญหาด้านการควบคุมอารมณ์ • ระเบดิ อารมณ์โกรธอย่างรุนแรง • โกรธฉุนเฉยี วดว้ ยเหตผุ ลเพียงเลก็ นอ้ ย • เม่อื ผดิ หวังจะเสยี ใจเป็นเวลานานกวา่ เดก็ คนอืน่

ปญั หาดา้ นความจ�ำ ขณะท�ำ งาน • เม่อื สั่งใหท้ ำ�งาน 2 อยา่ ง เด็กสามารถ • ทจ�ำ�ำ ผไดิด้เเพรอื่ยี งงเคด�ำ มิ สซงั่ ้�ำแๆรกแหมร้เอืคคยำ�สสองั่ นสหดุ รทอื า้ ยเทา่ นั้น ชว่ ยเหลือไปแล้ว • ลมื ว่ากำ�ลงั ท�ำ อะไรขณะท่ีท�ำ กิจกรรมนนั้ อยู่ ปญั หาดา้ นการวางแผนจดั การ • ตอ้ งบอกใหเ้ รม่ิ ลงมอื ท�ำ งาน แม้ว่าเดก็ จะเตม็ ใจทำ� • ไม่สามารถหาเสื้อผ้า รองเท้า ของเล่น หรอื หนังสือเจอ แม้ว่าจะช้แี นะอย่างเฉพาะเจาะจงแลว้ • ทิ้งของเกลอื่ นกลาด แม้วา่ จะได้รบั การสอนหรือ แนะน�ำ แล้วก็ตาม • ไมส่ ามารถทำ�งานให้เสร็จได้ แม้ว่าจะได้รบั การแนะแนวทางแล้วก็ตาม ​ และนอกเหนอื จากการพฒั นาEFจะ ขน้ึ อยกู่ บั การพฒั นาสมองสว่ นหนา้ สดุ แล้ว ยังขึ้นอยู่กับปัจจัยพื้นฐานที่แตก ต่างของเด็กแต่ละคนด้วย เช่น เด็กมี การพัฒนาการล่าช้าหรอื เปล่า เดก็ อยู่ ในส่ิงแวดล้อมท่ีมีความเส่ียงสูงหรือไม่ เดก็ มคี วามไวตอ่ สง่ิ เรา้ รอบตวั มากนอ้ ย แค่ไหน เด็กมีความเครียด ความเหงา ความเศร้า หรือนอนหลับพักผ่อนไม่ เพียงพอหรือไม่ เปน็ ตน้ นั่นก็คือ ส่ิงแวดล้อมในครอบครัว และวิธีการเล้ียงดูของพ่อแม่ก็มีความ สำ�คัญสง่ ผลตอ่ EF ของเด็ก

วธิ ีพัฒนาทกั ษะ EF ในเด็ก ท�ำ ใหเ้ ดก็ รู้สึก สภาพแวดล้อมทสี่ ะอาด มโี อกาสเรียนรู้ ผูกพันไว้วางใจ สงบ ปลอดภยั มีส่งิ ที่ ด้วยการลงมอื ท�ำ กระตุ้นการเรียนรู้ของ กับพอ่ แม่ เดก็ เช่น หนังสอื ผปู้ กครอง ครู ของเลน่ เปน็ ตน้ กนิ อม่ิ นอนหลับ ออกก�ำ ลังกาย ฝกึ ให้รู้จักการ ใหเ้ พยี งพอ สม่ำ�เสมอ อดทนรอคอย ส่งเสริมใหเ้ ด็ก ฝึกความรับผดิ ชอบ สอนให้รู้จกั ท�ำ งานจนเสรจ็ ในบ้านเลก็ ๆ น้อยๆ คิดกอ่ นตอบ สอนใหเ้ ด็กพง่ึ พา คดิ ก่อนท�ำ สอนให้รู้จกั สอนให้เดก็ จดั การกบั ตัวเองตามวัย รจู้ ักจัดการ อารมณ์ตัวเอง ความเครียด นอกจากนี้เราสามารถส่งเสริม EF ผ่านการเล่นและการเรียนรู้ เช่น การเล่านิทาน การเล่น กับลูก การเลือกของเล่นหรือเกม พาเด็กไปเรียนรู้นอกสถานท่ี เพราะการท่ีเด็กอยู่ใน สภาพแวดลอ้ มแบบเดิมๆ กจ็ ะคดิ แบบเดิมๆ เม่อื ไรที่สภาพแวดลอ้ มเปลี่ยนจากเดิมจะกระต้นุ ให้ เดก็ ตอ้ งคดิ ด้วยสมองสว่ นหน้ามากขน้ึ เป็นตน้ รวมถงึ กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะ เชน่ การฝกึ ดนตรี กฬี า ศลิ ปะตา่ งๆ กน็ บั เปน็ กจิ กรรมทฝ่ี กึ การคดิ เชงิ บรหิ ารทดี่ ี เพราะตอ้ งใชส้ มาธิ ท�ำ อยา่ งเปน็ ล�ำ ดบั ขน้ั ตอน และตอ้ งมวี นิ ยั ในการฝกึ ซอ้ มจงึ จะส�ำ เรจ็

อปุ กรณช์ ่วยพฒั นา EF ของลูก นิทาน นิทานเป็นเคร่ืองมือสำ�คัญท่ีช่วย พัฒนาและสร้างเสริมทักษะ EF ของ เด็กได้ เพราะนิทานช่วยปูรากฐานของ ภาษาและทักษะต่างๆ รวมถึงปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรม ทัศนคติในการมอง โลก อีกท้ังยังสามารถกำ�หนดอนาคต และทิศทางของเด็กได้ด้วยว่าจะเติบโต ไปในทิศทางใด ซ่ึงเทคนิคคือการเลือก นิ ท า น สำ � ห รั บ เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย ค ว ร เ ป็ น เรื่องราวใกล้ตัวเด็ก และเป็นเรื่อง เดียวกนั ไมไ่ ดแ้ ยกเร่อื งเปน็ ตอนส้ันๆ ส�ำ หรบั เดก็ แรกเกิด–3 ขวบ สำ�หรับเดก็ อายุ 3-6 ขวบขนึ้ ไป นทิ านทีเ่ ป็น นทิ านเก่ียวกับ เร่อื งราวเกย่ี ว สมั พนั ธภาพ กบั ตัวเอง อาทิ ของพ่อแม่ เพือ่ น เรอ่ื งของอารมณ์ ส่งิ แวดล้อม สงั คม ความโกรธ งอน เพราะเปน็ วัยท่ี เสยี ใจ เป็นต้น เร่ิมเรียนรู้โลก มมุ ใหมๆ่ มากขึน้ นอกจากน้ีพ่อแม่ควรมีการต้ังคำ�ถาม ปลายเปิดให้เด็กได้ตอบตามความคิดและ จินตนาการ ซึ่งคำ�ตอบของเด็กจะไม่มีถูก - ผิด ขณะเดียวกันก็ควรจะแทรกทักษะ EF ทอ่ี ยใู่ นนทิ านแตล่ ะเรอ่ื งใหเ้ ดก็ ดว้ ย ตรงนจ้ี ะ ช่วยกระตุ้นให้ EF ของเดก็ ได้รับการพัฒนา

ของเลน่ การเลือกของเล่นหรือเกมควร เลือกที่ต้องใช้สมาธิและความจ�ำ เพื่อ ฝึกให้เด็กคิด ฝึกจินตนาการ เช่น ตัวต่อเลโก้ หมากฮอส หมากรุก เป็นต้น พวกน้ีจะช่วยฝึกสมองส่วน หน้า พัฒนาความคิดของเด็ก และ ควรเลี่ยงของเล่นสำ�เร็จรูป เพราะ นอกจากไม่ได้ช่วยให้เด็กฝึกคิดแล้ว ตอ่ ไปจะทำ�ใหเ้ ดก็ ขเ้ี กียจคิด เม่ือเจอ ปญั หาจะยอมแพต้ อ่ อปุ สรรคโดยงา่ ย ส่งิ ที่ส่งผลลบต่อการสร้างทักษะ EF การแกป้ ญั หาทร่ี นุ แรง อาทิ ความเครยี ดนบั เปน็ ตวั การ การลงโทษด้วยการตีหรือว่า สำ�คัญท่ีหยุดย้ังการคิดโดย กลา่ วรนุ แรง ความเศรา้ ความ สมองสว่ นหนา้ และยบั ยง้ั การ โดดเดย่ี ว ความกลวั เปน็ ตน้ พฒั นา EF ของเดก็

การเล้ียงลูกด้วยนมแม่ช่วยพัฒนา EF ของลกู รไู้ หมการใหน้ มแมอ่ ยา่ งเดยี วนานมากกวา่ 6 เดอื น เมอ่ื ลกู โตขนึ้ จะมีพัฒนาการด้าน EF และพัฒนาการด้านอ่ืนๆ ดีกว่าเด็กท่ี เลี้ยงดว้ ยนมแม่แบบระยะสัน้ อกี ทง้ั ฮอรโ์ มนของความเปน็ แม่ Oxytocinซง่ึ ผลติ ขน้ึ ในสมองสง่ เขา้ สกู่ ระแสเลอื ดไปสสู่ ว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ฮอรโ์ มนนไี้ มเ่ พยี งสง่ ผล ให้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของวงจรประสาทในสมองของแม่ มแเอยมัลงยีปอ่ืมะู่ใรลนีผจิมกูนะลาดลณำ้�ตดูนด่อเนนพมกม้อแม่ิาอยมรขยสล่้ึนโา่รงไดงใ้ดานเยง้ตหวสม็Oนัามทกตxอีแ่แyอ่งลมtขๆoะเ่อลcมตงย้ีiา่อnลงเแูกลนจตอกูอื่ะ่ปีกดงมรสด้วีมิมยม้วาานย่ำ�กณเ้�ำ ใสเนนพมOมอรx2ตาyนะtวoเฮันอcอแงiรnใรน์โกใมวหนนนั นลชตัง้�ำ นอ่คนๆิดลมนอจมี้มดะาี

จดั พมิ พแ์ ละเผยแพรโ่ ดย SOOK PUBLISHING เรียบเรยี งข้อมลู บางสว่ นจาก บทความ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่กับการพัฒนา Executive Function ของลูก โดยรศ.ดร.นวลจนั ทร์ จุฑาภักดีกุล ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบัน ชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล จาก หนังสือการประชุมวิชาการนมแม่แห่งชาติครั้งที่ 5, มูลนธิ ิศนู ย์นมแมแ่ ห่งประเทศไทย บทความ รจู้ กั ‘EF’ ทกั ษะฝกึ สมองบม่ เพาะ ‘ลกู นอ้ ย’ โดยสำ�นักพมิ พม์ ตชิ น วันที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2559 เอกสารบทความอินโฟกราฟิกเร่ือง สัญญาณบ่งช้ีว่า เด็กมีปัญหาความบกพร่องของ EF โดยสำ�นักงาน กองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) เอกสารบทความอินโฟกราฟิกเร่ือง พัฒนาทักษะ สมองใหเ้ ปน็ คนส�ำ เรจ็ ในอนาคต โดยส�ำ นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) สามารถสืบค้นขอ้ มลู และหนังสอื เพิม่ เตมิ ได้ที่ห้องสรา้ งปัญญา ศนู ยเ์ รยี นรสู้ ขุ ภาวะ ส�ำ นกั งานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) หรือดาวน์โหลดไดท้ แี่ อปพลิเคชัน SOOK Library และ resource.thaihealth.or.th โทร. 02-343-1500 กด 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook