Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 ล.1

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 ล.1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 11:21:03

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 ล.1
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 ล.1,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว 60 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพิม่ เติมในการอภปิ รายเพ่ือให้ได้แนวคำตอบทีถ่ ูกตอ้ ง 10. นักเรียนอา่ น สง่ิ ท่ีไดเ้ รียนรู้ และเปรยี บเทยี บกับขอ้ สรปุ ของตนเอง 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนร่วมกันอภิปราย เกีย่ วกับคำถามทน่ี ำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 อะไรบา้ งและในขัน้ ตอนใด การเตรียมตัวลว่ งหนา้ สำหรบั ครเู พอ่ื จดั การเรียนรใู้ นคร้ังถัดไป ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำกิจกรรมที่ 2.3 สร้างแบบจำลองอธิบายกระบอกปริศนา ไดอ้ ยา่ งไร ครูควรเตรียมกระบอกปริศนาเพื่อให้นักเรียนสังเกตจำนวน 1 กระบอกต่อกลุ่มโดย ข้นั ตอนการทำกระบอกปรศิ นาเปน็ ดงั น้ี 1. เจาะรู 4 รูทด่ี ้านข้างของแกน 2. ใช้ยางรดั ของรัดตรงกลางเสน้ เชือกทงั้ สอง กระดาษเย่อื เส้นเขา้ ดว้ ยกันอย่างหลวม ๆ จากนั้นร้อยปลาย เชือกท้ังสองเสน้ ผ่านรูทัง้ สท่ี เี่ จาะไว้ดา้ นขา้ งของ แกนกระดาษเยื่อ 3. ปดิ ปลายแกนของกระดาษเยื่อทั้งสองดา้ นด้วยวัสดุทึบ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

61 คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรูส้ ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม ฝกึ และอธิบายทักษะการหาความสมั พันธ์ระหวา่ งสเปซกับเวลา ผลการสังเกตข้ึนอยู่กับผลท่ีสงั เกตไดจ้ รงิ ของนกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้สิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว 62 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

63 คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ ิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว คำตอบข้ึนอยู่กบั ผลการอภิปรายของนักเรยี น เช่น พื้นท่สี ีของลูกอมในน้ำจะ เพ่มิ ขึ้นเมื่อเวลาผา่ นไป เมื่อเวลาผ่านไป การครอบครองพื้นทีส่ ีของลูกอมทอี่ ยใู่ นน้ำ จะมีการแผ่ ขยายพืน้ ท่เี พ่ิมขน้ึ เร่ือย ๆ การใชท้ กั ษะการหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกับเวลา ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรสู้ ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว 64 เม่ือเวลาผ่านไป สีของลูกอมท่ีอยูใ่ นนำ้ จะแผ่ขยายพื้นที่เพ่ิมขน้ึ เรือ่ ย ๆ การสงั เกตและบอกความสัมพนั ธข์ องการครอบครองพ้นื ทส่ี ีของลูกอมกับ เวลา เป็นการหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปซกบั เวลา สิ่งตา่ ง ๆ มกี ารครอบครองพ้ืนทเี่ ปลย่ี นไปเม่อื เวลาผา่ นไป ความสามารถใน การพิจารณาถงึ ความสัมพันธ์ระหวา่ งการครอบครองพืน้ ทขี่ องวัตถกุ ับเวลา จดั เป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกบั เวลา คำถามของนักเรยี นที่ต้ังตามความอยากรู้ของตนเอง สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

65 คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนร้สู ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรู้ของนักเรยี นทำได้ ดังนี้ 1. ประเมนิ ความรู้เดิมจากการอภปิ รายในชนั้ เรยี น 2. ประเมนิ การเรียนรจู้ ากคำตอบของนักเรยี นระหวา่ งการจดั การเรยี นรแู้ ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนกั เรยี น การประเมนิ จากการทำกจิ กรรมท่ี 2.2 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั เวลาเป็นอย่างไร รหัส สง่ิ ท่ปี ระเมิน ระดับ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S5 การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปซกบั เวลา S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มูล S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การส่อื สาร C5 ความรว่ มมอื รวมคะแนน ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ิง่ ต่าง ๆ รอบตวั 66 ตาราง การประเมินและรายการประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะ เกณฑก์ ารประเมิน กระบวนการทาง รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) วิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต การสังเกตการ สามารถบอกการ สามารถบอกการ สามารถบอกการ เปลยี่ นแปลงสีของนำ้ เปลี่ยนแปลงสีของนำ้ เปลยี่ นแปลงสขี องน้ำเมอ่ื เปลี่ยนแปลงสขี องนำ้ เม่อื วางลูกอมในน้ำ เมอื่ วางลูกอมในนำ้ ต้ังแต่ วางลกู อมในน้ำตั้งแต่ เม่ือวางลูกอมในนำ้ เรมิ่ ตน้ จนครบ 5 นาทีได้ เรม่ิ ตน้ จนครบ 5 นาทีได้ ต้ังแตเ่ รม่ิ ต้นจนครบ ถูกต้องดว้ ยตนเอง ถกู ต้องจากการชีแ้ นะ 5 นาทีได้ถกู ต้อง ของครหู รอื ผู้อ่นื บางส่วน S5 การหา การบอกความสัมพนั ธ์ สามารถบอกได้ถูกตอ้ ง สามารถบอกได้วา่ พื้นที่ สามารถบอกได้ว่า ความสมั พนั ธ์ ระหว่างการ ด้วยตนเองว่าพืน้ ท่ีของ ของน้ำท่มี สี ีของลกู อมจะ พนื้ ทีข่ องนำ้ ที่มสี ี ระหวา่ งสเปซกับ เปล่ียนแปลงของพน้ื ท่ี นำ้ ทมี่ ีสขี องลูกอมจะ เวลา ทมี่ ีสใี นนำ้ เมื่อวาง เพม่ิ ขน้ึ เมือ่ เวลาผ่านไป เพมิ่ ขึน้ เมือ่ เวลาผ่านไป เปลี่ยนแปลงแต่ไม่ จากการช้ีแนะของครู สามารถบอก ลูกอมกับเวลาทีผ่ ่านไป หรือผอู้ ่นื ความสมั พนั ธ์ของ พ้ืนทีข่ องน้ำท่ีมสี กี ับ เวลาแม้จะได้รบั การ ชีแ้ นะจากครูหรือ ผ้อู น่ื S8 การลง การลงความเหน็ สามารถลงความเห็น สามารถลงความเหน็ สามารถลงความเหน็ ความเห็นจาก เก่ียวกบั การ จากขอ้ มูลไดอ้ ยา่ ง จากข้อมูลได้อยา่ ง จากข้อมลู ได้ถกู ต้อง ขอ้ มูล เปลย่ี นแปลงสีของน้ำ ถกู ตอ้ งด้วยตนเองว่า ถกู ตอ้ ง จากการช้ีแนะ เพียงบางส่วน จาก กับพื้นทที่ ่ีมสี ีของลูก บรเิ วณท่มี ีการ ของครหู รือผอู้ น่ื วา่ การช้ีแนะของครหู รอื อมที่เวลาต่าง ๆ เปลยี่ นแปลงสีของลกู บรเิ วณท่มี ีการ ผอู้ ื่นวา่ บรเิ วณทมี่ ีการ อมท่ีเวลาตา่ ง ๆ คือสเป เปล่ยี นแปลงสีของลกู เปลยี่ นแปลงสีของ ซของสีของลูกอม ณ อมที่เวลาตา่ ง ๆ คอื สเป ลกู อมที่เวลาต่าง ๆ เวลานั้น ๆ ซของสขี องลูกอม ณ คือสเปซของสีของ เวลานั้น ๆ ลกู อม ณ เวลานน้ั ๆ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

67 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนร้สู ิง่ ต่าง ๆ รอบตัว ทกั ษะ รายการประเมิน ดี (3) เกณฑ์การประเมิน ควรปรบั ปรงุ (1) กระบวนการทาง การตคี วามหมายข้อมูล สามารถตีความหมาย พอใช้ (2) สามารถตคี วามหมาย จากการสงั เกตการ ข้อมูลจากการสังเกต ข้อมูลจากการสังเกต วทิ ยาศาสตร์ เปลย่ี นแปลงของน้ำ เกี่ยวกับเปลยี่ นแปลงของ สามารถตีความหมาย เกย่ี วกบั การ S13 การ เมื่อวางลูกอมในน้ำ น้ำเมื่อวางลูกอมในน้ำ ข้อมลู จากการสังเกต เปล่ียนแปลงของนำ้ เมื่อ ตีความหมาย และลงข้อสรปุ ทกั ษะ และลงข้อสรุปได้วา่ ทักษะ เก่ียวกับเปลย่ี นแปลงของ วางลกู อมในนำ้ และลง ข้อมูลและลง การหาความสมั พนั ธ์ การหาความสมั พันธ์ นำ้ เมื่อวางลูกอมในน้ำ ข้อสรุปไดบ้ างส่วนท้ังน้ี ขอ้ สรปุ ระหวา่ งสเปซกับเวลา ระหว่างสเปซกับเวลาเป็น และลงข้อสรปุ ได้วา่ ทักษะ โดยอาศัยการชแ้ี นะจาก ความสามารถในการ การหาความสมั พนั ธ์ ครหู รอื ผู้อื่นวา่ ทกั ษะ พจิ ารณาความสัมพันธ์ ระหว่างสเปซกับเวลาเป็น การหาความสัมพันธ์ ระหว่างขนาดหรือพน้ื ที่ ความสามารถในการ ระหว่างสเปซกับเวลา ของสิ่งต่าง ๆ กับเวลา พิจารณาความสัมพันธ์ เปน็ ความสามารถใน ระหว่างขนาดหรือพ้ืนท่ี การพจิ ารณา ของสง่ิ ต่าง ๆ กับเวลา ความสัมพันธ์ระหว่าง ขนาดหรือพ้ืนทขี่ องสิ่ง ตา่ ง ๆ กบั เวลา ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมนิ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) เกณฑก์ ารประเมนิ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 พอใช้ (2) C4 การสือ่ สาร การนำเสนอผลการ สามารถวาดภาพแสดง สามารถวาดภาพแสดง สามารถวาดภาพแสดง C5 ความร่วมมือ สงั เกตลักษณะพน้ื ที่ ลกั ษณะของพ้นื ที่ท่ีมสี ีของ ท่ีมีสโี ดยการวาด ลกั ษณะของพื้นที่ท่ีมีสี ลักษณะของพนื้ ท่ีที่มีสี ลูกอมเม่ือเวลาผ่านไปได้ ภาพ อย่างถูกต้องเพียงบางสว่ น ของลกู อมเม่ือเวลา ของลูกอมเมื่อเวลาผา่ น แม้วา่ จะได้รับการชีแ้ นะ จากครูหรอื ผู้อน่ื ผ่านไปได้อย่างถูกต้อง ไปได้อย่างถกู ต้องจาก ดว้ ยตนเอง การชแ้ี นะของครูหรือ ผอู้ ่ืน การทำงานร่วมกบั สามารถทำงานรว่ มกับ สามารถทำงานรว่ มกบั สามารถทำงานร่วมกบั ผอู้ ื่น ผู้อืน่ ในการทำ ผอู้ ่นื ในการทำกิจกรรม ผูอ้ ื่นในการทำกิจกรรม ในการทำกจิ กรรม รวมท้ัง กิจกรรมรวมทั้ง รวมทงั้ ยอมรับความ รวมท้งั ยอมรับความ ยอมรบั ความคิดเห็นของ ยอมรบั ความคดิ เห็น คิดเห็นของผู้อ่ืนตั้งแต่ คดิ เหน็ ของผูอ้ ืน่ ในบาง ผู้อืน่ บางช่วงเวลาท่ีทำ ของผู้อ่ืน เร่ิมตน้ จนสำเร็จ ชว่ งเวลาทีท่ ำกิจกรรม กจิ กรรม ทงั้ น้ีตอ้ งอาศัย การกระตนุ้ จากครูหรอื ผู้อน่ื ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรูส้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว 68 กจิ กรรมที่ 2.3 สร้างแบบจำลองอธิบายกระบอกปริศนาไดอ้ ย่างไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้ฝึกและอธิบายทักษะการ สรา้ งแบบจำลอง เวลา 2 ชั่วโมง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ฝึกและอธบิ ายทกั ษะการสรา้ งแบบจำลอง วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม 1 อัน สือ่ การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1 กระบอก สง่ิ ทคี่ รตู อ้ งเตรียม/กลุ่ม 1 อนั 1. หนังสอื เรียน ป.3 เลม่ 1 หนา้ 25-27 1. แกนของมว้ นกระดาษเยอื่ 2 เส้น 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.3 เล่ม 1 หนา้ 25-28 2. กระบอกปริศนา 1 วง 3. กรรไกร 4. เชือก 5. ยางรดั ของ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ S14 การสรา้ งแบบจำลอง ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ C4 การสื่อสาร C5 ความรว่ มมือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

69 ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรูส้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตัว แนวการจดั การเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูทบทวนความรพู้ ื้นฐานเกยี่ วกับแบบจำลองโดยใช้คำถามดังต่อไปนี้ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ 1.1 แบบจำลองคืออะไร (แบบจำลองคือสิ่งที่ใช้แทนวัตถุหรือ แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ท่เี กิดขน้ึ จรงิ ) จากการทำกจิ กรรม 1.2 ภาพวาดเป็นแบบจำลองได้เพราะเหตุใด (ภาพวาดเป็น แ บ บ จ ำ ล อ ง เ พ ร า ะ เ ป ็ น ส ิ ่ ง ท ี ่ ส ร ้ า ง ข ึ ้ น เ พ ื ่ อ แ ท น ว ั ต ถ ุ ห รื อ ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ที่เกดิ ข้นึ จรงิ ) 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการสร้างแบบจำลองโดยใช้คำถาม ตอ่ ไปนี้ 2.1 แบบจำลองสามารถเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง) 2.2 เราใช้แบบจำลองเพื่อจุดประสงค์ใด (นักเรียนตอบตามความ เขา้ ใจ) ครูเชื่อมโยงความรู้ของนกั เรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 2.3 กิจกรรมนี้นักเรียน จะได้เรยี นเกีย่ วกับการสรา้ งแบบจำลองเพ่อื อธิบายกระบอกปริศนา 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจเกยี่ วกบั จดุ ประสงคใ์ นการทำกจิ กรรม โดยใช้ คำถาม ดังน้ี 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (ทักษะการสร้าง แบบจำลอง) 3.2 นักเรยี นจะไดเ้ รยี นร้เู รอื่ งน้ดี ว้ ยวิธใี ด (การสังเกตและฝกึ ทกั ษะ) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (สามารถฝึกและอธิบาย ทักษะการสร้างแบบจำลอง) 4. นักเรยี นบนั ทกึ จดุ ประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา้ 25 และอ่าน ส่งิ ที่ต้องใชใ้ นการทำกิจกรรม จากนนั้ ครนู ำกระบอกปรศิ นามาแสดงให้ นักเรยี นดู 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านท่ี เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความ เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำ กิจกรรม โดยใช้คำถามดงั น้ี ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั 70 5.1 นักเรียนต้องสังเกตอะไร (สังเกตการเปลี่ยนแปลงเมื่อดึงปลาย ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เชอื กท่ีกระบอกปริศนา) และทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ี 5.2 หลังจากดึงปลายเชือกที่กระบอกปริศนาแล้ว นักเรียนต้องทำ นักเรียนจะได้ฝึกจากการทำกิจกรรม อย่างไร (อภิปรายเกี่ยวกับการร้อยเชือกในกระบอกปริศนาว่ามี ลกั ษณะการรอ้ ยเชอื กเปน็ อยา่ งไร พร้อมทัง้ วาดรูปแสดงลกั ษณะ S1 สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อดึงเชือก การรอ้ ยเชือกและระบชุ อ่ื อปุ กรณท์ ่ใี ช้ภายในกระบอกปริศนา) ของกระบอกปรศิ นา 5.3 หลังจากการอภิปรายลักษณะการร้อยเชือกภายในกระบอก S8 ลงความเห็นเกี่ยวกับลักษณะ ปริศนาแล้วนักเรียนต้องทำอย่างไรต่อไป (สร้างแบบจำลองตาม การร้อยเชือกภายในกระบอก รปู ทวี่ าดไวโ้ ดยใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ท่กี ำหนดให้) ปรศิ นา 5.4 หลังจากสร้างแบบจำลองตามรูปที่วาดไว้แล้วนักเรียนต้องทำ S14 การสร้าง การใช้ และการ อย่างไร (ทดสอบและปรับปรุงแบบจำลองที่สร้างขึ้น ให้ ปรบั ปรุงแบบจำลอง เหมอื นกับกระบอกปรศิ นา) C1 สร้างแบบจำลองที่อธิบาย 5.5 นักเรียนจะทดสอบแบบจำลองอยา่ งไร (ทดสอบโดยการดึงเชือก ลักษณะการร้อยเชือกภายใน และสงั เกตสิง่ ท่ีเกดิ ขึ้นซงึ่ ควรได้ผลเหมอื นการดึงเชือกที่กระบอก กระบอกปรศิ นา ปริศนาในขอ้ 1) C2 การนำข้อมูลที่ได้จากการ 5.6 นักเรียนจะปรับปรุงแบบจำลองเมื่อใด (เมื่อผลการทดสอบไม่ สังเกตมาสร้างและปรับปรุง สอดคลอ้ งกบั การดึงเชือกที่กระบอกปริศนาในข้อ 1) แบบจำลอง 5.7 หลังจากปรับปรุงแบบจำลองแล้ว นักเรียนต้องทำอะไรต่อไป C4 นำเสนอแบบจำลองใหผ้ ู้อ่ืน (นำเสนอแบบจำลองลักษณะการร้อยเชือกที่อยูด่ ้านในกระบอก เขา้ ใจ ปรศิ นา และบันทกึ ผลโดยการวาดรปู ) C5 รว่ มมอื กันสร้าง ใช้ และ 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร แล้ว ให้นักเรียนรบั ปรบั ปรงุ แบบจำลอง อปุ กรณ์และเรมิ่ ปฏบิ ัติตามขั้นตอนการทำกิจกรรม หากนักเรียนไม่สามารถตอบ 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว โดยใช้แนวคำถามดงั น้ี คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 7.1 ปลายเชือกที่กระบอกปริศนามีกีเ่ ส้น (4 เส้น) อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 7.2 เม่อื ดงึ ปลายเชอื กเส้นใดเสน้ หนึ่ง จะเกิดอะไรขน้ึ (ปลายเชอื กอีก และรับฟังแนวความคิดของ เส้นจะสั้นลงและอีกสองเส้นจะสั้นลงไปด้วย หรือเมื่อดึงปลาย นักเรียน เชือกหลาย ๆ ครั้ง จะเห็นการหดสั้นที่เปลี่ยนแปลงไม่ เหมือนเดิม ไม่มที ิศทางทแ่ี น่นอน) 7.3 ภาพวาดแสดงการร้อยเชือกภายในกระบอกปริศนาเป็น แบบจำลองหรือไม่ เพราะเหตุใด (เป็นแบบจำลองเพราะเป็น สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

71 ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตัว สิ่งท่ีสรา้ งข้นึ เพอ่ื ใชอ้ ธิบายลักษณะการร้อยเชือกภายในกระบอก ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี ปริศนา) แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ ทักษะการสร้างแบบจำลอง 7.4 เราวาดภาพเพ่ือจดุ ประสงค์อะไร (เพ่อื แสดงถึงความคิดเกี่ยวกับ ให้ร่วมกันอภปิ รายจนนักเรียนมี ลักษณะการรอ้ ยเชือกภายในกระบอกปรศิ นา) แนวคิดทีถ่ ูกตอ้ ง 7.5 การทดสอบแบบจำลองกระบอกปริศนามีจุดประสงค์ใด (เพื่อ รวบรวมข้อมูลว่าแบบจำลองที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับกระบอก ป ร ิ ศ น า ห ร ื อ ไ ม ่ แ ล ะ น ำ ข ้ อ ม ู ล ท ี ่ ไ ด ้ ม า ใ ช ้ ใ น ก า ร ป ร ั บ ป รุ ง แบบจำลอง) 7.6 เหตุใดจึงต้องปรับปรุงแบบจำลอง (เพื่อให้แบบจำลองที่สร้าง ขึน้ มลี กั ษณะการรอ้ ยเชอื กเชน่ เดียวกบั กระบอกปริศนา) 7.7 ในกิจกรรมนี้อะไรบ้างจัดเป็นแบบจำลอง (ภาพวาดแสดง ลักษณะการร้อยเชือกในกระบอกปริศนาและกระบอกปริศนาท่ี สร้างขน้ึ ) 7.8 กิจกรรมนี้ได้ฝึกทักษะการสร้างแบบจำลองอะไรบ้าง (ได้สร้าง แบบจำลอง ใชแ้ บบจำลอง และไดป้ รบั ปรงุ แบบจำลอง) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ทกั ษะการสร้างแบบจำลอง จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าการ สร้างแบบจำลองเป็นการสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมาเพื่อแทนวัตถุหรือ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ การสร้างแบบจำลอง การใช้แบบจำลอง การ ปรับปรุงแบบจำลอง จัดเป็นกระบวนการในทักษะการสร้างแบบจำลอง (S13) 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพมิ่ เติมในการอภปิ รายเพ่อื ให้ได้แนวคำตอบท่ถี ูกตอ้ ง 10. นักเรียนอ่าน ส่ิงที่ได้เรยี นรู้ และเปรียบเทียบกับขอ้ สรุปของตนเอง 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนร่วมกันอภิปราย เก่ียวกับคำถามทนี่ ำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในขั้นตอนใด 13. นกั เรียนร่วมกนั อา่ นรอู้ ะไรในเร่อื งนี้ ในหนงั สอื เรียน หน้า 28-29 ครูนำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากนั้นครู ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัว 72 กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่องว่า หลักฐาน ต่าง ๆ ที่ใช้ตอบคำถามได้มาอย่างไร และเราจะมีวิธีสื่อสารคำตอบให้ น่าเชื่อถือได้อย่างไร โดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแนวทางการตอบ คำถาม ซึ่งครูควรเน้นให้นักเรียนตอบคำถามพร้อมอธิบายเหตุผล ประกอบและชักชวนให้นักเรียนไปหาคำตอบร่วมกนั จากการเรียนเร่อื ง ตอ่ ไป สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

73 คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว แนวคำตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม ฝกึ และอธิบายทักษะการสรา้ งแบบจำลอง การวาดรูป และระบุชื่ออปุ กรณ์ในกระบอกปริศนาขน้ึ อยู่กับ คำตอบของนักเรียน ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 74 การวาดรปู และ ระบุชอ่ื อปุ กรณ์ในแบบจำลองขึ้นอยกู่ ับคำตอบ ของนักเรยี น สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

75 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว ภาพวาดและกระบอกปริศนาทีส่ ร้างขึน้ เปน็ แบบจำลองเพราะเปน็ สง่ิ ทีส่ ร้างขน้ึ เพ่ืออธิบายการรอ้ ยเชอื กภายในกระบอกปริศนา ภาพวาดอธิบายลกั ษณะการรอ้ ยเชือกภายในกระบอกปริศนาท่ี สอดคลอ้ งกบั การร้อยเชือกในกระบอกปริศนาซ่ึงมองไมเ่ หน็ การสรา้ งแบบจำลอง การอธิบายลักษณะการร้อยเชือกในกระบอกปริศนาสามารถแสดงได้โดย การวาดภาพ การสร้างชนิ้ งาน และการทดสอบลักษณะการร้อยเชอื กโดย การสรา้ งแบบจำลองและปรับปรุงแบบจำลองจนผลการทดสอบสอดคล้อง กับลกั ษณะการรอ้ ยเชือกในกระบอกปริศนา ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนร้สู ิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว 76 การสร้างแบบจำลองสามารถทำได้โดยวธิ กี ารต่าง ๆ ทั้งวาดภาพและสร้าง ชิ้นงาน ความสามารถในการสรา้ ง และใชแ้ บบจำลองเพ่ืออธิบายวัตถุหรอื ปรากฏการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งปรับปรงุ แบบจำลองหากแบบจำลองไม่ สอดคล้องกับลักษณะของวัตถหุ รอื ปรากฏการณท์ ่เี กิดขนึ้ น้ันจดั เปน็ ทักษะ การสร้างแบบจำลอง คำถามของนักเรียนที่ต้ังตามความอยากรขู้ องตนเอง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

77 คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนร้ขู องนกั เรียนทำได้ ดงั น้ี 1. ประเมนิ ความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในชั้นเรยี น 2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนกั เรียนระหว่างการจดั การเรยี นรู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทำกิจกรรมท่ี 2.3 สรา้ งแบบจำลองอธิบายกระบอกปริศนาไดอ้ ย่างไร รหสั ส่ิงทป่ี ระเมิน ระดับ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S8 การลงความเห็นจากข้อมลู S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป S14 การสร้างแบบจำลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 กคา่ารไสฟรฟ้างา้ สรรค์ C2 การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมอื รวมคะแนน ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 78 ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะ เกณฑก์ ารประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) วิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต การสงั เกตส่ิงทเ่ี กดิ ขึน้ สามารถบอกการ สามารถบอกการ สามารถบอกการ เมื่อดึงเชือกที่ เปลี่ยนแปลงเม่อื ดึงเชือก เปลย่ี นแปลงเมือ่ ดึงเชอื ก เปลยี่ นแปลงได้ไม่ กระบอกปริศนา ทก่ี ระบอกปรศิ นาได้ ทกี่ ระบอกปรศิ นาได้ ชดั เจนเมือ่ ดึงเชอื กที่ ถกู ต้องด้วยตนเอง ถกู ต้องจากการช้ีแนะ กระบอกปริศนา ของครหู รอื ผู้อื่น S8 การลง การลงความเห็นจาก สามารถนำข้อมูลท่ีได้ สามารถนำข้อมลู ที่ได้ สามารถนำข้อมลู ที่ได้ ความเห็นจาก ขอ้ มูลเมอ่ื ดึงเชือกเพื่อ จากการดงึ เชือกมาบอก จากการดึงเชือกมาบอก จากการดงึ เชือกมาบอก ข้อมูล บอกลกั ษณะการร้อย ลกั ษณะการร้อยเชือกใน ลักษณะการร้อยเชือกใน ลกั ษณะการร้อยเชอื ก เชือกในกระบอก กระบอกปริศนาได้อย่าง กระบอกปริศนาได้อยา่ ง ในกระบอกปริศนาได้ ปรศิ นา สมเหตุสมผลดว้ ยตนเอง สมเหตุสมผลจากการ แต่ไม่สมเหตสุ มผลแม้ ชแ้ี นะของครหู รือผู้อืน่ จะไดร้ บั การช้ีแนะจาก ครหู รือผอู้ ่ืน S13 การ การตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตคี วามหมาย ตีความหมาย ขอ้ มลู จากการสรา้ ง ขอ้ มลู จากการสรา้ ง ข้อมูลและลง และใชแ้ บบจำลอง ขอ้ มลู จากการสร้างและ ข้อมลู จากการสรา้ งและ และใชแ้ บบจำลองได้ ข้อสรุป และลงข้อสรปุ ทักษะ ถกู ต้องเพียงบางสว่ น การสรา้ งแบบจำลอง ใช้แบบจำลอง และลง ใชแ้ บบจำลอง และลง และลงข้อสรปุ ได้ไม่ เพือ่ อธบิ ายวัตถุหรือ ชดั เจนวา่ ทกั ษะการ ปรากฏการณต์ ่างๆ ข้อสรปุ ได้ถกู ต้องดว้ ย ข้อสรปุ ได้ถกู ต้องจาก สร้างแบบจำลองเป็น ความสามารถในการ ตนเองวา่ ทักษะการสรา้ ง การช้ีแนะของครูหรือ สร้างบางส่งิ บางอย่าง ขึ้นมาเพอื่ แทนวตั ถหุ รอื แบบจำลองเปน็ ผอู้ ืน่ ว่าทกั ษะการสร้าง ปรากฏการณต์ ่าง ๆ และใช้สิ่งท่ีสร้างขึน้ มา ความสามารถในการ แบบจำลองเป็น เพ่อื อธบิ ายแนวคิด เกีย่ วกบั วตั ถุหรอื สร้างบางสิ่งบางอย่าง ความสามารถในการ ปรากฏการณต์ า่ งๆ ขน้ึ มาเพื่อแทนวตั ถุหรือ สรา้ งบางสิ่งบางอยา่ ง ปรากฏการณ์ต่าง ๆ และ ข้นึ มาเพือ่ แทนวตั ถุหรอื ใช้สง่ิ ท่ีสรา้ งขนึ้ มานน้ั ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ เพือ่ อธบิ ายแนวคิด และใชส้ ง่ิ ทส่ี ร้างข้นึ มา เกีย่ วกับวตั ถหุ รือ เพื่ออธบิ ายแนวคิด ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เกีย่ วกับวตั ถุหรือ ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

79 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรูส้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว ทักษะ เกณฑก์ ารประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) วทิ ยาศาสตร์ สามารถสร้างและ สามารถสรา้ งและ สามารถสร้างและ S14 ก า ร ส ร ้ า ง การสร้าง ใช้ และ แบบจำลอง ปรบั ปรงุ แบบจำลอง ปรบั ปรงุ แบบจำลองได้ ปรบั ปรุงแบบจำลองได้ ปรับปรงุ แบบจำลองได้ สอดคล้องกบั ลกั ษณะ สอดคล้องกบั ลักษณะ สอดคล้องกับลกั ษณะ ของกระบอกปริศนาและ ของกระบอกปริศนาและ ของกระบอกปริศนา ใชแ้ บบจำลองเพื่อ ใชแ้ บบจำลองเพ่อื และใชแ้ บบจำลองเพื่อ อธบิ ายแนวคิดเก่ยี วกับ อธบิ ายแนวคิดเกี่ยวกบั อธบิ ายแนวคดิ เก่ยี วกบั ลกั ษณะการร้อยเชือก ลักษณะการร้อยเชอื ก ลกั ษณะการร้อยเชือก ของกระบอกปริศนาได้ ของกระบอกปริศนาได้ ของกระบอกปริศนาได้ อย่างสมเหตุสมผลด้วย อย่างสมเหตสุ มผลจาก แต่ไมส่ มเหตุสมผลแม้ ตนเอง การชีแ้ นะของครหู รือ จะได้รับการชี้แนะจาก ผอู้ ่ืน ครหู รือผู้อนื่ ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมนิ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) เกณฑก์ ารประเมิน ควรปรบั ปรุง (1) ศตวรรษที่ 21 สามารถระบสุ ่งิ ทต่ี อ้ ง พอใช้ (2) C1 การสรา้ งสรรค์ การระบสุ ง่ิ ที่ตอ้ ง สร้างและวิเคราะห์ สามารถระบุสงิ่ ท่ตี อ้ ง สรา้ ง การนำข้อมลู ท่ี ความสัมพันธข์ องข้อมูล สามารถระบสุ ่งิ ทีต่ อ้ ง สรา้ งและวิเคราะห์ C2 การคดิ อยา่ งมี รวบรวมได้มา เพือ่ สร้างแบบจำลองท่ี สร้างและวเิ คราะห์ ความสมั พันธ์ของขอ้ มลู วจิ ารณญาณ วเิ คราะห์ สอดคลอ้ งกับข้อมลู ท่ี ความสัมพันธข์ องขอ้ มลู เพ่ือสร้างแบบจำลองท่ี ความสัมพันธ์เพ่ือ รวบรวมได้ด้วยตนเอง เพื่อสรา้ งแบบจำลองที่ สอดคลอ้ งกับข้อมลู ท่ี สรา้ งแบบจำลอง สอดคลอ้ งกบั ข้อมลู ที่ รวบรวมได้แตม่ ีลกั ษณะ สามารถใชห้ ลกั ฐานเชงิ รวบรวมได้โดยตอ้ งอาศยั ท่ยี งั ไม่สมบรู ณ์แม้วา่ จะ การใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์มาสนับสนนุ การชแี้ นะจากครูหรือ ได้รบั คำชแ้ี นะจากครู ประจักษ์มา การสรา้ งและปรับปรุง ผอู้ น่ื หรอื ผ้อู น่ื สนับสนนุ การสรา้ ง แบบจำลองให้ และปรับปรงุ สามารถใชห้ ลกั ฐานเชงิ สามารถใชห้ ลกั ฐานเชิง แบบจำลองให้ ประจักษ์มาสนับสนนุ การ ประจกั ษ์มาสนับสนนุ สร้างและปรบั ปรงุ การสรา้ งและปรับปรุง แบบจำลองใหส้ อดคล้อง แบบจำลองใหส้ อดคล้อง กับกระบอกปริศนาได้ กบั กระบอกปริศนาแต่ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรสู้ ิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั 80 ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) เกณฑก์ ารประเมนิ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษท่ี 21 สอดคล้องกบั กระบอก พอใช้ (2) สอดคล้องกับ ปริศนาไดด้ ้วยตนเอง ยงั ไม่เรยี บร้อยสมบรู ณ์ C4 การสอ่ื สาร กระบอกปริศนา ถูกต้องโดยตอ้ งอาศัยการ แมว้ ่าจะไดร้ ับการชแ้ี นะ ชแ้ี นะจากครูหรือผอู้ ื่น จากครูหรอื ผู้อ่ืน C5 ความร่วมมือ การนำเสนอ สามารถนำเสนอ แบบจำลองให้ผู้อืน่ แบบจำลองใหผ้ ู้อน่ื สามารถนำเสนอ สามารถนำเสนอ เขา้ ใจ เข้าใจได้ถกู ต้อง ดว้ ย แบบจำลองใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจ แบบจำลองใหผ้ ู้อ่ืน ตนเอง ไดถ้ ูกต้อง จากการชแ้ี นะ เขา้ ใจได้เพียงบางส่วน ของครหู รือผู้อืน่ แม้วา่ จะได้รับการชแี้ นะ การทำงานร่วมกบั สามารถทำงานร่วมกบั จากครหู รือผู้อื่น ผ้อู ื่นในการอภปิ ราย ผ้อู ่นื ในการอภปิ ราย สามารถทำงานร่วมกับ และการสร้าง ใช้และ การสร้าง ใช้ และ ผู้อ่นื ในการอภิปราย การ สามารถทำงานร่วมกับ ปรับปรงุ แบบจำลอง ปรับปรงุ แบบจำลอง สร้าง ใช้ และปรับปรงุ ผอู้ ื่นในการอภปิ ราย รวมทัง้ ยอมรบั ความ รวมทัง้ ยอมรับความ แบบจำลอง รวมทง้ั การสรา้ ง ใช้ และ คดิ เห็นของผอู้ นื่ คิดเหน็ ของผ้อู ่นื ตั้งแต่ ยอมรบั ความคิดเห็นของ ปรับปรุงแบบจำลอง ผู้อนื่ ในบางชว่ งเวลาทที่ ำ รวมท้ังยอมรบั ความ เรมิ่ ต้นจนสำเรจ็ กจิ กรรม คดิ เห็นของผ้อู ืน่ บาง ชว่ งเวลาทที่ ำกิจกรรม ทัง้ น้ีต้องอาศัยการ กระตุ้นจากครูหรือผอู้ นื่ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

81 ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว เรื่องท่ี 3 หลักฐานกบั การส่ือสารทางวทิ ยาศาสตร์ ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ สือ่ การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ หลักฐานมาสนับสนุนข้อสรุป และการสื่อสารทาง วิทยาศาสตรใ์ หม้ ีความน่าเชื่อถอื โดยการเช่ือมโยงคำตอบ 1. หนงั สอื เรยี น ป.3 เลม่ 1 หนา้ 30-36 กบั หลกั ฐานอย่างสมเหตสุ มผล 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.3 เล่ม 1หนา้ 29-33 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายความสำคัญของหลักฐานในการสื่อสาร ทางวิทยาศาสตร์ 2. วิเคราะห์ข้อมูลและหาหลักฐานที่ทำให้คำตอบมี ความนา่ เชือ่ ถือ เวลา 3 ชว่ั โมง วัสดุ อุปกรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม - ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นร้สู ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว 82 แนวการจัดการเรียนรู้ (60 นาท)ี ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูเพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน ขนั้ ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) และยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ ชักชวนให้นักเรียนไปหาคำตอบ 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับหลักฐานกับการสื่อสาร ดว้ ยตนเองจากการอา่ นเน้อื เรอื่ ง ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยอาจใช้สถานการณ์ ดงั นี้ “ถ้ำแห่งหนึ่งมีภาพวาดบนผนังถ้ำ และมีการขุดพบถ้วยชามดินเผา โบราณทฝี่ ังอยบู่ ริเวณน้ี” จากน้นั ใชค้ ำถามเพอื่ ร่วมกนั อภปิ ราย ดงั น้ี 1.1 นักเรียนคิดว่าถ้ำนี้เคยมีคนอาศัยอยู่หรือไม่ (นักเรียนตอบตาม ความเขา้ ใจของตนเอง เช่น มหี รือไมม่ ี) 1.2 สิ่งที่จะยืนยันคำตอบของนักเรียนคืออะไร (นักเรียนตอบตาม ความเขา้ ใจของตนเอง เช่น หลกั ฐาน สง่ิ ของตา่ ง ๆ ทีพ่ บในถ้ำ) 1.3 นักเรียนรู้จักคำว่า “หลักฐาน” หรือไม่ หลักฐานคืออะไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น รู้จักหรือไม่รู้จัก หลักฐานคอื สง่ิ ท่ีนำมาสนบั สนุนคำตอบ) 1.4 หลักฐานมีประโยชน์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง เชน่ ใช้ในการสนบั สนุนคำตอบ ใชใ้ นการหาคำตอบ) 1.5 หลักฐานได้มาอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง เช่น การสังเกต การบันทกึ ภาพเหตุการณ์ การอดั เสยี ง) 1.6 ถ้าเราต้องการสื่อสารหรือบอกบางสิ่งบางอย่างให้คนอื่นเข้าใจ และเชือ่ ถือในส่ิงที่เราบอก เราควรทำอย่างไร (นักเรยี นตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง เช่น นำหลักฐานมาให้ดู ให้ฟังเสียงท่ี บนั ทึกไว้ นำรปู มาให้ดู) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่องหลักฐานกับการ สื่อสารทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้คำถามว่า นักเรียนรู้หรือไม่ว่าหลักฐาน คืออะไร และมีความสำคัญอยา่ งไร ข้นั ฝกึ ทักษะจากการอา่ น (40 นาท)ี 3. นักเรียนอ่านชื่อเรื่องและคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน หน้า 30 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อหาแนวคำตอบและนำเสนอ ครูบันทึก คำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบคำตอบหลังจาก อ่านเนอ้ื เรอ่ื ง 4. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน อธิบายความหมายของคำสำคญั ตามความเข้าใจของตนเอง สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

83 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ รอบตัว 5. นักเรียนอา่ นเนื้อเรื่องในหนงั สือเรยี นหน้า 30 โดยครูฝึกทักษะการอ่าน หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับความสามารถของนักเรยี น จากนั้นครูใช้ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คำถามเพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใชค้ ำถามดังน้ี คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 5.1 รางวัลที่ข้าวตูได้รับอันเนื่องมาจากผลของการตั้งใจเรียนตลอด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน ภาคเรยี นทผี่ ่านมาคอื อะไร (การไดร้ ับอนญุ าตให้เลยี้ งลกู สุนัข) และรับฟังแนวความคิดของ 5.2 ข้าวตูตอ้ งการทำอะไรใหล้ ูกสนุ ขั (สรา้ งบ้านใหล้ กู สุนัข) นักเรยี น 5.3 ก่อนจะสร้างบ้านให้ลูกสุนัข ข้าวตูและพ่อมีข้อสงสัยอะไรบ้าง (ควรสรา้ งบ้านของสุนัขไวบ้ รเิ วณใด) 5.4 ข้าวตทู ำอย่างไรเพ่ือตอบคำถามทส่ี งสัย (หาข้อมูลเก่ียวกับความ ต้องการของสุนัขจากคนที่เคยเล้ียงสุนขั และสำรวจบริเวณที่จะ สร้างบ้านใหส้ นุ ัข) 5.5 ข้อมูลที่ข้าวตูรวบรวมได้มีอะไรบ้าง (ข้อมูลเกี่ยวกับความ ต้องการของสุนัขท่ีข้าวตรู วบรวมจากการสอบถามคนทีเ่ คยเลีย้ ง สุนัข ส่วนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจพื้นที่ในบริเวณบ้านพบว่ามี บริเวณที่อาจใช้สร้างบ้านสุนัข ได้แก่ บริเวณหน้าบ้านซึ่งเป็น พื้นที่จอดรถ มีแสงแดดส่องเกือบทั้งวัน และบริเวณข้างบ้านที่ ค่อนข้างโลง่ มีแสงแดดส่องเฉพาะชว่ งเชา้ และมีตน้ ไม้ใหญ่ให้ร่ม เงา) 5.6 คำตอบของขา้ วตูในการเลือกพน้ื ท่ีสร้างบ้านใหส้ ุนขั คือบริเวณใด (พืน้ ที่ที่จะใช้สรา้ งบ้านใหส้ ุนขั คือ บรเิ วณข้างบ้าน) 5.7 หลักฐานที่ข้าวตูใช้ในการสนับสนุนคำตอบคืออะไร (พื้นท่ี บริเวณข้างบ้านเป็นพื้นที่โล่ง เพียงพอที่จะสร้างบ้านให้สุนัข และยังมีต้นไม้ให้ร่มเงาจึงไม่ร้อน ส่วนหน้าบ้านซึ่งเป็นโรงรถมี พน้ื ท่ีจำกดั ไม่เพยี งพอสำหรับสร้างบ้านสุนัข นอกจากน้ันยังร้อน เน่อื งจากมีแสงแดดสอ่ งเกือบทงั้ วัน) 5.8 หลักฐานที่ข้าวตูนำมาใช้ ได้มาอย่างไร (ได้มาจากการรวบรวม ข้อมูลโดยการสอบถามผู้ที่เคยเลี้ยงสุนัขและจากการสำรวจ บริเวณบา้ น จากนัน้ กน็ ำข้อมลู นน้ั มาวิเคราะห์เพื่อเลอื กบริเวณท่ี เหมาะสมในการสรา้ งบา้ นใหส้ ุนัข) ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั 84 ขัน้ สรุปจากการอา่ น (10 นาที) 6. นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปเร่ืองที่อ่านซ่ึงควรสรุปได้วา่ หลักฐานได้มาจากการ รวบรวมข้อมูลและนำข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์เพื่อนำมาใช้ในการ สนับสนนุ คำตอบ 7. นกั เรียนตอบคำถามในรูห้ รือยงั ในแบบบนั ทึกกจิ กรรม หน้า 29 8. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพ่ือเปรียบเทียบคำตอบของนักเรียนใน รู้หรือยงั กบั คำตอบท่ีเคยตอบและบนั ทกึ ไว้ในคิดก่อนอา่ น 9. ครใู ห้นักเรยี นอ่านคำถามในย่อหน้าสุดทา้ ยของเรื่องที่อ่าน และร่วมกัน อภปิ รายเพ่ือตอบคำถาม ดงั น้ี หลักฐานมคี วามสำคัญอย่างไร (นักเรียน ตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) ครูยังไม่เฉลยคำตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำ กิจกรรม สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

85 คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว แนวคำตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม หลกั ฐานได้มาจากการรวบรวมข้อมูล จากน้ันนำขอ้ มูลที่ไดม้ า วิเคราะห์ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว 86 กิจกรรมที่ 3 คำตอบท่ีนา่ เช่ือถือเปน็ อยา่ งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้อ่านนิทาน จากนั้นรวบรวม สือ่ การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาเป็นหลักฐานในการ สนบั สนุนคำตอบ เพื่อให้ไดค้ ำตอบทม่ี ีความน่าเช่ือถือ 1. หนังสอื เรยี น ป.3 เล่ม 1 หนา้ 32-35 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.3 เล่ม 1 หน้า 30-33 เวลา 2 ชัว่ โมง จุดประสงค์การเรยี นรู้ วเิ คราะห์ข้อมลู และหาหลกั ฐานท่ีทำใหค้ ำตอบมีความ นา่ เชื่อถอื วสั ดุ อุปกรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม สงิ่ ทีค่ รตู ้องเตรยี ม/กลุ่ม - ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C2 การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ C4 การส่อื สาร C5 ความรว่ มมือ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

87 ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตัว แนวการจัดการเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรเู้ ดิมเก่ยี วกับคำตอบที่น่าเช่ือถือ โดยอาจเลา่ ข่าว หรือ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจากนั้นให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง ดังเรื่องราวจากเหตุการณ์ต่อไปน้ี “ผู้สื่อข่าวรายงานว่ามีผู้พบวัตถุลึกลับ จากการทำกิจกรรม คล้ายเป็นสิ่งมีชีวิตตกลงมาจากฟ้า จึงเดินทางไปตรวจสอบ เมื่อไปถึง พบว่าชาวบ้านจำนวนมากพากันมุงดูวัตถุลึกลับดังกล่าว ท่ีเจ้าของบ้าน นำมาบรรจุไว้ในขวดโหล เจ้าของบ้านเล่าว่า เมื่อคืนที่ผ่านมา เกิดพายุ รุนแรงและฝนตกหนัก ขณะนั้นเห็นวัตถุลึกลับมีลักษณะเป็นแสงคล้ายผี พุ่งไต้พุ่งตรงมาที่ข้างบ้าน แต่ตนก็ไม่ได้สนใจ เพราะคิดว่าน่าจะเป็น ลูกเห็บตก กระทั่งรุ่งเช้าตนตื่นข้ึนมาเก็บกวาดบ้าน พบวัตถุดังกล่าวตรง บันไดหน้าบ้าน ห่างจากจุดที่ตกประมาณ 5 เมตร วัตถุดังกล่าวมีลักษณะ คล้ายตัวหนอนเป็นปล้อง ข้างในลำตัวมีลักษณะสีขาวขุ่น คล้ายเป็นแกน น้ำแข็ง มีจุดเล็ก ๆ 2 จุดคล้ายตาและมีติ่งยื่นออกมาคล้ายใบหู มีขนาด เท่าฝ่ามือ ตนจึงนำมาบรรจุไว้ในขวดโหลพร้อมกับเติมน้ำลงไป ตนไม่รู้ว่า เป็นตัวอะไร อย่างไรก็ตามตนจะเก็บไว้บชู า เพราะเชื่อว่าวัตถุนั้นน่าจะให้ โชคลาภและช่วยให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บ ภายหลังข่าวพบวัตถุนี้แพร่ ออกไป ได้มีชาวบ้านหลั่งไหลกันมาขอดูไม่ขาดระยะ ซึ่งจะติดต่อให้ เจ้าหน้าท่ีทีเ่ ก่ยี วข้องมาตรวจสอบต่อไปวา่ วตั ถนุ คี้ ืออะไรกันแน่” หลังจากนกั เรียนฟังข่าวจบ ครูอาจใช้คำถามว่า นกั เรยี นคิดว่าวัตถุน้ีคือ อะไร เพราะเหตุใดนักเรียนจึงคิดเช่นนั้น และนักเรียนมีหลักฐานอะไรที่ใช้ สนับสนุนความคิดของนักเรียน (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง เช่น เป็นสิ่งมีชีวิตจากนอกโลก เพราะมีลักษณะคล้ายหนอน มีจุดคล้ายตา มีติ่ง ยื่นออกมาคล้ายหูและตกลงมาจากฟ้า น่าจะมาจากนอกโลก หรืออาจเป็น อกุ กาบาตจากนอกโลก เพราะมีแสงคลา้ ยผีพุ่งไต้ และตกลงมาจากฟ้า) ครูควรกระต้นุ ให้นกั เรียนแสดงความคิดเหน็ ร่วมกัน โดยอาจให้นกั เรียน คยุ กันเป็นกลุ่มหรือจับค่กู ันอภิปราย ทง้ั นหี้ ากพบวา่ นักเรียนตอบคำถามโดย ไม่มีหลักฐานประกอบ ครูอาจใช้คำถามเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบหลักฐานจาก นักเรยี น 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 3 โดยใช้คำถามว่า นักเรียนรู้หรือไม่ว่า การทำให้คำตอบมีความน่าเชื่อถือหรือทำให้ผู้ฟัง เชอ่ื ในเรื่องราวทเี่ รากำลังส่ือสาร สามารถทำได้อย่างไร จากนั้นชักชวน นักเรยี นร่วมกนั หาคำตอบในกิจกรรมท่ีจะทำต่อไป ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัว 88 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจเกย่ี วกบั จุดประสงคใ์ นการทำกิจกรรม โดยใช้ และทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ที่ คำถาม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การทำให้คำตอบมี นกั เรยี นจะได้ฝึกจากการทำกจิ กรรม ความน่าเชอ่ื ถอื ) 3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (วิเคราะห์ข้อมูลและหา S8 ลงความเห็นเกี่ยวกับคำตอบท่ี หลักฐาน) น่าเชื่อถือที่สุดโดยวิเคราะห์ 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (ได้หลักฐานที่ทำให้คำตอบ ขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการอา่ นนิทาน มีความน่าเช่ือถอื ) C2 การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวม 4. นักเรยี นบนั ทึกจุดประสงคล์ งในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 32 ได้เพื่อนำมาเป็นหลักฐานใน 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านที่ การสนับสนุนข้อสรุปอย่างมี เหตุผลและตัดสินในเลือก เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความ คำตอบท่ีนา่ เช่ือถอื ทส่ี ุด เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำ กิจกรรม โดยใชค้ ำถามดังน้ี C4 นำเสนอคำตอบและหลักฐาน 5.1 หลังจากอ่านนิทานเรื่องหอยทาก เต่า และหมูป่าแล้ว นักเรียนต้อง เช่อื มโยงกันอย่างเป็นเหตเุ ป็น ผลเพื่อใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจ ทำอะไร (อภิปรายเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านแล้วระบุว่าตัวละครในนิทาน สงสัยเกยี่ วกับเรอ่ื งอะไร) C5 ร่วมกนั อภิปรายและ 5.2 ข้อมูลอะไรบ้างที่นักเรียนต้องวิเคราะห์เพื่อตอบคำถามที่สงสัย เปรียบเทียบคำตอบกับเพ่ือน (ลักษณะและการเคลื่อนที่ของสัตว์ในนิทาน เส้นทางที่สัตว์ทั้งสาม ในกลุ่ม ใชใ้ นการเดนิ ทาง เวลาทีใ่ ช้ และข้อมลู อื่น ๆ ) 5.3 หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว นักเรียนต้องทำอะไรต่อ (อภิปรายและเปรียบเทียบคำตอบกับเพื่อน จากนั้นลงความเห็นว่า คำตอบใดน่าเช่อื ถือทสี่ ดุ พรอ้ มใหเ้ หตุผลประกอบ) 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ให้นักเรียนเริ่ม ปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนการทำกิจกรรม 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม ตามแนวคำถามดังน้ี 7.1 จากนิทาน ตัวละครในนิทานสงสัยเกี่ยวกับเรื่องอะไร และนักเรียน คิดว่าคำตอบคืออะไร (สิ่งที่ตัวละครสงสัย คือ หอยทาก เต่า และ หมูป่า ใครจะวิ่งได้เร็วกว่ากัน โดยนักเรียนตอบตามความคิดของ ตนเอง) สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

89 คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตัว 7.2 นักเรียนใช้วิธีใดในการตัดสินใจเลือกว่าคำตอบของเพื่อนคนใด หากนักเรียนไม่สามารถตอบ มีความน่าเชื่อถือ (เลือกคำตอบที่มีหลักฐานที่สมเหตุสมผลมา คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว สนับสนนุ ) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 7.3 ขณะที่อภิปรายกับเพื่อน นักเรียนมีวิธีการชักชวนให้เพื่อนเชื่อใน และรับฟังแนวความคิดของ คำตอบของนักเรียนอย่างไร (สื่อสารคำตอบให้เพื่อนเข้าใจ โดยมี นักเรียน หลักฐานมาสนับสนุน นอกจากน้ีคำตอบและหลักฐานมีการ เช่ือมโยงกนั อย่างสมเหตุสมผล) 7.4 เป็นไปได้หรือไม่ที่นักเรียนกับเพื่อนจะมีคำตอบที่แตกต่างกันแม้จะ อ่านนิทานเรื่องเดียวกัน เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น (เป็นไปได้ เพราะแม้จะอ่านนิทานเรื่องเดียวกัน ข้อมูลเดียวกัน แต่นักเรียน แต่ละคนก็อาจมีความคดิ ทีแ่ ตกตา่ งกันเนือ่ งจากหลกั ฐานที่นักเรียน เลือกนำมาใช้สนับสนุนอาจแตกต่างกันจึงทำให้ข้อสรุปหรือคำตอบ ที่ไดแ้ ตกต่างกนั ) 7.5 เมื่อเกิดความคิดเห็นหรือมีคำตอบที่แตกต่างกัน นักเรียนจะทำ อย่างไรเพื่อหาข้อสรุปหรือเพื่อให้ได้คำตอบที่น่าเชื่อถือมากที่สุด (ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบคำตอบกับเพื่อน โดยใช้การสื่อสาร และโต้แย้งด้วยเหตุผล มีการใช้หลักฐานมาสนับสนุนคำตอบ จากนั้นจึงพิจารณาเลือกคำตอบที่มีความน่าเชื่อถือ สมเหตุสมผล ที่สดุ ) ในขณะที่อภิปรายหรือนำเสนอข้อมูล ครูอาจพบว่านักเรียนบางคน อาจมีความคิดเห็นหรือใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันในการตัดสินเปรี ยบเทียบ ความเร็วในการวิ่งของสัตว์แต่ละชนิด โดยนักเรียนอาจตอบว่าหมูป่าวิ่งเร็ว ที่สุดเพราะมีรูปร่างที่เหมาะแก่การวิ่งมากที่สุด ซึ่งเป็นการใช้ประสบการณ์ ของตนเองในการตัดสิน หรือนักเรยี นอาจตอบว่าหอยทากเปน็ สัตวท์ ว่ี ิง่ ได้เร็ว ที่สุดเพราะใช้เวลาน้อยที่สุดในการวิ่ง ซึ่งแสดงว่านักเรียนอาจยังไม่เข้าใจ เก่ยี วกบั วิธีการเปรยี บเทียบความเร็ว ดงั น้นั ครูอาจถามคำถามเพ่ือกระตุ้นให้ นักเรียนคิดหรือรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมว่าจะมีวิธีการอย่างไรในการตดั สินวา่ ใครวิ่งไดเ้ ร็วหรอื ชา้ กว่ากนั ดงั นี้ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ ิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั 90 - นักเรียนเคยดูการวิ่งแขง่ ในงานกฬี าสี ซีเกมส์ หรือโอลิมปิก หรือไม่ ภาพตวั อย่างการแข่งขันวง่ิ ในการแข่งขันนั้น ๆ มีวิธีการตัดสินอย่างไรว่าใครวิ่งได้เร็วกว่ากัน ตัวอย่างแผนภาพแสดงการเดนิ ทางของสัตวแ์ ตล่ ะชนิด (นกั เรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง) ครูให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการตัดสนิ การแข่งขันวิ่งและครูอาจนำภาพหรือคลิปการแข่งขันวิ่งมาให้ นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ไดแ้ นวคิดเกี่ยวกบั วธิ กี ารตัดสินการ แข่งขันวิ่งที่ใช้กันทั่วไปเป็นสากล เช่น ในการแข่งขันจะมีการ กำหนดจุดเริ่มต้นและเส้นชัย ให้ผู้เข้าแข่งขันวิ่งอย่างต่อเนื่องไปบน เส้นทางเดียวกัน ใช้ระยะทางเท่ากัน คนที่ชนะคือคนที่เข้าเส้นชัย ก่อน โดยเป็นผู้ที่ใช้เวลาน้อยที่สุดในการวิ่งในระยะทางที่เท่ากัน นอกจากนี้ครูยังอาจกระตุ้นให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมใน ประเด็นอ่นื ๆ ทนี่ กั เรียนนำมาอภปิ ราย เช่น ลกั ษณะหรอื ความยาว ขาของสัตว์กับความเร็วในการเคลื่อนที่เพื่อตอบคำถามว่าสัตว์ที่ขา ยาวจะวิ่งเร็วกว่าสัตว์ที่ขาสั้นเสมอไปหรือไม่ ซึ่งจากการรวบรวม ข้อมูลนักเรียนอาจพบว่ามีสัตว์หลาย ๆ ชนิดที่ขาสั้นแต่วิ่งเร็ว เชน่ กัน เช่น หนู กระตา่ ย แต่อาจไมพ่ บขอ้ มูลยนื ยนั ว่าสตั ว์ชนิดไหน วิ่งเร็วกว่ากันเนื่องจากยังไม่เคยมีใครนำสัตว์ทั้งหมดมาลองแข่งขัน จากข้อมูลในนิทาน นักเรียนจะเห็นได้ว่า แม้ในการแข่งขันสัตว์ ทั้งสามจะเริ่มต้นและส้ินสุดที่จุดเดียวกัน แต่สัตว์ทั้งสามมีการใช้ เส้นทางที่แตกต่างกันเพื่อเข้าสู่เส้นชัย นักเรียนจะแสดงเส้นทางที่ แตกต่างกันนี้ได้อย่างไร (นักเรียนวาดแผนภาพแสดงการเดินทาง ของสตั วแ์ ต่ละชนิดตามความเข้าใจของตนเอง) ครูอาจให้นักเรียนนำแผนภาพแสดงเส้นทางการเดินทาง ไปยังเส้นชัยของสัตว์ทั้งสามที่วาดตามความเข้าใจมาอภิปราย ร่วมกัน โดยให้นักเรียนอภิปรายเปรียบเทียบข้อมูลในในแผนภาพ กับข้อมูลที่ได้จากการอภิปรายเรื่องวิธีการตัดสินการแข่งขันว่ิง โดยครูชี้แนะให้นักเรียนเห็นว่าสัตว์ทั้งสามมีลักษณะการเคลื่อนท่ี และใช้เส้นทางที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นไปได้ว่าระยะทางที่สตั วท์ ั้งสาม เดินทางนั้นก็จะแตกต่างกันด้วย จึงทำให้ไม่สามารถใช้เกณฑ์เรื่อง เวลาในการตัดสินเปรียบเทียบความเร็วที่สัตว์ทั้งสามใช้ในการ แขง่ ขนั ครง้ั น้ไี ด)้ หลงั จากนกั เรียนได้รวบรวมข้อมลู เพ่ิมเตมิ เก่ียวกับวธิ ีการตัดสินการ แข่งขันวิ่ง ครูให้นักเรียนแต่ละคนได้สะท้อนความคิดของตนเองว่า สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

91 คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ ิง่ ต่าง ๆ รอบตัว คำตอบของตนเปลี่ยนไปหรือไม่ อย่างไร หลังจากได้หาข้อมูลและ ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ อภิปรายเพิ่มเตมิ กบั ผู้อ่นื โดยครอู าจใช้แนวคำถาม ดงั นี้ บางครั้งเราอาจพบว่าข้อมูลท่ี นำมาใช้ในการตัดสินสิ่งต่าง ๆ ใน - หลังจากทไ่ี ด้รวบรวมข้อมูลและอภิปรายเพ่ิมเติมกบั ผู้อื่น คำตอบของ แต่ละสถานการณ์อาจไม่เพียงพอ นักเรียนเปลี่ยนไปหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของ เช่น การตดั สนิ วา่ ใครวิง่ ได้เรว็ กว่ากัน ตนเอง เช่น เปลี่ยนไป โดยจากเดิมคิดว่าหมูป่าเป็นสัตว์ที่ขายาวจึง นั้ น ต ้ อ ง ม ี ก า ร ว ั ด โ ด ย ก ำ ห น ด น่าจะวิ่งได้เร็วที่สุดแต่เนื่องจากไม่มีหลักฐานใด ๆ มายืนยันว่าสัตว์ที่ ระยะทางที่เท่ากันแล้วตัดสินด้วย ขายาวจะเป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วกว่าสัตว์ที่ขาสั้นเสมอ หรือจากเดิมเคย เวลาโดยใครที่ใช้เวลาในการแข่งขัน คิดว่าหอยทากใช้เวลาน้อยที่สุดจะเป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วที่สุด แต่ น้อยที่สุดจะถือว่าวิ่งได้เร็วที่สุด หลังจากหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการตัดสินความเร็วในการ ดังนั้นครูควรให้เวลานักเรียนในการ แข่งขันวิ่ง คำตอบจึงเปลี่ยนเป็นไม่สามารถตัดสินได้ว่าสัตว์ชนิดใดว่ิง วิเคราะห์ข้อมูลและสื่อสารคำตอบ เร็ว ที่สุดเพราะหลักฐานไม่เพียงพอเนื่องจากในการแข่งขั นสัตว์ โดยนักเรียนจะได้เรียนรู้ว่าคำตอบท่ี ทั้งหลายไม่ได้ใช้เส้นทางเดียวกันซึ่งระยะทางที่ใช้ในการแข่งขันอาจ น่าเชื่อถือจะเป็นคำตอบที่มีหลักฐาน แตกตา่ งกนั ) ที่สมเหตุสมผลมาสนับสนุนและมี การสื่อสารอย่างเป็นเหตุเป็นผล ซ่ึง ในการอภปิ รายสว่ นนี้ นกั เรยี นอาจยืนยันคำตอบเดมิ หรือเปลี่ยนความคิด เป็นการฝึกทักษะการคิดและการ ครูควรให้เวลานักเรียนในการแสดงความคิดเห็น โดยเน้นไปที่การให้ ส่อื สารทางวิทยาศาสตร์ เหตุผลและนำหลกั ฐานมาสนบั สนนุ คำตอบของตนเอง ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี - ถ้านักเรียนจะจัดการแข่งขันใหม่เพื่อตัดสินว่าระหว่างสัตว์ทั้งสาม แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ สัตว์ชนิดใดวิ่งได้เร็วกว่ากัน นักเรียนจะทำได้อย่างไร (นักเรียนตอบ หลักฐานกับการสื่อสารทาง ตามความคิดโดยใช้ข้อมูลที่ได้รวบรวมมา เช่น ในการตัดสินการ วิทยาศาสตร์ ครูควรดำเนินการ แข่งขันวิ่งให้มีความถูกต้องนั้น จะต้องให้สัตว์ทั้งสามเริ่มต้นและหยดุ โดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย การแข่งขันที่จุดเดียวกันโดยต้องเป็นการวิ่งอย่างต่อเนื่องและใช้ จนกระทั่งนักเรียนมีแนวคิดที่ ระยะทางเทา่ กนั หรืออาจจัดการแข่งขนั วิง่ โดยใช้เวลาในการแข่งขันท่ี ถูกต้อง เท่ากัน แล้วดูว่าสัตว์ชนิดใดวิ่งได้ระยะทางไกลกว่ากัน จึงจะสามารถ ตัดสนิ ไดว้ า่ สตั วต์ วั น้ันวงิ่ ไดเ้ ร็วที่สุด) ครอู าจเสริมวา่ นอกจากการกำหนดระยะทางในการแขง่ ขันให้เท่ากันแล้ว อกี วธิ ีทจ่ี ะตัดสนิ ว่าสตั ว์ชนดิ ใดวิ่งได้เรว็ ท่สี ุดอาจทำไดโ้ ดยกำหนดเวลาในการ แข่งขันให้เท่ากัน แล้วตัดสินจากระยะทางท่ีวิ่งได้ ซึ่งกรณีสถานการณ์ใน นิทาน เรื่องนี้ไม่ได้กำหนดทั้งระยะทางและเวลาในการแข่งขัน จึงไม่ สามารถเปรียบเทียบความเร็วในการวิ่งของสตั วท์ ั้งสามได้ ครูเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนกับการตอบคำถามในชีวิตประจำวันหรือคำถาม ทางวิทยาศาสตร์ว่าหลักฐานทนี่ ำมาสนับสนนุ คำตอบนั้นควรได้มาจากข้อมูล ที่รวบรวมโดยอาจได้มาจากการใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ ในการสังเกต หรือ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรสู้ ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว 92 อาจรวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ๆ จากนั้นจึงนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์แล้วสื่อสารโดยการอธิบายประกอบ กับคำตอบใหผ้ ูอ้ นื่ เขา้ ใจอย่างสอดคล้องและเปน็ เหตเุ ป็นผลกัน 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับคำตอบที่ น่าเชื่อถือ จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าคำตอบที่น่าเชื่อถือ เป็นคำตอบท่มี หี ลักฐานท่ีได้มาจากการนำขอ้ มูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ แล้วนำหลักฐานนั้นมาสนับสนุนคำตอบ และมีการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ โดยมกี ารเชือ่ มโยงคำตอบกบั หลกั ฐานอยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผลกนั (S13) 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพิ่มเติมในการอภปิ รายเพื่อใหไ้ ด้แนวคำตอบท่ถี ูกตอ้ ง 10. นักเรยี นอา่ น สง่ิ ท่ไี ด้เรยี นรู้ และเปรยี บเทียบกบั ขอ้ สรปุ ของตนเอง 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชัน้ เรียน จากนั้นนักเรียนรว่ มกันอภิปรายเกีย่ วกับ คำถามที่นำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขน้ั ตอนใด 13. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หน้า 36 ครูนำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากนั้นครู กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่องว่า การใช้ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทำให้เราค้นพบคำตอบที่น่าเชื่อถือ เราจะ ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ ได้อย่างไรบ้าง ซึ่งครูควรเน้นให้นักเรียนตอบคำถามพร้อมอธิบายเหตผุ ล ประกอบและชักชวนให้นักเรียนไปหาคำตอบรว่ มกันจากการเรียนหน่วย ต่อไป สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

93 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ ่ิงต่าง ๆ รอบตัว แนวคำตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม วิเคราะห์ข้อมูลและหาหลักฐานที่ทำให้คำตอบมีความ นา่ เชอ่ื ถอื หอยทาก เตา่ และหมูป่า สัตวช์ นดิ ใดจะวงิ่ ไดเ้ รว็ กวา่ กัน ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้สิง่ ต่าง ๆ รอบตัว 94 ไมม่ ขี า ไปทางป่า บันทึกข้อมลู อน่ื ๆ เคลื่อนทีอ่ ยา่ ง 5 ชัว่ โมง ท่ีนักเรียนพบ ชา้ ๆ มขี าส้นั ลัดเลาะไปตาม บนั ทึกขอ้ มลู อื่น ๆ 7 ชั่วโมง ท่ีนกั เรียนพบ เคลือ่ นทีโ่ ดย ริมแมน่ ้ำ การคลานอยา่ ง ชา้ ๆ มขี ายาว วิ่งเรว็ ไปทางป่า บนั ทกึ ข้อมลู อืน่ ๆ ท่นี ักเรียนพบ เชน่ 8 ชั่วโมง เผลอหลับ นักเรยี นตอบตามความคดิ ของตนเองโดยวเิ คราะหจ์ ากขอ้ มูลในตาราง สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

95 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว นักเรียนตอบตามหลักฐานที่นำมาสนับสนุนคำตอบ เช่น ถ้าคำตอบของนักเรียน คือ หมูป่า หลักฐานที่นักเรียนอาจนำมาสนับสนุนคำตอบ เช่น หมูป่าเป็นสัตว์ที่มีขายาว ถ้าคำตอบของ นักเรียน คือ หอยทาก หลักฐานที่นกั เรียนอาจนำมาสนบั สนนุ คำตอบ เช่น หอยทากใช้เวลาน้อย ที่สุดในการแข่งขัน ถ้าคำตอบของนักเรียน คือ เต่า หลักฐานที่นักเรียนอาจนำมาสนับสนุน คำตอบ เชน่ เตา่ ลดั เลาะไปตามรมิ แมน่ ้ำ ซึง่ น่าจะเปน็ เส้นทางทีเ่ ขา้ สเู่ ส้นชัยได้เรว็ ท่ีสดุ นักเรียนลงความเห็นตามความคิดเห็นของตนเองว่า คำตอบของเพอื่ นคนใดนา่ เช่ือถอื นักเรียนให้เหตุผลว่าเพราะเหตุใดคำตอบของเพื่อนคนนั้นจึงเป็นคำตอบที่ น่าเชือ่ ถือ เชน่ การตัดสนิ วา่ สตั ว์ชนิดใดวง่ิ ได้เร็วที่สดุ ควรตดั สินจากเวลาที่สัตว์ แตล่ ะตวั ใชใ้ นการแขง่ ขัน หรอื การตัดสินว่าสัตว์ชนิดใดว่ิงไดเ้ ร็วที่สุด ควรตัดสิน จากลกั ษณะของสตั วเ์ ป็นต้น นักเรียนตอบตามผลการเปรียบเทียบคำตอบกับเพื่อน เช่น เหมือนกัน เพราะทุกคนอ่าน นิทานเรื่องเดียวกันทำให้ได้คำตอบเหมือนกัน หรือต่างกัน เพราะทุกคนมีความคิดต่างกัน และอาจพิจารณาเลอื กหลกั ฐานทน่ี ำมาสนบั สนนุ คำตอบตา่ งกนั ดังนนั้ คำตอบจงึ แตกต่างกัน นักเรียนตอบตามผลการเปรียบเทียบคำตอบกับเพื่อน เช่น ไม่เปลี่ยนแปลง เพราะ คำตอบของตนเองมหี ลกั ฐานทน่ี า่ เชอ่ื ถอื มาสนับสนุน หรอื เปล่ยี นแปลง เพราะคำตอบ ของเพ่ือนนา่ เช่ือถอื และสมเหตสุ มผลมากกวา่ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ิ่งต่าง ๆ รอบตวั 96 หลักฐานเป็นสิ่งที่นำมาใช้เพื่อสนับสนุนคำตอบจึงทำให้การสื่อสารทาง วทิ ยาศาสตรม์ ีความน่าเช่อื ถอื มากยิง่ ข้ึน คำตอบที่น่าเชื่อถือได้มาจากการนำขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ เพื่อใช้เปน็ หลักฐานในการสนับสนุนคำตอบนัน้ ๆ อย่างมเี หตุมีผล การตอบคำถามหรือการส่ือสารเพ่ือให้ผู้อ่ืนยอมรับ คำตอบนั้นต้องมีความ น่าเชื่อถือโดยมีหลักฐานที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลมาสนับสนุนอย่าง มเี หตุมีผล คำถามของนักเรียนท่ีตง้ั ตามความอยากรู้ของตนเอง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

97 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้ 1. ประเมินความรเู้ ดิมจากการอภปิ รายในช้ันเรียน 2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรยี นระหวา่ งการจัดการเรยี นรู้และจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมนิ จากการทำกจิ กรรมที่ 3 คำตอบทีน่ า่ เชือ่ ถือเป็นอย่างไร รหัส สิ่งท่ปี ระเมนิ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มลู S13 การตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ C4 การสือ่ สาร C5 ความร่วมมือ รวมคะแนน ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว 98 ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ เกณฑก์ ารประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) วทิ ยาศาสตร์ S8 การลง การลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ จาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเหน็ ความเหน็ จาก ข้อมลู โดยพจิ ารณาได้ ขอ้ มูลได้ถูกตอ้ งด้วย จากข้อมลู ได้ถูกต้อง จากข้อมลู ได้ถูกต้อง ข้อมลู ว่าคำตอบใดมีความ ตนเองว่าคำตอบใดมี โดยอาศยั การช้ีแนะ เพียงบางส่วนวา่ คำตอบ นา่ เชอื่ ถือและ ความนา่ เชือ่ ถือมากที่สดุ จากครหู รือผู้อ่ืนว่า ใดมคี วามน่าเชื่อถือมาก สมเหตุสมผลมากที่สดุ โดยพจิ ารณาจากความ คำตอบใดมคี วาม ทีส่ ดุ โดยยงั ขาดการ สมเหตสุ มผลของข้อมูล น่าเชื่อถือมากทส่ี ดุ โดย พจิ ารณาถึงความ พิจารณาจากความ สมเหตสุ มผลของข้อมลู สมเหตสุ มผลของข้อมลู S13 การ การตีความหมายข้อมลู สามารถตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตีความหมาย ตคี วามหมาย จากการทำกิจกรรม ขอ้ มูลจากการทำ ขอ้ มลู จากการทำ ข้อมูลจากการทำ ขอ้ มูลและลง และลงข้อสรปุ ได้วา่ กจิ กรรม และลงข้อสรปุ กิจกรรม และลง กจิ กรรม และลง ขอ้ สรุป คำตอบที่นา่ เชือ่ ถอื คือ ไดว้ า่ คำตอบทนี่ า่ เชื่อถือ ขอ้ สรุปได้วา่ คำตอบท่ี ข้อสรปุ ได้ว่าคำตอบที่ คำตอบทีม่ ีหลกั ฐานที่ คือ คำตอบท่ีมีหลักฐาน นา่ เช่อื ถอื คอื คำตอบ นา่ เชอื่ ถือ คอื คำตอบที่ ได้มาจากการวเิ คราะห์ ทไี่ ดม้ าจากการวเิ คราะห์ ทม่ี หี ลักฐานท่ีไดม้ าจาก มหี ลักฐานทไี่ ด้มาจาก ขอ้ มูลมาสนับสนุน ข้อมลู มาสนบั สนุน และ การวเิ คราะห์ข้อมูลมา การวิเคราะห์ขอ้ มูลมา และมกี ารสอ่ื สาร มีการส่ือสารคำตอบและ สนับสนุน และมกี าร สนบั สนนุ แต่ไม่ คำตอบและหลักฐาน หลกั ฐานน้นั เช่ือมโยงกัน สอ่ื สารคำตอบและ สามารถสือ่ สารคำตอบ นนั้ เชื่อมโยงกนั อย่าง อยา่ งเป็นเหตุเป็นผลได้ หลักฐานน้นั เช่อื มโยง และหลักฐานน้ัน เป็นเหตเุ ป็นผล ถูกต้องด้วยตนเอง กนั อยา่ งเป็นเหตุเป็น เชื่อมโยงกันอย่างเป็น ผลไดถ้ กู ต้อง จากการ เหตเุ ป็นผล แม้วา่ จะ ช้ีแนะของครูหรือผอู้ ืน่ ไดร้ บั การชีแ้ นะจากครู หรือผู้อน่ื สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

99 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรูส้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตัว ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมนิ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ศตวรรษท่ี 21 C2 การคดิ อยา่ งมี ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) วิจารณญาณ การวิเคราะห์ข้อมูลท่ี สามารถวเิ คราะห์ข้อมลู สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ที่ สามารถวิเคราะห์ข้อมลู C4 การสือ่ สาร รวบรวมได้อย่างมี ทร่ี วบรวมได้อยา่ งมี รวบรวมได้อยา่ งมีเหตผุ ล ท่ีรวบรวมได้อยา่ งมี C5 ความร่วมมือ เหตผุ ลเพอื่ นำมาเปน็ เหตผุ ลเพ่ือนำมาเปน็ เพอ่ื นำมาเป็นหลักฐาน เหตุผลเพ่ือนำมาเปน็ หลักฐานและ หลกั ฐานและตดั สนิ ใจ และตัดสนิ ใจเลอื กคำตอบ หลักฐานได้เพยี ง ตดั สนิ ใจเลือก เลอื กคำตอบท่นี ่าเชือ่ ถือ ท่นี ่าเชอ่ื ถือทส่ี ดุ ไดถ้ ูกตอ้ ง บางสว่ นแต่ไม่อาจ คำตอบที่น่าเช่อื ถอื ที่สดุ ไดถ้ ูกต้องด้วย โดยอาศัยการชีแ้ นะของ ตดั สินใจเลือกคำตอบที่ ท่สี ดุ ตนเอง ครหู รอื ผอู้ ่นื น่าเชอ่ื ถือทีส่ ดุ ได้ด้วย ตนเอง แมว้ า่ จะไดร้ ับคำ ช้แี นะจากครหู รือผอู้ น่ื การนำเสนอคำตอบ สามารถนำเสนอคำตอบ สามารถนำเสนอคำตอบ สามารถนำเสนอคำตอบ และหลกั ฐาน และหลักฐานเชอื่ มโยง และหลกั ฐานเชอื่ มโยงกนั และหลกั ฐานเช่ือมโยง เชอื่ มโยงกันอยา่ ง กนั อย่างเปน็ เหตุเปน็ อยา่ งเปน็ เหตเุ ป็นผล จาก กนั แต่ไมเ่ ป็นเหตเุ ป็นผล เป็นเหตุเปน็ ผลให้ ผลไดด้ ้วยตนเอง การช้แี นะของครูหรือผู้อ่ืน แมว้ า่ จะไดร้ ับการชแี้ นะ ผู้อนื่ เขา้ ใจ จากครหู รือผู้อ่ืน การทำงานรว่ มกับ สามารถทำงานร่วมกบั สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับ ผู้อน่ื ในการอภิปราย ผู้อน่ื ในการอภิปราย ผู้อื่นในการอภิปราย และ ผอู้ ่นื ในการอภิปราย และเปรยี บเทียบ และเปรียบเทยี บคำตอบ เปรียบเทียบคำตอบ และเปรยี บเทียบคำตอบ คำตอบ รวมท้ัง รวมทง้ั ยอมรับความ รวมทง้ั ยอมรับความ รวมทั้งยอมรับความ ยอมรบั ความคิดเหน็ คิดเหน็ ของผู้อื่นตั้งแต่ คิดเหน็ ของผู้อน่ื ในบาง คดิ เหน็ ของผ้อู ืน่ บาง ของผู้อน่ื เริม่ ต้นจนสำเร็จ ช่วงเวลาท่ที ำกิจกรรม ช่วงเวลาที่ทำกจิ กรรม ทงั้ นต้ี อ้ งอาศยั การ กระต้นุ จากครูหรือผอู้ ่ืน ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นร้สู ่งิ ต่าง ๆ รอบตวั 100 กจิ กรรมท้ายบทท่ี 1 เรียนร้แู บบนักวทิ ยาศาสตร์ (1 ชัว่ โมง) 1. นักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากบทนี้ ในแบบบันทึก กจิ กรรม หนา้ 34 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ของตนเองโดยเปรียบเทียบกับ แผนภาพในหัวขอ้ รอู้ ะไรในบทน้ี ในหนังสือเรียน หน้า 37 3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคำตอบของตนเองในสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 2-6 อีกครั้ง ถ้าคำตอบของนักเรียนไม่ ถูกต้องให้ขีดเส้นทับข้อความเหล่านั้นแล้วแก้ไขให้ถูกต้อง นอกจากนี้ครู อาจนำคำถามในรูปนำบทในหนังสือเรียน หน้า 2 มาร่วมกันอภิปราย คำตอบอีกคร้ัง ดังน้ี 1. รู้หรือไม่ว่าก่อนที่จะมาเป็นแผนภาพหรือตาราง ผู้ที่จัดทำ รวบรวมข้อมูลมาโดยวิธีใด และต้องทำอย่างไรจึงจะนำเสนอ ข้อมูลนั้นให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ผู้จัดทำต้องวัดและบันทกึ ข้อมูลเวลา ที่ดวงอาทิตย์ขึ้นของแตล่ ะจงั หวัดไว้ แล้วนำมาจัดทำเป็นตาราง และแผนภาพ) 2. ถ้าเราต้องเป็นผู้นำเสนอข้อมูลต่าง ๆ ในเรื่องที่เราสืบเสาะ หาความรู้มา เราจะมีวิธีการนำเสนอข้อมูลนั้นให้มีความ น่าเชื่อถือและทำผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร (เราต้องหาหลักฐานมา สนบั สนนุ ข้อมูลความรู้นั้น และนำข้อมลู ท่ีมีหลักฐานที่น่าเชื่อถือ มาจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลในรูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย ถูกตอ้ ง และรวดเร็ว) 4. นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 เรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ ใน แบบบันทึกกิจกรรมหน้า 35-41 จากนั้นนำเสนอคำตอบหน้าชั้นเรียน ถ้าคำตอบยังมีความคลาดเคลื่อนไม่ถูกต้องครูควรนำอภิปรายหรือให้ สถานการณเ์ พม่ิ เตมิ เพือ่ แก้ไขแนวคิดคลาดเคลอ่ื นให้ถูกต้อง 5. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมร่วมคิด ร่วมทำ โดยให้สำรวจห้องเรียนแล้ว ร่วมกนั วิเคราะห์ว่าควรปรับปรงุ ห้องเรียนอยา่ งไรเพ่ือให้เป็นระเบียบและ สวยงาม จากนั้นออกแบบห้องเรียนจากผลการวิเคราะห์โดยสร้างเป็น สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

101 คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นร้สู ิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว แบบจำลอง และนำเสนอแบบจำลองเพื่อให้นักเรียนทุกคนในห้องเข้าใจ ตรงกนั 6. นักเรียนอ่านและอภิปรายเนื้อเรื่องในหัวข้อวิทย์ใกล้ตัว ในหนังสือเรียน หน้า 42 โดยครูกระตนุ้ ให้นักเรยี นเห็นความสำคญั ของความรู้จากส่ิงท่ีได้ เรียนรู้ในหน่วยน้ี ว่าสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ อย่างไร เช่น ความสำคัญของทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ กับสเปซและสเปซกับเวลา และทักษะการสร้างแบบจำลองที่สามารถ นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เช่น ในงานออกแบบ การสร้าง แบบจำลองของส่ิงที่จะก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็นบา้ นเรือน อาคารพิพิธภณั ฑ์ สวนสัตว์ สนามเดก็ เล่น 7. นักเรยี นรว่ มกนั ตอบคำถามสำคัญประจำหนว่ ยอีกครงั้ ดงั น้ี - จดั กระทำขอ้ มลู และนำเสนอความรู้ทางวิทยาศาสตร์อยา่ งมีหลักฐานที่ น่าเชื่อถือได้อย่างไร (ต้องเก็บรวบรวบข้อมูลโดยวิธีที่ถูกต้อง เลือก ข้อมลู ทีม่ หี ลักฐานทนี่ ่าเชื่อถือมาจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลใน รูปแบบต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้ง่าย ถูกต้อง และรวดเร็ว รวมท้ัง อธิบายความรู้ที่ได้จากข้อมูลเหล่านั้นอย่างเป็นเหตุเป็นผลสอดคล้อง กับหลักฐานทมี่ )ี ถ้าคำตอบยังไม่ถูกต้อง ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้คำตอบที่ ถกู ต้อง ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 102 สรปุ ผลการเรยี นรขู้ องตนเอง รูปหรอื ขอ้ ความสรปุ สิ่งที่ไดเ้ รยี นรจู้ ากบทน้ตี ามความเข้าใจของนกั เรยี น สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

103 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นร้สู ง่ ต่าง ๆ รอบตัว แนวคำตอบในแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 5 นาที 2 นาที 6 นาที 1 นาที 3 นาที ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรูส้ ิ่งต่าง ๆ รอบตวั 104 นักเรียนสามารถจัดกระทำและสื่อความหมาย ข้อมูลไดต้ ามรูปแบบท่ตี นเองเขา้ ใจ เชน่ ทำให้สามารถรู้ได้อย่างรวดเร็วว่าใครใช้เวลาในการเล่นเกมน้อยที่สุด จึงนำมาจัดอนั ดับได้ง่าย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

105 คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนร้สู ง่ ต่าง ๆ รอบตัว นกกระจอกเทศ เสือ กวาง ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นร้สู งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว 106 ทกั ษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับเวลา การวาดภาพแสดงสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย การปัน้ แสดงสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

107 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้สง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว คำตอบข้นึ อยู่กับนักเรียน เชน่ การสรา้ งแบบจำลอง ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั 108 นักเรียนตอบ ตามความคิด ของตนเอง สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

109 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้สง่ ต่าง ๆ รอบตัว นักเรียนบอกเหตุผลที่ทำให้ตนคิดว่าคำอธิบายของใครมีความน่าเชื่อถอื เช่น ข้าวหอมเคยเห็น ตน้ ไมท้ ี่ถกู ฟา้ ผา่ จนกงิ่ หกั ดงั นน้ั จึงมคี วามเป็นไปไดท้ ก่ี ่งิ มะม่วงจะถูกฟา้ ผ่า ใบเตยเหน็ บันไดพาด กับต้นมะม่วงและเห็นรอยรองเท้า จึงมีความเป็นไปได้ที่จะมีคนหลายคนปีนต้นมะม่วงจนกิ่ง มะม่วงหัก ภูมิได้ยินชาวบา้ นบอกว่าเมื่อคนื ฝนตกและลมแรง จึงมีความเปน็ ไปไดว้ ่าแรงจากลม จะเป็นสาเหตุทำใหก้ งิ่ มะมว่ งหัก **นักเรียนอาจมีคำตอบและเหตุผลที่เลือกคำตอบนั้นแตกต่างกัน ครูควรกระตุ้นให้ นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นและอาจถามเพิ่มเติมว่าถ้าต้องการให้คำตอบนั้น ๆ มีความ น่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น นักเรียนต้องทำอย่างไร โดยนักเรียนอาจตอบว่าต้องมีการสืบค้นข้อมูล เพมิ่ เตมิ เช่น หากกงิ่ ไม้หกั เพราะแรงจากลม อาจจะต้องมีการสำรวจต้นไม้อ่นื ๆ บรเิ วณนนั้ ด้วย ว่ามีความเสียหายลักษณะเดียวกันหรือไม่ ถ้ามีเพียงต้นมะม่วงต้นนี้ต้นเดียว แรงจากลมอาจ ไมใ่ ชส่ าเหตุทท่ี ำใหก้ งิ่ มะม่วงหกั ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี