Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี6

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี6

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-29 17:31:31

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี6
คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 6

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี6,คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

เคมี เลม่ 6 บทที่ 14 | เคมกี บั การแกป้ ัญหา 39 แนวทางการวัดและประเมนิ ผล 1. ความรูเ้ ก่ยี วกบั รูปแบบและวธิ ีการนำ�เสนอผลงาน จากการอภปิ ราย 2. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล และการสร้างแบบจำ�ลอง จากรายงาน ผลการทำ�กจิ กรรม และการนำ�เสนอผลงาน 3. ทักษะการสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและ ภาวะผู้นำ� และการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม จากการน�ำ เสนอผลงาน 4. จติ วิทยาศาสตรด์ ้านความใจกว้าง จากการอภิปราย 14.5 การเขา้ ร่วมประชมุ วชิ าการ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เข้ารว่ มประชมุ วิชาการในฐานะผ้ฟู งั หรือผนู้ �ำ เสนอผลงาน 2. จัดท�ำ รายงานสรปุ การประชุมวชิ าการ แนวการจดั การเรียนรู้ 1. ครอู ธบิ ายถงึ รปู แบบและความส�ำ คญั ของการประชมุ วชิ าการ ตามรายละเอยี ดในหนงั สอื เรยี น 2. ครใู ห้นกั เรียนทำ�กิจกรรม 14.7 สบื คน้ ขอ้ มลู งานประชมุ วิชาการ กิจกรรม 14.7 สืบคน้ ขอ้ มูลงานประชมุ วชิ าการ จดุ ประสงคข์ องกิจกรรม สืบคน้ ข้อมลู งานประชมุ วิชาการทางเคมี วิทยาศาสตร์ หรือเทคโนโลยีที่เก่ียวข้อง เวลาทีใ่ ช ้ อภิปรายกอ่ นท�ำ กจิ กรรม 5 นาที 40 นาที ทำ�กิจกรรม นาที 5 นาที อภิปรายหลังทำ�กจิ กรรม 50 รวม ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรับครู ครูควรใหน้ ักเรียนสืบคน้ ข้อมูลลว่ งหน้า แลว้ นำ�เสนอส่งิ ที่ได้จากการสืบคน้ ในห้องเรยี น สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 14 | เคมกี ับการแก้ปญั หา เคมี เล่ม 6 40 ตัวอยา่ งผลการสืบคน้ ตัวอย่าง 1 ช่ืองานประชุม การประชุมวชิ าการวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พอ่ื เยาวชน ครัง้ ท่ี 13 (วทท. ครง้ั ท่ี 13) (The 13th Conference on Science and Technology for Youths) ช่ือหัวข้อหลัก (theme) นวัตกรรมสร้างสรรคส์ กู่ ารอนุรักษอ์ ย่างย่งั ยนื ชว่ งเวลาที่จัดงาน วันท่ี 16–17 กรกฎาคม 2561 สถานทจ่ี ดั งาน ศนู ย์นิทรรศการและการประชมุ ไบเทค กรงุ เทพมหานคร หนว่ ยงานหลกั ท่จี ัด - สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) - มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์ - จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั - คณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (สพฐ.) - สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) - สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) รูปแบบของกิจกรรม - การน�ำ เสนอผลงานการวจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ในรปู แบบ ของการบรรยายและโปสเตอร์ในระดบั มธั ยมศกึ ษาและอดุ มศึกษา - การบรรยายและการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร จากผู้ทรงคณุ วฒุ ิ - การแนะนำ�แนวทางการศึกษาต่อในระดับปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท และปริญญาเอก สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 6 บทท่ี 14 | เคมีกบั การแกป้ ัญหา 41 ตวั อยา่ ง 2 ชอ่ื งานประชุม การประชมุ วชิ าการประจำ�ปี สวทช. คร้ังที่ 15 (15th NSTDA Annual Conference: NAC2019) ชือ่ หัวข้อหลัก (theme) เศรษฐกจิ แห่งอนาคตไทย ก้าวไกลดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ช่วงเวลาทีจ่ ัดงาน วันท่ี 25–28 มนี าคม 2562 สถานทจี่ ดั งาน อทุ ยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย จ.ปทมุ ธานี หน่วยงานหลกั ท่จี ดั สำ�นักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) รปู แบบของกจิ กรรม - การสัมมนาวชิ าการ น�ำ เสนอความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ตี่ อบโจทยเ์ ศรษฐกิจยคุ ใหม่ - การแสดงนทิ รรศการ การแสดงผลงานวจิ ยั ของ สวทช. ภาคเี ครอื ขา่ ยภาครฐั และภาคเอกชน เนน้ กลมุ่ เทคโนโลยี เช่น biochemical precision agriculture food&feed cosmeceutical energy precision medicine - การเยย่ี มชมห้องปฏิบตั ิการวิจัยและทดสอบ - กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั เยาวชน เนน้ พฒั นากระบวนการคดิ ภายใตแ้ นวคดิ วทิ ยค์ ศู่ ลิ ป์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 14 | เคมีกบั การแก้ปญั หา เคมี เลม่ 6 42 ตัว อยา่ ง 3 ชอื่ งานประชุม การประกวดโครงงานของนักวทิ ยาศาสตรร์ ่นุ เยาว์ คร้งั ที่ 21 (Young Sciencetist Competition 2019: YSC 2019) ชอื่ หัวขอ้ หลัก (theme) - ช่วงเวลาท่จี ัดงาน - ลงทะเบียนผเู้ ขา้ แขง่ ขนั 25 กรกฎาคม 2561 - รับสมคั รขอ้ เสนอโครงงาน 1 กนั ยายน 2561 - ประกาศผลรอบขอ้ เสนอโครงงาน 19 ตุลาคม 2561 - พิธีมอบทนุ และจดั ค่ายโครงงานฯ พฤศจกิ ายน 2561 - ระยะเวลาพฒั นาโครงงาน พฤศจิกายน 2561 – มกราคม 2562 - ก�ำ หนดสง่ มอบผลงาน 15 มกราคม 2562 - ตรวจประเมนิ ผลงานรอบ 2 15–31 มกราคม 2562 - ประกาศผลโครงงานทผ่ี า่ นการพิจารณา ปลายเดอื น มกราคม 2562 และโครงงานที่เข้ารอบชิงชนะเลศิ - การประกวดรอบชิงชนะเลิศ 12–15 มนี าคม 2562 - รว่ มงาน Intel International Science 12–17 พฤษภาคม 2562 and Engineering Fair (Intel ISEF 2019) สถานทจี่ ัดงาน การประกวดรอบชิงชนะเลิศจัดขึ้นภายในงานมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศ แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 17 ณ ไอส์แลนด์ฮอลล์ ชั้น 3 ศูนย์การค้าแฟชั่นไอส์แลนด์ ถนนรามอนิ ทรา เขตคนั นายาว กรงุ เทพฯ หน่วยงานหลักทจี่ ดั ศูนย์เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ ส์และคอมพวิ เตอรแ์ ห่งชาติ (NECTEC) รปู แบบของกิจกรรม เปน็ การประกวดโครงงานของนกั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2–6 ในสาขาดังต่อไปน้ี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 6 บทที่ 14 | เคมกี ับการแก้ปัญหา 43 1. คอมพวิ เตอร์ 2. คณิตศาสตร์ 3. เคมี 4. ชวี วิทยา 5. ฟสิ กิ ส์ พลังงาน และดาราศาสตร์ 6. วัสดุศาสตร์ 7. วิทยาศาสตร์ส่ิงแวดลอ้ ม 8. วิศวกรรมศาสตร์ โครงงานทไ่ี ดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ หรอื ไดร้ บั การคดั เลอื กใหเ้ ปน็ ผแู้ ทนประเทศไทย จะไดเ้ ขา้ รว่ ม ประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติในงาน Intel International Science and Engineering Fair (Intel ISEF) ณ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า 3. ครแู ละนักเรียนอภิปรายร่วมกนั เกย่ี วกับบทบาทในฐานะผฟู้ ังและผู้น�ำ เสนอในงานประชมุ วิชาการ โดยครูอาจให้นักเรียนเขียนข้อควรปฏิบัติในฐานะผู้ฟังและผู้นำ�เสนอที่ดี อย่างละ 1 ข้อ ลงในกระดาษ รว่ มกนั จดั หมวดหมู่ แลว้ อภปิ รายเพอ่ื น�ำ ไปสขู่ อ้ สรปุ และเปรยี บเทยี บกบั บทบาทในฐานะ ผฟู้ งั และผู้น�ำ เสนอ ตามรายละเอียดในหนังสอื เรียน 4. ครอู าจยกตัวอยา่ งค�ำ ถามท่ีไมเ่ หมาะสมในฐานะผู้ฟงั เพม่ิ เตมิ ดังตวั อย่างต่อไปนี้ - ค�ำ ถามไมช่ ดั เจน ไมเ่ ฉพาะเจาะจง หรอื กวา้ งเกนิ ไป เชน่ ท�ำ เรอ่ื งนไ้ี ปท�ำ ไม สรปุ ทง้ั หมด ใหฟ้ งั อีกครง้ั ได้หรอื ไม่ หากไม่เขา้ ใจส่วนใดควรใชค้ ำ�ถามทม่ี ีความชดั เจนและเจาะจงมากขึ้น เชน่ เพราะเหตใุ ดจึงต้องทำ�การทดลองในสว่ น…. - คำ�ถามนอกเร่ือง เช่น ในงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการหาประสิทธิภาพท่ีกรองน้ำ�จาก เปลอื กสม้ กลว้ ย เงาะ และมงั คดุ แตใ่ ชค้ �ำ ถามวา่ ถา้ ใชเ้ ปลอื กทเุ รยี นหรอื เปลอื กสม้ โอจะดกี วา่ หรอื ไม่ หากตอ้ งการทราบขอ้ มลู ในสว่ นทไ่ี มไ่ ดด้ �ำ เนนิ การแตเ่ ชอ่ื มโยงกบั สงิ่ ทที่ �ำ ได้ ควรมสี มมตฐิ าน หรอื เหตผุ ลสนับสนุนประกอบค�ำ ถาม - ค�ำ ถามดูหมน่ิ เช่น งานนล้ี อกใครมาหรอื เปลา่ งานนที้ �ำ เองหรอื เปล่า หากสงสัยว่างานนี้อาจมีความซ้ำ�ซ้อนกับงานอื่น หรืองานบางส่วนอาจไม่ได้ทำ�ขึ้นเอง ควรใช้ค�ำ ถามวา่ ผลงานนม้ี สี ว่ นใดทใ่ี หมห่ รอื ไมซ่ �ำ้ ซอ้ นกบั งานอน่ื หรอื ผนู้ �ำ เสนอมสี ว่ นรว่ ม ในการด�ำ เนนิ การสว่ นใดบา้ ง สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 14 | เคมกี บั การแกป้ ัญหา เคมี เล่ม 6 44 5. ครอู ธบิ ายการเขยี นรายงานการเขา้ รว่ มการประชมุ วชิ าการ ตามรายละเอยี ดในหนงั สอื เรยี น 6. ครูให้นกั เรยี นทำ�กจิ กรรม 14.8 การเขา้ ร่วมและการสรุปรายงานการเข้าประชมุ วิชาการ กจิ กรรม 14.8 การเขา้ ร่วมและการสรุปรายงานการเข้าประชุมวิชาการ จุดประสงค์ของกจิ กรรม 1. เข้าร่วมการประชมุ วชิ าการ 2. จดั ท�ำ สรปุ รายงานการเขา้ รว่ มประชุมวิชาการ เวลาทใ่ี ช้ 2 ชัว่ โมง ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ สำ�หรบั ครู 1. ครูแนะนำ�ให้นักเรียนเข้าร่วมประชุมวิชาการที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานต่าง ๆ หรือ ครจู ดั การประชมุ วชิ าการในระดบั ชน้ั เรยี น โรงเรยี น หรอื กลมุ่ โรงเรยี น เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นทกุ คน ได้มปี ระสบการณก์ ารเข้ารว่ มประชมุ วิชาการ 2. เวลา 2 ชว่ั โมงทก่ี �ำ หนดให้ เปน็ เวลาส�ำ หรบั การอภปิ รายสรปุ ระหวา่ งครกู บั นกั เรยี น ไม่รวมเวลาการเข้าร่วมประชุมวชิ าการ 3. ครอู าจใชเ้ กณฑ์การใหค้ ะแนนในภาคผนวกเพอ่ื พจิ ารณาใหค้ ะแนนนักเรียนในการ เข้าร่วมประชุม และรายงานการเขา้ ร่วมประชุมได้ แนวทางการวัดและประเมินผล 1. ความรเู้ กย่ี วกบั ขอ้ ควรปฏิบัตใิ นการเข้ารว่ มประชมุ วิชาการ จากการอภิปราย 2. จิตวิทยาศาสตร์ด้านการเห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์และความสนใจในวิทยาศาสตร์ จากรายงานผลการสืบคน้ และรายงานผลการเขา้ ร่วมประชุมวชิ าการ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 6 ภาคผนวก 45 ภาคผนวก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เลม่ 6 46 แนวทางการวัดและประเมินผล หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เคมี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 เล่ม 6 นี้ เน้นการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้นักเรียนเกิดทักษะท่ีสำ�คัญท่ีสามารถใช้ในการแก้ปัญหาได้ ดังน้ันการวัด และประเมินผลจึงเน้นการประเมินด้านทักษะ ซ่ึงสามารถพิจารณาการประเมินในภาพรวม ได้ดัง ตวั อย่าง ผลการเรยี นรู้ รายการท่คี วรใช้ประเมิน ก�ำ หนดปัญหา และนำ�เสนอแนวทางการแก้ปัญหา - แบบประเมนิ ระหวา่ งการท�ำ กจิ กรรม 14.1 โดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น - รายงานผลการท�ำ กจิ กรรม 14.1 ใ น ชีวิตประจำ�วัน การประกอบอาชีพ หรือ อตุ สาหกรรม แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมี - แบบประเมนิ ระหวา่ งการท�ำ กจิ กรรม 14.2 ร่วมกับสาขาวิชาอื่นรวมทั้งทักษะกระบวนการ - รายงานผลการทำ�กจิ กรรม 14.2 ทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิง - แบบประเมนิ ระหวา่ งการท�ำ กจิ กรรม 14.3 วศิ วกรรม โดยเนน้ การคดิ วเิ คราะห์ การแกป้ ญั หา - รายงานผลการทำ�กจิ กรรม 14.3 แ ล ะ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ เ พื่ อ แ ก้ ปั ญ ห า ใ น สถานการณห์ รือประเดน็ ทส่ี นใจ นำ�เสนอผลงานหรือชิ้นงานท่ีได้จากการแก้ปัญหา - รายงานผลการท�ำ กจิ กรรม 14.5 ในสถานการณห์ รอื ประเดน็ ทส่ี นใจโดยใชเ้ ทคโนโลยี - โปสเตอรห์ รอื สไลดป์ ระกอบการบรรยาย สารสนเทศ ผลการทำ�กจิ กรรม 14.3 - การพดู น�ำ เสนอผลการท�ำ กจิ กรรม 14.3 แสดงหลกั ฐานการเขา้ รว่ มการสมั มนา การเขา้ รว่ ม - รายงานผลการสบื ค้นจากกจิ กรรม 14.7 ประชุมวิชาการ หรือการแสดงผลงานส่ิงประดิษฐ์ - รายงานผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการ ในงานนิทรรศการ จากกจิ กรรม 14.8 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 6 ภาคผนวก 47 ตวั อยา่ งเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนส�ำ หรบั แบบประเมนิ ระหว่างการท�ำ กจิ กรรม 14.1 การแก้ปัญหาด้วย วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ความรู้ทางเคมี สิ่งทต่ี ้องการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน ระดบั คุณภาพ ดี การกำ�หนดปญั หา และ กำ�หนดปัญหาได้ชัดเจน ตั้งคำ�ถามได้ ตั้งคำ�ถาม/คำ�ถามยอ่ ย สอดคลอ้ งกบั สถานการณท์ ก่ี �ำ หนดให้ พอใช้ และค�ำ ถามหรอื ค�ำ ถามยอ่ ยชว่ ยก�ำ หนด ข อ บ เ ข ต ข อ ง ก า ร อ อ ก แ บ บ วิ ธี ก า ร ตอ้ งปรบั ปรุง แกป้ ญั หา ดี ก�ำ หนดปญั หาไดช้ ดั เจน แตต่ ง้ั ค�ำ ถาม พอใช้ ไมส่ อดคลอ้ งกบั สถานการณท์ ก่ี �ำ หนดให้ ตอ้ งปรับปรงุ และคำ�ถามหรือคำ�ถามย่อยไม่ช่วย กำ�หนดขอบเขตของการออกแบบ วธิ กี ารแกป้ ญั หา การสบื คน้ และศกึ ษาขอ้ มลู ก�ำ หนดปญั หาไดไ้ มช่ ดั เจน และตง้ั ค�ำ ถาม ที่เกีย่ วข้องกบั ปัญหา ไมส่ อดคลอ้ งกบั สถานการณท์ ก่ี �ำ หนดให้ และคำ�ถามหรือคำ�ถามย่อยไม่ช่วย กำ�หนดขอบเขตของการออกแบบ วิธกี ารแก้ปญั หา มกี ารศกึ ษาคน้ ควา้ ความรทู้ างเคมแี ละ ความรหู้ รอื ขอ้ เทจ็ จรงิ อนื่ ๆทเี่ กย่ี วขอ้ ง กบั ปญั หาและเพยี งพอในการแกป้ ญั หา มกี ารศกึ ษาคน้ ควา้ ความรทู้ างเคมแี ละ ความรหู้ รอื ขอ้ เทจ็ จรงิ อนื่ ๆทเี่ กย่ี วขอ้ ง กบั ปญั หาแตไ่ มเ่ พยี งพอในการแกป้ ญั หา มกี ารศกึ ษาคน้ ควา้ ความรทู้ างเคมแี ละ ความรหู้ รอื ขอ้ เทจ็ จรงิ อน่ื ๆทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ ง กบั ปญั หาเปน็ ส่วนใหญ่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เลม่ 6 48 สง่ิ ท่ีตอ้ งการประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดี การตงั้ สมมตฐิ านและการ ต้ังสมมติฐานสอดคล้องกับคำ�ถาม ระบตุ ัวแปร และระบตุ ัวแปรได้ถกู ต้อง พอใช้ ต้องปรบั ปรุง ต้ังสมมติฐานสอดคล้องกับคำ�ถาม แต่ระบุตัวแปรได้ไม่ถูกตอ้ ง ดี พอใช้ ตั้งสมมติฐานไม่สอดคล้องกับคำ�ถาม ตอ้ งปรับปรงุ และระบตุ ัวแปรได้ไม่ถูกตอ้ ง ดี ก า ร อ อ ก แ บ บ วิ ธี ก า ร วธิ กี ารตรวจสอบสมมตฐิ านสอดคลอ้ ง ตรวจสอบสมมติฐาน กบั สมมตฐิ านทต่ี ง้ั ไว้ และวธิ ดี �ำ เนนิ การ พอใช้ เป็นล�ำ ดบั ขน้ั ตอน ต้องปรับปรุง วธิ กี ารตรวจสอบสมมตฐิ านสอดคลอ้ ง กับสมมติฐานท่ตี ้งั ไว้ แต่วิธีดำ�เนินการ ไม่เป็นลำ�ดับขน้ั ตอน วธิ กี ารตรวจสอบสมมตฐิ านไมส่ อดคลอ้ ง กบั สมมตฐิ านทต่ี ง้ั ไว้ และวธิ ดี �ำ เนนิ การ ไมเ่ ปน็ ล�ำ ดบั ข้นั ตอน การน�ำ เสนอและอภปิ ราย นำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรมได้ชัดเจน เพ่อื แลกเปลี่ยนความรใู้ น เป็นลำ�ดับขั้นตอน และมีส่วนร่วมใน หอ้ งเรยี น การอภิปรายแลกเปล่ียนความรู้ใน หอ้ งเรียน นำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรมได้ชัดเจน เปน็ ล�ำ ดบั ข้ันตอน แตไ่ มม่ ีส่วนร่วมใน การอภิปรายแลกเปล่ียนความรู้ใน หอ้ งเรยี น นำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรมไม่ชัดเจน ไมเ่ ปน็ ล�ำ ดบั ขน้ั ตอน และไมม่ สี ว่ นรว่ ม ในการอภิปรายแลกเปล่ียนความรู้ ในหอ้ งเรยี น สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 6 ภาคผนวก 49 2. เกณฑ์การให้คะแนนสำ�หรับรายงานผลการทำ�กิจกรรม 14.1 การแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ ีการทาง วิทยาศาสตรโ์ ดยใช้ความรทู้ างเคมี สง่ิ ท่ีตอ้ งการประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพ องคป์ ระกอบและเนือ้ หา ดี ของรายงาน รายงานขอ้ มลู ครบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด และหัวข้อรายงานมีประเด็นสำ�คัญ พอใช้ การใช้ภาษา ครบถ้วน ต้องปรับปรุง รายงานขอ้ มลู ครบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด การสง่ รายงาน แตบ่ างหวั ขอ้ ขาดประเด็นส�ำ คญั ดี พอใช้ รายงานขอ้ มลู ไมค่ รบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด ต้องปรับปรุง แ ล ะ หั ว ข้ อ ร า ย ง า น ส่ ว น ใ ห ญ่ ข า ด ประเด็นส�ำ คัญ ดี ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายและส่วนใหญ่ ต้องปรับปรุง สะกดค�ำ ไดถ้ กู ตอ้ ง ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย แต่สะกดคำ�ผิด เปน็ สว่ นใหญ่ ใชภ้ าษาทเ่ี ขา้ ใจยาก วกวน และสะกดค�ำ ผดิ เปน็ ส่วนใหญ่ สง่ ทนั ตามก�ำ หนดเวลา สง่ ไมท่ นั ตามก�ำ หนดเวลา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 6 50 3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนส�ำ หรบั แบบประเมนิ ระหวา่ งการท�ำ กจิ กรรม 14.2 การสรา้ งสายไฟแปง้ โดว์ ส่ิงท่ตี ้องการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคณุ ภาพ การระบปุ ญั หาและเงอ่ื นไข ดี ในการแก้ปัญหา ระบปุ ญั หาไดช้ ดั เจนและระบเุ งอ่ื นไข ไดค้ รบถว้ น พอใช้ การอธิบายเหตผุ ลในการ ต้องปรบั ปรงุ เลอื กสารเคมเี ติมลงใน ระบปุ ญั หาไดช้ ดั เจนแตร่ ะบเุ งอ่ื นไขไม่ แป้งโดว์ ครบถว้ น ดี ระบปุ ญั หาไมช่ ดั เจนและระบเุ งอ่ื นไข พอใช้ การออกแบบขน้ั ตอนการ ไม่ครบถว้ น ต้องปรบั ปรงุ ดำ�เนนิ การ อ ธิ บ า ย เ ห ตุ ผ ล ไ ด้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ การเลอื กสารเคมี ดี การด�ำ เนินการสร้าง พอใช้ สายไฟแป้งโดว์ อ ธิ บ า ย เ ห ตุ ผ ล ไ ด้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ตอ้ งปรบั ปรงุ การเลอื กสารเคมบี างสว่ น การน�ำ เสนอข้นั ตอน อ ธิ บ า ย เ ห ตุ ผ ล ไ ม่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ดี การสร้างสายไฟแป้งโดว์ การเลอื กสารเคมี ตอ้ งปรบั ปรุง วิธีดำ�เนินการเป็นลำ�ดับข้ันตอน และ ดี การอธิบายวิธดี �ำ เนนิ การชดั เจน ตอ้ งปรบั ปรงุ วิธีดำ�เนินการเป็นลำ�ดับข้ันตอน แต่ การอธบิ ายวิธดี ำ�เนนิ การไมช่ ัดเจน วธิ ดี �ำ เนนิ การไมเ่ ปน็ ล�ำ ดบั ขน้ั ตอน และ การอธบิ ายวธิ ดี ำ�เนนิ การไมช่ ัดเจน สรา้ งสายไฟแปง้ โดวต์ ามวธิ ดี �ำ เนนิ การ ทอ่ี อกแบบไว้ สรา้ งสายไฟแปง้ โดวโ์ ดยไมด่ �ำ เนนิ การ ตามวิธีด�ำ เนินการทอ่ี อกแบบไว้ นำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรมได้ชัดเจน เปน็ ล�ำ ดับขน้ั ตอน น�ำ เสนอผลการท�ำ กจิ กรรมไดไ้ มช่ ดั เจน ไมเ่ ปน็ ลำ�ดับขน้ั ตอน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 6 ภาคผนวก 51 4. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนส�ำ หรบั รายงานผลการท�ำ กิจกรรม 14.2 สายไฟแปง้ โดว์ ส่งิ ทต่ี ้องการประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพ องค์ประกอบและเน้อื หา ดี ของรายงาน รายงานขอ้ มลู ครบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด และหัวข้อรายงานมีประเด็นสำ�คัญ พอใช้ การสง่ รายงาน ครบถว้ น ตอ้ งปรบั ปรุง รายงานขอ้ มลู ครบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด แต่บางหัวข้อขาดประเด็นส�ำ คญั ดี ตอ้ งปรับปรุง ร า ย ง า น ข้ อ มู ล ไ ม่ ค ร บ ต า ม หั ว ข้ อ ที่ก�ำ หนดและหัวข้อรายงานส่วนใหญ่ ขาดประเดน็ ส�ำ คัญ สง่ ทนั ตามก�ำ หนดเวลา สง่ ไมท่ นั ตามก�ำ หนดเวลา 5. เกณฑ์การให้คะแนนส�ำ หรับแบบประเมินระหวา่ งการท�ำ กิจกรรม 14.3 การแก้ปัญหาโดย การบรู ณาการความรู้ สงิ่ ที่ตอ้ งการประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ การส�ำ รวจปญั หาและการ ดี ต้ังคำ�ถาม/การระบปุ ญั หา มขี อ้ มลู จากการส�ำ รวจสนบั สนนุ ใหเ้ หน็ ความส�ำ คญั ของปญั หา และตง้ั ค�ำ ถาม/ พอใช้ ระบปุ ญั หาไดส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ปญั หา ต้องปรบั ปรุง มขี อ้ มลู จากการส�ำ รวจสนบั สนนุ ใหเ้ หน็ ความส�ำ คญั ของปญั หา แตต่ ง้ั ค�ำ ถาม/ ระบปุ ญั หาไมส่ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ปญั หา ไมม่ ขี อ้ มลู จากการส�ำ รวจสนบั สนนุ ให้ เ ห็ น ค ว า ม สำ � คั ญ ข อ ง ปั ญ ห า แ ล ะ ตง้ั ค�ำ ถาม/ระบปุ ญั หาไมส่ อดคลอ้ งกบั สถานการณป์ ญั หา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 6 52 สง่ิ ทตี่ อ้ งการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดี การสบื คน้ และศกึ ษา มกี ารศกึ ษาคน้ ควา้ ความรทู้ างเคมแี ละ ข้อมูลทเ่ี ก่ยี วข้องกับ ความรหู้ รอื ขอ้ เทจ็ จรงิ อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง พอใช้ ปญั หา กบั ปญั หาและเพยี งพอในการแกป้ ญั หา ตอ้ งปรบั ปรงุ การก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงค์ มกี ารศกึ ษาคน้ ควา้ ความรทู้ างเคมแี ละ ดี และขอบเขตของงาน ความรหู้ รอื ขอ้ เทจ็ จรงิ อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง พอใช้ กบั ปญั หาแตไ่ มเ่ พยี งพอในการแกป้ ญั หา ต้องปรับปรงุ การออกแบบ มกี ารศกึ ษาคน้ ควา้ ความรทู้ างเคมแี ละ วธิ ดี �ำ เนินการแก้ปญั หา ความรหู้ รอื ขอ้ เทจ็ จรงิ อน่ื ๆ ทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ ง ดี กบั ปญั หาเปน็ สว่ นใหญ่ พอใช้ กำ�หนดวัตถุประสงค์ได้สอดคล้องกับ ตอ้ งปรับปรงุ คำ�ถาม/ปัญหา และขอบเขตของงาน สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ กำ�หนดวัตถุประสงค์ได้สอดคล้องกับ ค�ำ ถาม/ปญั หา แตข่ อบเขตของงานไม่ สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ กำ�หนดวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกับ คำ�ถาม/ปัญหา และขอบเขตของงาน ไมส่ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ วธิ ดี �ำ เนนิ การสอดคลอ้ งและครอบคลมุ กับวัตถุประสงค์และขอบเขตของงาน และเปน็ แนวทางทน่ี �ำ ไปสกู่ ารแกป้ ญั หาได้ วธิ ดี �ำ เนนิ การสอดคลอ้ งแตไ่ มค่ รอบคลมุ วัตถุประสงค์และขอบเขตของงาน ทง้ั หมด และเปน็ แนวทางทน่ี �ำ ไปสกู่ าร แกป้ ญั หาได้ วธิ ดี �ำ เนนิ การไมส่ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ และขอบเขตของงาน และไม่ใช่ แนวทางทน่ี �ำ ไปสกู่ ารแกป้ ญั หาได้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 6 ภาคผนวก 53 สงิ่ ทตี่ ้องการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั คุณภาพ การด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หา ดี ด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หาตามทไ่ี ดอ้ อกแบบ วิธีการไว้ และใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือ พอใช้ ในการด�ำ เนนิ การไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ต้องปรบั ปรุง ด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หาตามทไ่ี ดอ้ อกแบบ วิธีการไว้ แต่ใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือ ในการดำ�เนินการไม่ถูกต้องเหมาะสม ด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หาโดยไมเ่ ปน็ ไปตาม ข้นั ตอนท่ไี ด้ออกแบบวิธีการไว้และใช้ อุปกรณ์/เคร่ืองมือในการดำ�เนินการ ไมถ่ กู ตอ้ งเหมาะสม 6. เกณฑ์การให้คะแนนสำ�หรับรายงานผลการทำ�กิจกรรม 14.3 (รายงานผลการทำ�กิจกรรม 14.3 เปน็ กจิ กรรมที่ดำ�เนินการในกจิ กรรม 14.6) สงิ่ ท่ตี ้องการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ องค์ประกอบและความ รายงานขอ้ มลู ครบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด ดี เรียบรอ้ ยของรายงาน และเลม่ รายงานเรยี บรอ้ ย รายงานขอ้ มลู ครบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด พอใช้ บทคัดย่อ แตเ่ ลม่ รายงานไมเ่ รยี บรอ้ ย ต้องปรบั ปรงุ รายงานขอ้ มลู ไมค่ รบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด ดี และเลม่ รายงานไมเ่ รยี บรอ้ ย แสดงภาพรวมของงาน และเขยี นเปน็ พอใช้ ล�ำ ดบั ทท่ี �ำ ใหเ้ ขา้ ใจไดง้ า่ ย ต้องปรบั ปรุง แสดงภาพรวมของงานแต่การเขียน วกวนอา่ นเขา้ ใจไดย้ าก ไมแ่ สดงภาพรวมของงานและการเขยี น วกวน อา่ นเขา้ ใจไดย้ าก สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 6 54 สงิ่ ทต่ี ้องการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับคณุ ภาพ บทน�ำ และทฤษฎีหรอื ดี งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง บทนำ�แสดงให้เห็นความเป็นมาและ ความส�ำ คญั ของปญั หา และทฤษฎหี รอื พอใช้ วธิ ีดำ�เนินการ งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสว่ นใหญเ่ ปน็ ขอ้ มลู ทส่ี อดคลอ้ งกบั งานทท่ี �ำ ตอ้ งปรบั ปรงุ ดี บทน�ำ ไมแ่ สดงใหเ้ หน็ ความเปน็ มาและ ความส�ำ คญั ของปญั หา แตท่ ฤษฎหี รอื พอใช้ งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสว่ นใหญเ่ ปน็ ขอ้ มลู ต้องปรับปรงุ ทส่ี อดคลอ้ งกบั งานทท่ี �ำ หรอื บทนำ�แสดงให้เห็นความเป็นมาและ ความส�ำ คญั ของปญั หา แตท่ ฤษฎหี รอื งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสว่ นใหญเ่ ปน็ ขอ้ มลู ทไ่ี มส่ อดคลอ้ งกบั งานทท่ี �ำ บทน�ำ ไมแ่ สดงใหเ้ หน็ ความเปน็ มาและ ความสำ�คัญของปัญหา และทฤษฎี หรืองานวิจัยท่เี ก่ยี วข้องส่วนใหญ่เป็น ข้ อ มู ล ท่ี ไ ม่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ง า น ท่ี ทำ � วธิ กี ารทดลองหรอื วธิ กี ารแกป้ ญั หาเปน็ ลำ�ดับข้ันตอนชัดเจน และให้ข้อมูล เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ ครบถว้ น วธิ กี ารทดลองหรอื วธิ กี ารแกป้ ญั หาเปน็ ลำ�ดับข้ันตอน แต่ให้ข้อมูลเก่ียวกับ อุปกรณ์และเคร่อื งมือท่ใี ช้ไม่ครบถ้วน วิธีการทดลองหรือวิธีการแก้ปัญหา ไม่เป็นลำ�ดับข้นั ตอน และไม่ให้ข้อมูล เก่ียวกับอุปกรณ์และเคร่ืองมือท่ีใช้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 6 ภาคผนวก 55 สิ่งทต่ี อ้ งการประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคุณภาพ ดี ผ ล ก า ร ดำ � เ นิ น ก า ร แ ล ะ มกี ารจดั กระท�ำ ขอ้ มลู และวเิ คราะหแ์ ละ การอภิปรายขอ้ มูล อภิปรายผลการดำ�เนินการสอดคล้อง พอใช้ กบั วตั ถปุ ระสงค์ ตอ้ งปรบั ปรงุ มกี ารจดั กระท�ำ ขอ้ มลู แตว่ เิ คราะหแ์ ละ ดี อภปิ รายผลการด�ำ เนนิ การไมส่ อดคลอ้ ง กบั วตั ถปุ ระสงค์ พอใช้ หรอื ต้องปรบั ปรุง วเิ คราะหแ์ ละอภปิ รายผลการด�ำ เนนิ การ ได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ แต่ไม่มี ดี การจดั กระท�ำ ขอ้ มลู ต้องปรับปรุง ไมม่ กี ารจดั กระท�ำ ขอ้ มลู และวเิ คราะห์ แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย ผ ล ก า ร ดำ � เ นิ น ก า ร ไม่สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ การสรุปผล ส รุ ป ผ ล ดำ � เ นิ น ก า ร ส อ ด ค ล้ อ ง แ ล ะ ครอบคลมุ วตั ถปุ ระสงคท์ ง้ั หมด สรุปผลดำ�เนินการสอดคล้องแต่ไม่ ครอบคลุมวัตถุประสงค์ทั้งหมด การส่งรายงาน สรุปผลดำ�เนินการไม่สอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงค์ หรอื ไมม่ กี ารสรปุ ผล สง่ ทนั ตามก�ำ หนดเวลา สง่ ไมท่ นั ตามก�ำ หนดเวลา สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 6 56 7. เกณฑก์ ารให้คะแนนส�ำ หรบั รายงานผลการทำ�กจิ กรรม 14.5 การจดั ทำ�และน�ำ เสนอขอ้ มูล ในโปสเตอร์ สงิ่ ทต่ี อ้ งการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ เน้ือหาของรายงาน มีข้อมูลท่ีผ่านการจัดกระทำ�ให้อยู่ใน ดี รปู แบบทเ่ี หมาะสมครบ 3 ชดุ การส่งรายงาน มีข้อมูลท่ีผ่านการจัดกระทำ�ให้อยู่ใน พอใช้ รปู แบบทเ่ี หมาะสม 2 ชดุ ต้องปรับปรุง มีข้อมูลท่ผี ่านการจัดกระทำ�ให้อย่ใู น รปู แบบทเ่ี หมาะสม 1 ชดุ หรอื ไมม่ เี ลย ดี สง่ ทนั ตามก�ำ หนดเวลา ตอ้ งปรับปรุง สง่ ไมท่ นั ตามก�ำ หนดเวลา 8. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนโปสเตอรน์ �ำ เสนอผลงานจากกจิ กรรม 14.3 (โปสเตอร์น�ำ เสนอผลงาน จากกจิ กรรม 14.3 เป็นกจิ กรรมที่ด�ำ เนนิ การในกิจกรรม 14.6) ส่ิงทต่ี อ้ งการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั คุณภาพ ขนาดและองค์ประกอบ ดี ของโปสเตอร์ ขนาดโปสเตอร์เป็นไปตามท่ีกำ�หนด และมขี อ้ มลู ครบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด พอใช้ ขนาดโปสเตอรเ์ ปน็ ไปตามทก่ี �ำ หนด แต่ ตอ้ งปรับปรุง มีข้อมูลไม่ครบตามหัวข้อท่ีกำ�หนด หรอื มีข้อมูลครบตามหัวข้อท่ีกำ�หนด แต่ ขนาดโปสเตอรไ์ มเ่ ปน็ ไปตามทก่ี �ำ หนด ขนาดโปสเตอรไ์ มเ่ ปน็ ไปตามทก่ี �ำ หนด และมขี อ้ มลู ไมค่ รบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 6 ภาคผนวก 57 สง่ิ ทต่ี ้องการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คุณภาพ เนือ้ หาในโปสเตอร์ ดี เน้ือหาส่วนใหญ่มีความถูกต้องและ การใช้ภาษา สมบรู ณ์ พอใช้ การสง่ โปสเตอร์ เน้ือหาส่วนใหญ่มีความถูกต้องแต่ ตอ้ งปรบั ปรงุ ไมส่ มบรู ณ์ ดี เนอ้ื หาสว่ นใหญไ่ มถ่ กู ตอ้ งและไมส่ มบรู ณ์ พอใช้ ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่ายและส่วนใหญ่ ตอ้ งปรบั ปรุง สะกดค�ำ ไดถ้ กู ตอ้ ง ดี ใ ช้ ภ า ษ า ท่ี เ ข้ า ใ จ ง่ า ย แ ต่ ส่ ว น ใ ห ญ่ ต้องปรบั ปรุง สะกดค�ำ ไมถ่ กู ตอ้ ง ใชภ้ าษาทเ่ี ขา้ ใจยาก วกวน และสว่ นใหญ่ สะกดคำ�ไมถ่ กู ตอ้ ง สง่ ทนั ตามก�ำ หนดเวลา สง่ ไมท่ นั ตามก�ำ หนดเวลา 9. เกณฑ์การให้คะแนนสไลด์ประกอบการบรรยายผลงานจากกิจกรรม 14.3 (สไลด์ประกอบ การบรรยายผลงานจากกจิ กรรม 14.3 เปน็ กิจกรรมที่ด�ำ เนนิ การในกจิ กรรม 14.6) สิง่ ที่ตอ้ งการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคุณภาพ เนอ้ื หาในสไลด์ แสดงประเดน็ ส�ำ คญั ครบถว้ น และเนอ้ื หา ดี สว่ นใหญม่ คี วามถกู ตอ้ ง พอใช้ แสดงประเด็นสำ�คัญไม่ครบถ้วนแต่ เนอื้ หาสว่ นใหญม่ ีความถูกต้อง ตอ้ งปรับปรุง แสดงประเด็นสำ�คัญไม่ครบถ้วนและ เน้ือหาส่วนใหญ่ไม่ถกู ต้อง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เลม่ 6 58 ส่ิงทตี่ ้องการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ การใช้ภาษา ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย และส่วนใหญ่ ดี การออกแบบสไลด์ สะกดคำ�ไดถ้ ูกตอ้ ง พอใช้ การสง่ สไลด์ ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย แต่สะกดคำ�ผิด ตอ้ งปรับปรุง เปน็ สว่ นใหญ่ ใชภ้ าษาทเ่ี ขา้ ใจยาก วกวน และสะกดค�ำ ดี ผดิ เปน็ สว่ นใหญ่ ใ ช้ ข น า ด แ ล ะ รู ป แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร ท่ี พอใช้ เหมาะสม จัดวางข้อความและภาพใน สไลดไ์ ดเ้ หมาะสมท�ำ ความเขา้ ใจไดง้ า่ ย ต้องปรบั ปรงุ ใ ช้ ข น า ด แ ล ะ รู ป แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร ที่ เหมาะสม แตจ่ ดั วางขอ้ ความและภาพ ดี ในสไลดไ์ มเ่ หมาะสมท�ำ ความเขา้ ใจไดย้ าก ตอ้ งปรบั ปรงุ ใช้ขนาดและรูปแบบตัวอักษรท่ีไม่ ระดับคุณภาพ เหมาะสม จดั วางขอ้ ความและภาพใน ดี สไลดไ์ มเ่ หมาะสมท�ำ ความเขา้ ใจไดย้ าก พอใช้ สง่ ทนั ตามก�ำ หนดเวลา ตอ้ งปรับปรุง สง่ ไมท่ นั ตามก�ำ หนดเวลา 10. เกณฑ์การให้คะแนนการพดู นำ�เสนอผลการท�ำ กิจกรรม 14.3 สงิ่ ท่ีต้องการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน ลักษณะการพดู และ ท่าทางในการพดู พูดจากความเข้าใจโดยไม่อ่านสไลด์/ โปสเตอร์ สบตาผู้ฟัง และใช้ท่าทาง ประกอบการบรรยายทเ่ี หมาะสม พูดจากความเข้าใจโดยไม่อ่านสไลด์/ โปสเตอร์ สบตาผ้ฟู ัง แต่ใช้ท่าทาง ประกอบการบรรยายไมเ่ หมาะสม อ่านสไลด์/โปสเตอร์ ไม่สบตาผู้ฟัง และใช้ท่าทางประกอบการบรรยาย ไม่เหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 6 ภาคผนวก 59 ส่งิ ทตี่ อ้ งการประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพ การออกเสียง ดี ออกเสียงได้ชัดเจน เว้นวรรคตอนและ ระยะเวลา จงั หวะไดเ้ หมาะสม พอใช้ การแต่งกาย ออกเสยี งไดช้ ดั เจน แตเ่ วน้ วรรคตอนและ จงั หวะไมเ่ หมาะสม ตอ้ งปรบั ปรุง ออกเสยี งไมช่ ดั เจน เวน้ วรรคตอนและ จงั หวะไมเ่ หมาะสม ดี พดู อยใู่ นเวลาทก่ี �ำ หนด ต้องปรบั ปรงุ พดู เกนิ เวลาทก่ี �ำ หนด แต่งกายสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ ดี แต่งกายไม่สุภาพ ไม่เหมาะสมกับ ตอ้ งปรบั ปรงุ กาลเทศะ 11. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนรายงานผลการสบื คน้ จากกจิ กรรม 14.7 สบื คน้ ขอ้ มลู งานประชมุ วชิ าการ สง่ิ ทต่ี อ้ งการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คุณภาพ เนือ้ หาของรายงาน ดี มขี อ้ มลู งานประชมุ วชิ าการอยา่ งนอ้ ย 2 การสง่ รายงาน การประชมุ และมเี นอ้ื หาครบตามหวั ขอ้ พอใช้ ทก่ี �ำ หนด ตอ้ งปรับปรุง มขี อ้ มลู งานประชมุ วชิ าการอยา่ งนอ้ ย 2 การประชมุ แตม่ เี นอ้ื หาไมค่ รบตามหวั ขอ้ ดี ทก่ี �ำ หนด ตอ้ งปรบั ปรุง มขี อ้ มลู งานประชมุ วชิ าการเพยี ง 1 การ ป ร ะชุ ม แ ล ะมี เน้ือหา ไม่คร บตา ม หวั ข้อที่กำ�หนด สง่ ทนั ตามก�ำ หนดเวลา สง่ ไมท่ นั ตามก�ำ หนดเวลา สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 6 60 12. เกณฑ์การใหค้ ะแนนรายงานผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการจากกิจกรรม 14.8 การเขา้ รว่ ม และการสรปุ รายงานการเขา้ ประชุมวชิ าการ สง่ิ ทีต่ อ้ งการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ระดบั คณุ ภาพ องคป์ ระกอบและเนอ้ื หา ดี ของรายงาน รายงานข้อมูลครบตามหัวข้อท่กี ำ�หนด และหัวข้อรายงานมีประเด็นสำ�คัญ พอใช้ การสง่ รายงาน ครบถว้ น ต้องปรบั ปรุง รายงานข้อมูลครบตามหัวข้อท่กี ำ�หนด ดี แต่บางหวั ข้อขาดประเดน็ สำ�คัญ ต้องปรับปรงุ รายงานขอ้ มลู ไมค่ รบตามหวั ขอ้ ทก่ี �ำ หนด และหัวข้อรายงานส่วนใหญ่ขาด ประเดน็ ส�ำ คญั สง่ ทนั ตามก�ำ หนดเวลา สง่ ไมท่ นั ตามก�ำ หนดเวลา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 6 บรรณานกุ รม 61 บรรณานกุ รม กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร. (2560). ฝนหลวงศาสตรพ์ ระราชา: การถอดบทเรยี นการปฏบิ ตั กิ าร ฝนหลวง. สืบค้นเม่ือ 18 กรกฎาคม 2562, จาก http://royalrain.go.th/royalrain/uploads/ Academic/AAR_2560_0.pdf. กระทรวงสาธารณสุข. (2560). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง กำ�หนดสารปอ้ งกันแสงแดด ทอี่ าจใชเ้ ปน็ ส่วนผสมในการผลติ เครอื่ งสำ�อาง พ.ศ. ๒๕๖๐. สบื คน้ เมื่อ 16 กันยายน 2562, จาก http://www.fda.moph.go.th/sites/Cosmetic/. ศาสตราจารย์ พญ.จรยิ า เลิศอรรฆยมณ.ี (2562). เทคนิคการนำ�เสนอที่ดี (Good Presentation). เวชบันทกึ ศริ ิราช. มกราคม-เมษายน 2552. สืบค้นเมอ่ื 18 กรกฎาคม 2562, จาก https:// www.tci-thaijo.org›index.php›simedbull›article›download. ศาสตราจารยก์ ิตตคิ ณุ ดร.นงลักษณ์ วริ ชั ชัย. (2562). เทคนคิ การน�ำ เสนอผลงานวิจัย. สืบคน้ เม่ือ 18 กรกฎาคม 2562, จาก http://eestaff.kku.ac.th/~virasit/research-methodology/ presentation%20technique.pdf. รองศาสตราจารยน์ ภาลยั สวุ รรณธาดา รองศาสตราจารย์ธดิ า โมสกิ รัตน์ และ ศาสตราจารย์ ดร.สมุ าลี สงั ข์ศรี. (2553). การเขียนผลงานวิชาการและบทความ. พมิ พค์ รั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ : ห้างหุ้นสว่ นจ�ำ กดั ภาพพมิ พ์. รองศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี ศรสี ขุ วัฒนานันท.์ (2562). การน�ำ เสนอผลงานวจิ ัยอย่างมี ประสิทธภิ าพ. สืบค้นเมอ่ื 18 กรกฎาคม 2562, จากhttp://rlc.nrct.go.th/ewtadmin/ ewt/nrct_museum/ewt_dl.php?nid=1103. ศูนยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละคอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาติ. (2562). การประกวดโครงงานของนกั วิทยาศาสตรร์ นุ่ เยาว์ ครัง้ ท่ี 21. สบื คน้ เม่อื 20 กันยายน 2562, จาก http://fic.nectec. or.th/ysc21_NEWS01. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). การประชมุ วชิ าการวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยเี พอ่ื เยาวชน ครง้ั ท่ี 13. สบื คน้ เมอ่ื 19 กนั ยายน 2562, จาก http://dpstcenter.org/ stt4youth/. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพมิ่ เติม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี เล่ม 1. พิมพ์ครงั้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สำ�นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาต.ิ (2562). การประชมุ วิชาการประจ�ำ ปี สวทช. คร้ังท่ี 15. สบื ค้นเมอื่ 19 กนั ยายน 2562, จาก https://www.nstda.or.th/nac/2019/. สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บรรณานุกรม เคมี เลม่ 6 62 พญ.สุธาพร ลำ�้ เลศิ กุล. (2561). พดู ดว้ ยภาพ พรีเซนตอ์ ยา่ งไรให้ถูกใจคนฟงั by BetterPitch. กรุงเทพฯ: บริษทั ปญั ญามิตร การพิมพ์ จำ�กดั . Concordia University. (2014). Guide to American Medical Association (AMA) Manual of Style, 10th Edition. Retrieved September 20, 2019, from https://www.lynch- burg.edu/wp-content/uploads/citation-style/Guide-to-AMA-Manual-of-Style.pdf. Earth eclipse. (2019). What is the Ozone Layer?. Retrieved June 28, 2019, from https:// www.eartheclipse.com/environment/causes-effects-solutions-of-ozone-layer-depletion. html. Janet, S.D. & Leah, S. & Paula, M.B. (2006). The ACS Style Guide: Chapter 14 References. Retrieved September 17, 2019, from https://pubs.acs.org/doi/pdf/10.1021/bk- 2006-STYG.ch014. Japanese Standards Association. (2003). Japanese Industrial Standard: JIS A 5905:2003. Retrieved September 9, 2019, from https://archive.org/details/jis.a.5905.e.2003/ mode/2up. Singh, S.N. (2002). Blowing Agents for Polyurethane Foams. Retrieved July 19, 2019, from https://books.google.co.th/. U.S. Food and Drug Administration. (2019). CFR - Code of Federal Regulations Title 21. Retrieved September 18, 2019, from https://www.accessdata.fda.gov/scripts/ cdrh/cfdocs/cfcfr/CFRSearch.cfm?fr=201.327. UCOL Student Experience Team (SET) Library and Learning Services. (2015). A guide to the APA, 6th ed. Referencing style. Retrieved September 18, 2019, from https://student.belpark.sun.ac.za/Documents/APA_guide_2015.pdf. United States Environmental Protection Agency. Health and Environmental Effects of Ozone Layer Depletion. Retrieved June 28, 2019, from https://www.epa.gov/ ozone-layer-protection/health-and-environmental-effects-ozone-layer-depletion. สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 6 คณะกรรมการจดั ท�ำ คมู่ ือครู 63 คณะกรรมการจดั ทำ�ค่มู อื ครู รายวิชาเพิม่ เตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เคมี เลม่ 6 ตามผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 คณะทีป่ รกึ ษา ผ้อู ำ�นวยการสถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละ ศ.ดร.ชูกิจ ลมิ ปจิ �ำ นงค ์ เทคโนโลยี ผู้ชว่ ยผอู้ �ำ นวยการสถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์ ดร.วนดิ า ธนประโยชน์ศกั ด์ิ และเทคโนโลยี คณะผจู้ ัดทำ�คมู่ อื ครู รายวิชาเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เคมี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 เลม่ 6 ศ.ดร.มงคล สุขวฒั นาสนิ ิทธ์ิ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย นายณรงคศ์ ลิ ป์ ธปู พนม ผเู้ ช่ียวชาญพเิ ศษอาวโุ ส ผศ.ดร.จนิ ดา แต้มบรรจง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวศศนิ ี อังกานนท์ ผู้ช�ำ นาญ นางกมลวรรณ เกียรตกิ วินกุล สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสุทธาทพิ ย์ หวงั อำ�นวยพร ผู้ชำ�นาญ นางสาวศิริรตั น์ พรกิ สี สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.สนธิ พลชยั ยา ผู้ชำ�นาญ สาขาเคมีและชวี วทิ ยา ดร.วชั ระ เตยี ทะสนิ ธ์ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญ สาขาเคมแี ละชวี วิทยา สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญ สาขาเคมแี ละชีววทิ ยา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ �ำ นาญ สาขาเคมแี ละชีววิทยา สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักวชิ าการ สาขาเคมแี ละชีววิทยา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คณะกรรมการจดั ทำ�คมู่ ือครู เคมี เล่ม 6 64 คณะผูร้ ่วมพจิ ารณาคมู่ ือครู รายวิชาเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เล่ม 6 (ฉบับรา่ ง) ศ.ดร.มงคล สขุ วัฒนาสินทิ ธิ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผศ.ดร.จรรยา ดาสา มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ นางสาวมุทติ า กกแก้ว โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ิศ บดินทรเดชา กรงุ เทพมหานคร นางรัตนาพรรณ อตุ มมี ง่ั โรงเรียนศรสี วัสด์วิ ทิ ยาคาร จ.นา่ น นางปิยพร ณ ลำ�ปาง โรงเรียนดำ�รงราษฎรส์ งเคราะห์ จ.เชยี งราย นายสธุ ี ผลดี โรงเรียนศรบี ณุ ยานนท์ จ.นนทบรุ ี นายธีรพล ชนะภยั โรงเรียนสตรีทงุ่ สง จ.นครศรีธรรมราช นายประเสริฐ ทรพั ยม์ าก โรงเรยี นพระปฐมวิทยาลัย จ.นครปฐม นางสาวณัฏฐิกา งามกจิ ภญิ โญ นกั วชิ าการอาวุโส สาขาเคมีและชีววิทยา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.ปุณิกา พระพทุ ธคณุ นกั วิชาการ สาขาเคมแี ละชีววิทยา สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายกฤชพล นิตินยั วนิ จิ นกั วชิ าการ สาขาเคมแี ละชีววทิ ยา สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะบรรณาธิการ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ศ.ดร.มงคล สุขวัฒนาสนิ ิทธิ์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รศ.ดร.ชาตรี ฝ่ายคำ�ตา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผศ.ดร.จรรยา ดาสา ผเู้ ชี่ยวชาญพิเศษอาวุโส นายณรงคศ์ ิลป์ ธูปพนม สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผูช้ �ำ นาญ ผศ.ดร.จินดา แตม้ บรรจง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ �ำ นาญ สาขาเคมีและชีววิทยา นางกมลวรรณ เกียรตกิ วนิ กลุ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี



สถาบนั สง� เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ� ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook