Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี2

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-29 14:28:16

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี2
คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
ตามผลเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี2,คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 62 ตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน จงท�ำ เคร่อื งหมาย หนา้ ข้อความท่ถี กู ต้อง และทำ�เครอ่ื งหมาย หน้าขอ้ ความที่ ไมถ่ กู ต้อง … ... 1. อากาศเป็นสารบริสทุ ธิ์ อากาศเปน็ สารละลาย ประกอบด้วยแกส๊ หลายชนดิ … … 2. สารละลายมีสถานะเป็นของเหลวเสมอ สารละลายมีทงั้ สถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส … ... 3. แอลกอฮอล์ล้างแผลเข้มขน้ รอ้ ยละ 70 โดยปริมาตร มแี อลกอฮอลเ์ ป็นตวั ละลาย และน้ำ�เป็นตวั ทำ�ละลาย แอลกอฮอล์ลา้ งแผลเข้มข้นรอ้ ยละ 70 โดยปริมาตร มีน�ำ้ เปน็ ตวั ละลาย และ แอลกอฮอล์เป็นทำ�ตัวละลาย เนื่องจากแอลกอฮอล์มีปริมาณมากกว่าน้ำ�จึง เป็นตัวท�ำ ละลาย … … 4. สารละลายกลูโคสร้อยละ 5 โดยมวล หมายถึง สารละลายทม่ี กี ลโู คส 5 กรมั ในนำ้� 100 กรัม สารละลายกลโู คสร้อยละ 5 โดยมวล หมายถงึ สารละลายทม่ี กี ลูโคส 5 กรัม ใน สารละลาย 100 กรัม … ... 5. แอลกอฮอลม์ ีความหนาแนน่ 0.79 กรัมต่อมลิ ลลิ ติ ร สว่ นนำ�้ มคี วามหนาแนน่ 1.00 กรัมต่อมิลลิลิตร ดงั น้ัน แอลกอฮอล์ 1 กรัม จะมีปรมิ าตรมากกวา่ นำ�้ 1 กรัม … ... 6. ถา้ ต้องการตวงสารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ปริมาตร 10.00 มลิ ลิลติ ร ใหม้ คี วามถูกตอ้ งแม่นยำ� ควรใชบ้ ีกเกอร์ ถ้าต้องการตวงสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ (NaCl) ปริมาตร 10.00 มิลลลิ ติ ร ให้มีความถกู ตอ้ งแม่นยำ� ควรใช้ปิเปตต์ … ... 7. เฮกเซนมีความหนาแนน่ 0.66 กรัมตอ่ มลิ ลลิ ิตร ถ้าต้องการเปลย่ี นหน่วยเปน็ กิโลกรมั ต่อลติ ร ตอ้ งใชแ้ ฟกเตอร์เปล่ียนหนว่ ย 1 0 0 1 0 L m L และ 1000 g 1 kg ต้องใช้แฟกเตอรเ์ ปลย่ี นหนว่ ย 1 0 0 0 m L และ 1 kg 1 L 1000 g สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 2 บทที่ 5 | สารละลาย 63 … … 8. กลูโคส (C6H12O6) 1 โมล กับกรดไฮโดรคลอรกิ (HCl) 12 โมล เมือ่ ละลายน�ำ้ ปรมิ าตรเท่ากนั แตกตวั ใหป้ ริมาณ H+ เท่ากนั กลูโคสเป็นสารโคเวเลนตเ์ มือ่ ละลายน�้ำ จึงไมแ่ ตกตวั ให้ H+ … … 9. แมกนเี ซียมไนเทรต (Mg(NO3)2) 0.5 โมล มีมวล 74.16 กรัม เมือ่ มวลตอ่ โมล ของแมกนเี ซยี มไนเทรตเท่ากับ 148.32 กรมั ต่อโมล … ... 10. กรดแอซีตกิ (C2H4O2) 1 โมล มมี วลเทา่ กับ 60.06 กรมั เม่อื ก�ำ หนดใหม้ วลตอ่ โมล ของธาตุC=12.01กรัมตอ่ โมล H=1.01กรัมต่อโมลและ O=16.00กรมั ต่อโมล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 64 5.1 ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของหนว่ ยความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหนว่ ยร้อยละ สว่ นในลา้ นสว่ น ส่วนในพันลา้ นสว่ น โมลาริตี โมแลลิตี และเศษส่วนโมล 2. คำ�นวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละ ส่วนในล้านส่วน ส่วนในพันล้านส่วน โมลาริตี โมแลลิตี และเศษสว่ นโมล ความเขา้ ใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกดิ ขึ้น ความเขา้ ใจคลาดเคลอ่ื น ความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ ง ความเข้มข้นในหน่วยโมแลล เป็นปริมาณของ ความเข้มข้นในหน่วยโมแลล เป็นปริมาณของ ตวั ละลายในสารละลาย ตัวละลายในตวั ทำ�ละลาย สอื่ การเรยี นรู้และแหล่งการเรยี นรู้ 1. ตัวอย่างรูปหรือแก้วที่มีน้ำ�แดงเต็มแก้ว แก้วท่ีมีนำ้�แดงคร่ึงแก้ว และแก้วท่ีมีน้ำ�แดงผสมน้ำ� เต็มแกว้ 2. ตารางส�ำ หรับตรวจสอบความเข้าใจเกีย่ วกับความเข้มขน้ ในหนว่ ยตา่ ง ๆ แนวการจัดการเรียนรู้ 1. ครแู สดงตวั อย่างรปู หรอื แก้วทใ่ี สน่ �ำ้ แดง 3 แกว้ ต่อไปน้ี 1) นำ้�แดงเต็มแกว้ 2) นำ�้ แดงคร่งึ แกว้ 3) น้�ำ แดงผสมน�ำ้ เต็มแก้ว ดังรูป 1) 2) 3) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 2 บทที่ 5 | สารละลาย 65 2. ครูตั้งคำ�ถามว่า นำ้�แดงท้ัง 3 แก้วเป็นสารบริสุทธ์ิหรือสารละลาย ซ่ึงควรได้คำ�ตอบว่า นำ้�แดงทั้ง 3 แก้วเป็นสารละลาย จากนั้นครูให้นักเรียนเปรียบเทียบความเข้มข้นและปริมาตรของ น้�ำ แดงท้ัง 3 แก้ว ซึ่งควรไดค้ ำ�ตอบว่า - น้�ำ แดงแกว้ ที่ 1) และ 2) มีความเขม้ ข้นเทา่ กัน แต่มปี รมิ าตรตา่ งกนั - น�ำ้ แดงแกว้ ที่ 1) และ 3) มีปริมาตรเท่ากนั แต่มคี วามเข้มข้นต่างกัน - น้�ำ แดงแกว้ ท่ี 2) มีความเข้มข้นมากกวา่ แกว้ ท่ี 3) แต่มปี รมิ าตรน้อยกวา่ จากนั้นครูสรุปเพ่ิมเติมว่า โดยท่ัวไปการบอกปริมาณของสารละลายส่วนใหญ่ระบุเป็นความ เข้มข้นและปริมาตรของสารละลาย 3. ครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเก่ียวกับความหมายของความเข้มข้น เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า ความเขม้ ขน้ ของสารละลายสว่ นใหญเ่ ปน็ อตั ราสว่ นของปรมิ าณตวั ละลายตอ่ ปรมิ าณสารละลาย จาก น้นั ใช้คำ�ถามวา่ นกั เรียนทราบหนว่ ยความเข้มข้นใดบา้ ง ซง่ึ ควรไดค้ ำ�ตอบว่า หน่วยร้อยละ 4. ครูทบทวนความหมายของความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละทั้งร้อยละโดยมวล รอ้ ยละโดยปรมิ าตร รอ้ ยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร จากนน้ั ครยู กตวั อยา่ งสารละลายทพ่ี บในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ แอลกอฮอล์เข้มขน้ รอ้ ยละ 70 โดยปริมาตร แลว้ ใหน้ ักเรียนระบุชนิดและปรมิ าณของตัวละลาย และตัวทำ�ละลาย ซ่ึงควรได้คำ�ตอบว่า ในสารละลาย 100 มิลลิลิตร ตัวละลายคือ นำ้�ปริมาตร 30 มิลลลิ ติ ร และ ตัวทำ�ละลายคือ แอลกอฮอล์ปริมาตร 70 มลิ ลลิ ิตร จากนั้นครูให้นักเรยี นตอบค�ำ ถาม เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ตรวจสอบความเข้าใจ 1. ค�ำ นวณความเข้มข้นเปน็ ร้อยละโดยมวลของสารละลายตอ่ ไปน้ี 1.1 โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 50.0 กรมั ในนำ้� 200.0 กรัม มวลของ NaCl (g) ร้อยละโดยมวลของสารละลาย NaCl = × 100 % มวลของสารละลาย (g) 50.0 g NaCl = ( 5 0 . 0 + 2 0 0 . 0 ) g s o l n × 100 % = 20.0 % g NaCl/g soln ดงั นน้ั สารละลายโซเดยี มคลอไรดม์ คี วามเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 20 โดยมวล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 66 1.2 กรดแอซตี กิ (C2H4O2) 0.50 โมล ในน้�ำ 3.0 โมล ร้อยละโดยมวลของสารละลาย C2H4O2 = ม ม ว ว ล ล ข ข อ อ ง งส าC ร2 ลH ะ4 ลO า2 ย (g ( )g ) × 100 % นนั่ คอื ตอ้ งคำ�นวณมวลของ C2H4O2 และมวลของสารละลาย ดังน้ี มวลตอ่ โมลของ C2H4O2 = (2 × 12.01) + (4 × 1.01) + (2 × 16.00) = 60.06 g/mol × 6 0 . 0 6 g C 2 H 4 O 2 1 mol C2H4O2 มวลของ C2H4O2 = 0.50 mol C2H4O2 = 30 g C2H4O2 มวลต่อโมลของ H2O = (2 × 1.01) + (1 × 16.00) = 18.02 g/mol มวลของ H2O = 3.0 mol H2O × 1 8.02 g H2O 1 mol H2O = 54 g H2O มวลของสารละลาย = มวลของ C2H4O2 + มวลของ H2O = 30 g + 54 g = 84 g ร้อยละโดยมวลของสารละลาย C2H4O2 = 3 0 8 4g gC s 2 Ho l4 n O 2 × 100 % = 36 % g C2H4O2/g soln ดังนนั้ สารละลายกรดแอซตี ิกมีความเขม้ ข้นรอ้ ยละ 36 โดยมวล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 2 บทท่ี 5 | สารละลาย 67 2. สารละลายน�้ำ ตาลทราย (C12H22O11) เขม้ ขน้ รอ้ ยละ 22.0 โดยมวล มคี วามหนาแนน่ 1.09 กรมั ต่อมลิ ลิลติ ร ในสารละลาย 1.0 มลิ ลิลิตร มีนำ�้ ตาลทรายละลายอยู่กี่กรมั มวลของน้ำ�ตาลทรายในสารละลาย 1.0 มลิ ลิลติ ร = 1.0 mL soln × 1 1 . 0 m 9 L g s s o ol l nn × 2 2.100g0Cg12sHol2n2O11 = 0.24 g C12H22O11 ดงั นั้น มวลของนำ�้ ตาลทรายในสารละลาย 1.0 มลิ ลิลิตร เทา่ กับ 0.24 กรมั 3. สารละลายกรดซลั ฟวิ รกิ (H2SO4) เขม้ ขน้ รอ้ ยละ 35 โดยมวล มคี วามหนาแนน่ 1.26 กรมั ตอ่ มิลลิลติ ร ท่ี 20 องศาเซลเซียส 3.1 ในสารละลาย 100 ลติ ร มีกรดซัลฟิวริกละลายอยู่ก่ีกรัม มวลของ H2SO4 ในสารละลาย 100 L = 31 5 0 g0 Hg 2s SoOln 4 × 1.26 g soln 1000 mL soln 100 L soln 1 m L s o l n × 1 L s o l n × = 4.4 × 104 g H2SO4 ดงั นนั้ สารละลายกรดซลั ฟวิ รกิ 100 ลิตร มกี รดซัลฟวิ รกิ 4.4 × 104 กรัม 3.2 สารละลายท่มี กี รดซัลฟวิ รกิ ละลายอยู่ 500 กรัม มปี ริมาตรกล่ี ิตร ปริมาตรของสารละลายทีม่ ี H2SO4 500 g 100 g soln 1 mL soln 1 L soln = 500 g H2SO4 × 3 5 g H 2 S O 4 × 1 . 2 6 g s o l n × 1000 mL soln = 1.1 L soln ดงั นน้ั สารละลายทม่ี ีกรดซลั ฟวิ รกิ ละลายอยู่ 500 กรัม มีปริมาตร 1.1 ลติ ร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 68 5. ครอู ธบิ ายความหมายของความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหนว่ ยสว่ นในลา้ นสว่ นและสว่ นใน พันล้านสว่ น พร้อมท้ังแสดงการค�ำ นวณตามตวั อยา่ ง 1 และ 2 จากนนั้ ครใู หน้ กั เรียนตอบค�ำ ถามจาก ตวั อยา่ งคำ�ถามท่กี ำ�หนดให้ แลว้ เฉลยค�ำ ตอบร่วมกนั ตัวอย่างคำ�ถาม จงเติมขอ้ มูลทเี่ กีย่ วกับสารละลายเอทานอลในนำ�้ ลงในตารางทีก่ �ำ หนดใหต้ ่อไปน้ี ปรมิ าตรของ ปรมิ าตรของ ปรมิ าตรของ สว่ นใน สว่ นใน ตวั ละลาย (mL) ลา้ นสว่ น พนั ลา้ นสว่ น ตวั ท�ำ ละลาย (mL) สารละลาย (mL) 3.24 103.24 แนวคำ�ตอบ ปรมิ าตรของ ปรมิ าตรของ ปรมิ าตรของ สว่ นใน สว่ นใน ตวั ละลาย (mL) ลา้ นสว่ น พนั ลา้ นสว่ น ตวั ท�ำ ละลาย (mL) สารละลาย (mL) 3.14 × 104 3.14 × 107 3.24 100.00 103.24 จงเตมิ ขอ้ มูลทเี่ ก่ียวกับความเขม้ ขน้ ของแมงกานีสในนำ้�ลงในตารางท่ีก�ำ หนดให้ตอ่ ไปน้ี มวลของ มวลของ มวลของ ส่วนใน สว่ นใน ตัวละลาย (g) น�ำ้ (g) สารละลาย (g) ล้านสว่ น พนั ลา้ นส่วน 1.0 × 105 5.0 แนวคำ�ตอบ มวลของ มวลของ สว่ นใน ส่วนใน มวลของ น�้ำ (g) สารละลาย (g) ลา้ นส่วน พนั ล้านส่วน 1.0 × 105 5.0 × 104 ตัวละลาย (g) 1.0 × 105 50 5.0 6. ครูอธิบายความหมายของโมลาริตี พร้อมทั้งแสดงการคำ�นวณตามตัวอย่าง 3 และ 4 และ อธบิ ายความหมายของโมแลลติ ี พรอ้ มทงั้ แสดงการค�ำ นวณตามตวั อยา่ ง 5 และ 6 จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี น ตอบค�ำ ถามจากตัวอย่างคำ�ถามทก่ี ำ�หนดให้ แลว้ เฉลยคำ�ตอบรว่ มกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 2 บทที่ 5 | สารละลาย 69 ตวั อย่างค�ำ ถาม จงเติมขอ้ มูลทเี่ ก่ียวกับสารละลาย A ในน้�ำ ลงในตารางท่ีกำ�หนดใหต้ ่อไปนี้ (มวลต่อโมลของ A เทา่ กบั 40 กรมั ต่อโมล และความหนาแนน่ ของสารละลายเท่ากบั 1.2 กรัมต่อมลิ ลิลติ ร) มวลของ A (g) ปรมิ าตรของ โมลารติ ี (M) โมแลลติ ี (m) 20 โมลของ A (mol) สารละลาย (mL) 250 แนวค�ำ ตอบ มวลของ A (g) ปรมิ าตรของ โมลารติ ี (M) โมแลลิตี (m) 20 โมลของ A (mol) 2.0 1.8 สารละลาย (mL) 250 0.50 7. ครูอธิบายความหมายของเศษส่วนโมล พร้อมทั้งแสดงการคำ�นวณตามตัวอย่าง 7 และ 8 จากนัน้ ครใู ห้นกั เรียนตอบค�ำ ถามจากตัวอย่างคำ�ถามทกี่ ำ�หนดให้ แลว้ เฉลยค�ำ ตอบร่วมกนั ตัวอยา่ งคำ�ถาม จงเตมิ ขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วกบั สารละลายกลโู คสในน�้ำ ลงในตารางทก่ี �ำ หนดใหต้ อ่ ไปนี้ (มวลตอ่ โมลของ กลโู คสและน้�ำ เทา่ กบั 180.18 และ 18.02 กรมั ตอ่ โมล ตามล�ำ ดับ) มวล มวล โมล โมล เศษสว่ นโมล รอ้ ยละโดยโมล ของน�ำ้ (g) ของกลโู คส (g) ของน�ำ้ ของกลโู คส ของกลโู คส ของกลโู คส 100.0 20.0 แนวคำ�ตอบ มวล มวล โมล โมล เศษสว่ นโมล รอ้ ยละโดยโมล ของน�ำ้ (g) ของกลโู คส (g) ของน�ำ้ ของกลโู คส ของกลโู คส ของกลโู คส 5.549 1.96 100.0 20.0 0.111 0.0196 8. ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ หนว่ ยความเขม้ ขน้ ของสารละลายสามารถเปลยี่ นจากหนว่ ยหนงึ่ ไป เปน็ อกี หนว่ ยหนง่ึ ได้ เชน่ รอ้ ยละเปน็ โมลาร์ โมลารเ์ ปน็ โมแลล โมแลลเปน็ เศษสว่ นโมล พรอ้ มทง้ั แสดง การคำ�นวณตามตวั อยา่ ง 9 – 12 9. ครูใหน้ ักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.1 เพอ่ื ทบทวนความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 70 แนวทางการวดั และประเมินผล 1. ความรู้เก่ียวกับหน่วยความเข้มข้นของสารละลายและวิธีการคำ�นวณความเข้มข้นของ สารละลายในหน่วยต่าง ๆ จากการอภิปราย การทำ�แบบฝกึ หัด และการทดสอบ 2. ทกั ษะการใช้จำ�นวน จากการท�ำ แบบฝกึ หดั 3. จิตวิทยาศาสตรด์ า้ นความใจกวา้ ง จากการสังเกตพฤตกิ รรมในการอภิปราย 4. จติ วทิ ยาศาสตรด์ ้านความรอบคอบ จากการท�ำ แบบฝึกหดั แบบฝกึ หดั 5.1 1. สินแร่ตัวอย่างชนิดหน่ึง 0.456 กรัม เม่ือนำ�มาวิเคราะห์พบว่ามีโครเมียม(III)ออกไซด์ (Cr2O3) อยู่ 0.560 มลิ ลกิ รมั สนิ แรต่ วั อยา่ งมโี ครเมยี ม(III)ออกไซด์ อยกู่ ส่ี ว่ นในลา้ นสว่ น มวลของ Cr2O3 = 0.560 mg Cr2O3 × 1 g Cr2O3 1000 mg Cr2O3 = 5.60 × 10-4 g Cr2O3 มวลของสารละลาย = 0.456 g ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย = มวลข อ ง C r 2 O 3 ( g ) × 106 ppm มวลของสนิ แร่ (g) = 5.60 × 10-4 106 ppm × 0.456 g = 1.23 × 103 ppm ดงั นน้ั ในสนิ แรต่ วั อยา่ งมโี ครเมยี ม(III)ออกไซดอ์ ยู่ 1.23 × 103 สว่ นในลา้ นสว่ น 2. ในการตรวจสอบน�ำ้ จากแหลง่ น�ำ้ แหง่ หนง่ึ พบวา่ มปี รมิ าณของเลด(II)ไอออน (Pb2+) 0.20 ส่วนในล้านส่วน และมีซิงค์(II)ไอออน (Zn2+) 3.00 ส่วนในล้านส่วน ถ้าแหล่งนำ้�น้ีมี ความกวา้ งเทา่ กบั 3.00 เมตร มคี วามยาวเทา่ กบั 10.00 เมตร และมนี �ำ้ อยลู่ กึ ประมาณ 1.50 เมตร ในแหลง่ น�ำ้ นม้ี เี ลด(II)ไอออนและซงิ ค(์ II)ไอออน ปนเปอ้ื นอยกู่ ก่ี รมั 1 m3 = 1000 L ปรมิ าตรของแหลง่ น�ำ้ = 3.00 m × 10.00 m × 1.50 m = 45.00 m3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 2 บทท่ี 5 | สารละลาย 71 เน่อื งจากสารละลายเจอื จางมาก ดงั น้นั จึงถือวา่ ปริมาตรของสารละลายในแหล่งนำ�้ เทา่ กบั ปรมิ าตรของน�ำ้ มวลของ Pb2+ 0.20 mg Pb2+ 1 g Pb2+ m3 H2O × 1010m03LHH2O2O = L H2O × 1 0 0 0 m g P b 2 + × 45.00 1 = 9.0 g Pb2+ มวลของ Zn2+ = 3 .0 0 Lm Hg2ZO n 2 + × 1 0 0 1 0 g m Z g n 2Z + n 2 + × 45.00 m3 H2O × 1000 L H2O 1 1 m3 H2O = 135 g Zn2+ ดงั นน้ั ในแหลง่ น�ำ้ นม้ี เี ลด(II)ไอออน 9.0 กรมั และซงิ ค(์ II)ไอออน 135 กรมั 3. จงค�ำ นวณความเขม้ ขน้ ในหนว่ ยโมลตอ่ ลติ รของสารละลายตอ่ ไปน้ี 3.1 โซเดยี มคลอไรด์ (NaCl) 3.0 โมล ในสารละลาย 0.650 ลติ ร 3.0 mol NaCl ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย NaCl = 0 . 6 5 0 L soln = 4.6 mol NaCl/L soln ดงั นน้ั สารละลายโซเดยี มคลอไรดม์ คี วามเขม้ ขน้ 4.6 โมลตอ่ ลติ ร 3.2 กรดไฮโดรคลอรกิ (HCl) 0.015 โมล ในสารละลาย 10 มลิ ลลิ ติ ร 0.015 mol HCl 1000 mL soln ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย HCl = 10 m L s o l n × 1 L soln = 1.5 mol HCl/L soln ดงั นน้ั สารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ มคี วามเขม้ ขน้ 1.5 โมลตอ่ ลติ ร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เลม่ 2 72 3.3 กลโู คส (C6H12O6) 400 กรมั ในสารละลาย 800 มลิ ลลิ ติ ร ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย C6H12O6 = 480 000g mCL6 Hs1o 2lOn 6 × 1 0 0 1 0 L m s oL l ns o ln × 1 mol C6H12O6 180.18 g C6H12O6 = 2.78 mol C6H12O6/L soln ดงั นน้ั สารละลายกลโู คสมคี วามเขม้ ขน้ 2.78 โมลตอ่ ลติ ร 3.4 โซเดยี มคารบ์ อเนต (Na2CO3) 53 กรมั ในสารละลาย 1 ลติ ร ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย Na2CO3 = 5 3 1 g L N sa o2 C l n O 3 × 1 mol Na2CO3 105.99 g Na2CO3 = 0.50 mol Na2CO3/L soln ดงั นน้ั สารละลายโซเดยี มคารบ์ อเนตมคี วามเขม้ ขน้ 0.50 โมลตอ่ ลติ ร 4. กรดเปอรค์ ลอรกิ (HClO4) มมี วลตอ่ โมล 100.46 กรมั ตอ่ โมล ถา้ สารละลายกรดนเ้ี ขม้ ขน้ 9.20 โมลต่อลิตร มีความหนาแน่น 1.54 กรัมต่อมิลลิลิตร จงคำ�นวณความเข้มข้นของ สารละลายนเ้ี ปน็ รอ้ ยละโดยมวล ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย HClO4 9.20 mol HClO4 100.46 g HClO4 1 L soln = 1 L s o ln × 1 m ol HClO4 × 1000 mL soln 1 mL soln × 1 .54 g sol n × 100 % = 60.0 %g HClO4/g soln ดงั นน้ั สารละลายกรดเปอรค์ ลอรกิ เขม้ ขน้ รอ้ ยละ 60.0 โดยมวล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 2 บทท่ี 5 | สารละลาย 73 5. สารละลายโซเดยี มคลอไรด์ (NaCl) เขม้ ขน้ 0.25 โมลตอ่ กโิ ลกรมั ถา้ สารละลายนม้ี โี ซเดยี ม คลอไรดล์ ะลายอยู่ 234 กรมั จะมนี �ำ้ กก่ี โิ ลกรมั มวลตอ่ โมลของ NaCl = 58.44 g/mol มวลของ H2O = 234 g NaCl × 1 mol Na C l × 1 kg H2O 58.44 g NaCl 0.25 mol NaCl = 16 kg H2O ดงั นน้ั สารละลายทม่ี โี ซเดยี มคลอไรด์ 234 กรมั จะมนี �ำ้ 16 กโิ ลกรมั 6. สารละลายโซเดยี มคลอไรด์ (NaCl) เขม้ ขน้ รอ้ ยละ 10.0 โดยมวล มคี วามเขม้ ขน้ กโ่ี มลตอ่ กโิ ลกรมั ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย NaCl = 1 0 .0 g Na Cl × 1 m ol Na C l × 1000 g H2O 90.0 g H2O 58.44 g NaCl 1 kg H2O = 1.90 mol NaCl/kg H2O ดงั นน้ั สารละลายโซเดยี มคลอไรดม์ คี วามเขม้ ขน้ 1.90 โมลตอ่ กโิ ลกรมั 7. จงค�ำ นวณหาเศษสว่ นโมลของกรดซลั ฟวิ รกิ (H2SO4) ในสารละลายกรดซลั ฟวิ รกิ เขม้ ขน้ 15.5 โมลตอ่ ลติ ร และมคี วามหนาแนน่ 1.760 กรมั ตอ่ มลิ ลลิ ติ ร มวลตอ่ โมลของ H2SO4 และ H2O เทา่ กบั 98.08 และ 18.02 g/mol ตามล�ำ ดบั มวลของสารละลาย = 1 L soln × 1001 0Lm s Lo l ns o l n × 1.760 g soln 1 mL soln = 1760 g soln มวลของ H2SO4 = 15.5 mol H2SO4 × 98.08 g H2SO4 1 mol H2SO4 = 1520.2 g H2SO4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 74 มวลของ H2O = 1760 g – 1520.2 g = 239.8 g โมลของ H2O = 239.8 g H2O × 118 .m02o lgHH22OO = 13.31 mol H2O เศษสว่ นโมลของ H2SO4 = จ�ำ นวนโมลของ H2SO4 H2O จ�ำ นวนโมลของ H2SO4 + จ�ำ นวนโมลของ = 15.5 mol H2SO4 15.5 mol H2SO4 + 13.31 mol H2O = 0.538 ดงั นน้ั เศษสว่ นโมลของกรดซลั ฟวิ รกิ ในสารละลายเทา่ กบั 0.538 8. จงค�ำ นวณเศษสว่ นโมลของทกุ องคป์ ระกอบในสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ (NaCl) เขม้ ขน้ รอ้ ยละ 10.0 โดยมวล มวลตอ่ โมลของ NaCl และ H2O เทา่ กบั 58.44 และ 18.02 g/mol ตามล�ำ ดบั จ�ำ นวนโมลของ NaCl = 10.0 g NaCl × 1 mol NaCl 58.44 g NaCl = 0.171 mol NaCl 1 mol H2O จ�ำ นวนโมลของ H2O = 90.0 g H2O × 18.02 g H2O = 4.99 mol H2O เศษสว่ นโมลของ NaCl = 0.171 mol NaCl (0.171 mol NaCl + 4.99 mol H2O) = 0.0331 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 2 บทท่ี 5 | สารละลาย 75 เศษสว่ นโมลของ H2O = 4.99 mol H2O (0.171 mol NaCl + 4.99 mol H2O) = 0.967 ดังนั้น เศษส่วนโมลของโซเดียมคลอไรด์เท่ากับ 0.0331 และเศษส่วนโมลของนำ้� เทา่ กับ 0.967 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เลม่ 2 76 5.2 การเตรียมสารละลาย จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายวิธีการและเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นในหน่วยโมลาริตีและปริมาตรตามท่ี กำ�หนด จากสารบรสิ ทุ ธ์ิ 2. อธิบายวิธีการและเตรียมสารละลายท่ีมีความเข้มข้นในหน่วยโมลาริตีและปริมาตรตามท่ี ก�ำ หนด ดว้ ยวิธีการเจือจางจากสารละลายเข้มขน้ แนวการจัดการเรียนรู้ 1. ครูใช้คำ�ถามนำ�ว่า ถ้าต้องการเตรียมสารละลายโซเดียมคลอไรด์ให้มีความเข้มข้นและ ปริมาตรตามท่ีต้องการ มีวิธีการเตรียมอย่างไร ซ่ึงควรได้คำ�ตอบว่า ต้องคำ�นวณปริมาณโซเดียม คลอไรด์ที่ใช้ นำ�มาละลายน้ำ�แล้วปรับปริมาตรตามที่ต้องการ จากน้ันนำ�เข้าสู่วิธีการเตรียม สารละลายจากสารบรสิ ุทธิ์และการเตรียมสารละลายเจอื จางจากสารละลายเข้มข้น 2. ครูอธิบายวิธีการเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธ์ิและการเตรียมสารละลายเจือจาง จากสารละลายเขม้ ข้น 3. ครูเปิดวีดิทัศน์หรือสาธิตวิธีการเตรียมสารละลายเพื่อแสดงข้ันตอนการเตรียม จากน้ัน ครูใหค้ วามรเู้ พม่ิ เติมเก่ยี วกับขอ้ แนะนำ�ในการเตรยี มสารละลายดงั นี้ - การเตรยี มสารละลายใหม้ คี วามเขม้ ขน้ ถกู ตอ้ ง จะตอ้ งชง่ั มวลและวดั ปรมิ าตรของสาร อยา่ งละเอยี ดเพือ่ ให้ไดค้ ่าถกู ตอ้ งทสี่ ุด - การปรับปริมาตร ไม่ควรเติมน้ำ�กลั่นเพียงครั้งเดียวให้ถึงขีดบอกปริมาตรของขวด ก�ำ หนดปรมิ าตร เพราะจะท�ำ ใหท้ ว่ี า่ งในขวดเหลอื นอ้ ย ไมส่ ะดวกในการเขยา่ สาร และไมค่ วรปรบั ปรมิ าตรเกนิ ขดี บอกปรมิ าตร เนอื่ งจากจะไมส่ ามารถค�ำ นวณความเขม้ ขน้ ของสารละลายทถี่ กู ตอ้ ง ได้ 4. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ท�ำ กจิ กรรม 5.1 เพอ่ื เตรยี มสารละลายจากสารบรสิ ทุ ธแิ์ ละเตรยี ม สารละลายเจอื จางจากสารละลายเข้มขน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 2 บทที่ 5 | สารละลาย 77 กจิ กรรม 5.1 การเตรยี มสารละลาย จุดประสงค์ของกจิ กรรม 1. ค�ำ นวณมวลของตวั ละลายเพ่อื ใชเ้ ตรยี มสารละลายใหม้ คี วามเข้มขน้ และปริมาตรตาม ตอ้ งการ 2. เตรียมสารละลายให้มคี วามเข้มขน้ และปรมิ าตรตามต้องการ เวลาทใ่ี ช้ อภปิ รายกอ่ นท�ำ กิจกรรม 10 นาที ท�ำ กจิ กรรม 30 นาที อภปิ รายหลงั ท�ำ กจิ กรรม 20 นาที รวม 60 นาที วัสดุ อปุ กรณ์ และสารเคมี ปริมาณตอ่ กลมุ่ รายการ 2.338 g 200 mL สารเคมี 1. โซเดยี มคลอไรด์ (NaCl) 1 เครือ่ ง 2. น�ำ้ กลน่ั 2 ใบ วัสดแุ ละอุปกรณ์ 1 อัน 1. เครือ่ งชัง่ 1 อนั 2. ขวดกำ�หนดปริมาตร ขนาด 100 mL 2 ใบ 3. ปิเปตต์แบบใช้ตวง ขนาด 10 mL 1 อนั 4. กรวยกรอง 1 ใบ 5. บีกเกอร์ 2 อัน 6. แทง่ แกว้ คน 7. ขวดน้�ำ กล่นั 8. หลอดหยด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 5 | สารละลาย เคมี เลม่ 2 78 ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรับครู 1. ครทู บทวนเทคนคิ และวธิ กี ารใชอ้ ปุ กรณใ์ นการเตรยี มสารละลาย เชน่ ปเิ ปตต์ ขวดก�ำ หนด ปรมิ าตร เครอ่ื งชง่ั 2. ครอู าจใหน้ กั เรยี นเตรยี มสารละลายโดยเปลย่ี นจากสารละลายโซเดยี มคลอไรดเ์ ปน็ สารอน่ื ไดต้ ามความเหมาะสม ตัวอย่างผลการทำ�กจิ กรรม ตอนที่ 1 เตรยี ม NaCl 0.40 mol/L ปริมาตร 100 mL มวลต่อโมลของ NaCl = 58.44 g/mol ค�ำ นวณมวล NaCl ทต่ี อ้ งใช้ มวล NaCl = 0.40 mol NaCl × 100 mL soln × 58.44 g NaCl × 1 L soln 1 L soln 1 mol NaCl 1000 mL soln = 2.3 g NaCl มวลของ NaCl ทีช่ ่งั ไดจ้ ริง = 2.338 g ดังน้ันการเตรียมสารละลายท�ำ ได้โดยชงั่ NaCl 2.338 กรมั แลว้ ละลายด้วยนำ�้ กล่ัน ในบกี เกอร์ เทสารใส่ลงขวดก�ำ หนดปริมาตรขนาด 100 mL ชะบีกเกอรแ์ ละแท่งแก้วคนดว้ ย นำ�้ กล่นั แล้วเทใสข่ วดก�ำ หนดปรมิ าตร หมนุ วนขวดก�ำ หนดปรมิ าตร จากนัน้ ปรบั ปริมาตร ดว้ ยนำ้�กล่นั คำ�นวณความเขม้ ข้นจรงิ ทไ่ี ดจ้ ากการเตรยี ม ความเขม้ ข้นของสารละลาย = 21.030 3 8m g L N s oa Cl n l × 1 m o l N a C l × 1000 mL soln 58.44 g NaCl 1 L soln = 0.4001 mol/L ดงั นน้ั ความเข้มขน้ ของสารละลายท่ีเตรียมไดจ้ ริงเท่ากบั 0.4001 mol/L สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 2 บทที่ 5 | สารละลาย 79 ตอนที่ 2 เตรียม NaCl 0.040 mol/L ปรมิ าตร 100 mL โดยเจือจางจากสารละลายท่ี เตรยี มไดใ้ นตอนท่ี 1 ค�ำ นวณจ�ำ นวนโมลของโซเดยี มคลอไรดเ์ ขม้ ขน้ 0.040 mol/L ปรมิ าตร 100 mL ที่ตอ้ งการเตรยี ม 0.040 mol NaCl 1000 mL soln จำ�นวนโมลของ NaCl = × 100 mL soln = 0.0040 mol ค�ำ นวณปรมิ าตรของ NaCl 0.4001 mol/L จากสารละลายตอนท่ี 1 ปรมิ าตรของสารละลาย = 0.0040 mol NaCl × 1000 mL soln 0.4001 mol NaCl = 10 mL ดงั นน้ั การเตรยี มสารละลาย ท�ำ ไดโ้ ดยปเิ ปตต์ NaCl 0.4001 mol/L (จากตอนท่ี 1) ปริมาตร 10 mL ใสล่ งขวดกำ�หนดปริมาตรขนาด 100 mL แล้วปรบั ปริมาตรด้วยน้�ำ กล่ัน อภปิ รายผลการท�ำ กิจกรรม 1. จากการทำ�กจิ กรรรมตอนท่ี 1 การเตรียม NaCl 0.40 mol/L ปรมิ าตร 100 mL ประกอบด้วยข้ันตอนหลัก คือ คำ�นวณมวลของ NaCl ท่จี ะใช้ ช่ังสารซึง่ ไดเ้ ท่ากบั 2.338 g แ ลว้ น�ำ มาละลายในน�ำ้ ป รบั ปรมิ าตรของสารละลายใหไ้ ดต้ ามตอ้ งการในขวดก�ำ หนดปรมิ าตร และเมอ่ื คำ�นวณความเข้มขน้ จริงของสารละลายที่ได้จากการเตรยี มจะได้วา่ สารละลายมี ความเข้มข้น 0.4001 mol/L 2. จากการทำ�กิจกรรรมตอนที่ 2 เตรียม NaCl 0.040 mol/L ปรมิ าตร 100 mL โดย เจือจางจากสารละลายทเ่ี ตรยี มไดใ้ นตอนที่ 1 ประกอบด้วยขั้นตอนหลกั คอื ค�ำ นวณ จ�ำ นวนโมลของตัวละลายในสารละลายในตอนท่ี 1 ซง่ึ เทา่ กับ 0.0040 mol และคำ�นวณ ปริมาตรสารละลายเข้มข้นที่จะใช้ได้เท่ากับ 10 mL เตรียมโดยปิเปตต์สารละลายใน ตอนที่ 1 ตามปรมิ าตรท่ีคำ�นวณได้ใส่ลงในขวดกำ�หนดปริมาตร และปรบั ปริมาตรของ สารละลายให้ได้ตามตอ้ งการในขวดก�ำ หนดปรมิ าตร 5. ครูใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามชวนคิดและค�ำ ถามตรวจสอบความเขา้ ใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 80 ชวนคิด ถา้ ปรบั ปรมิ าตรเกนิ ขดี บอกปรมิ าตร จะมผี ลตอ่ ความเขม้ ขน้ ของสารละลายอยา่ งไร ความเขม้ ขน้ ของสารละลายทไ่ี ดจ้ ะนอ้ ยกวา่ ทต่ี อ้ งการ ตรวจสอบความเขา้ ใจ 1. ถา้ ตอ้ งการเตรยี มสารละลายทม่ี คี วามเขม้ ขน้ 0.050 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตร 50 มลิ ลลิ ติ ร ตอ้ ง ใชโ้ พแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนตกก่ี รมั มวลตอ่ โมลของ KMnO4 = 158.04 g/mol มวลของ KMnO4 = 0 .015 0000m mo l L K s M o ln n O 4 × 50 mL soln × 158.04 g KMnO4 1 mol KMnO4 = 0.40 g KMnO4 ดงั นน้ั ตอ้ งใชโ้ พแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนต 0.40 กรมั 2. ถา้ ใชโ้ พแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนต 0.79 กรมั ในการเตรยี มสารละลายทม่ี คี วามเขม้ ขน้ 0.10 โมลตอ่ ลติ ร สารละลายทไ่ี ดม้ ปี รมิ าตรเทา่ ใด ปรมิ าตรของสารละลาย = 0.79 g KMnO4 × 1 m o l K M n O 4 × 1000 mL soln 158.04 g KMnO4 0.10 mol KMnO4 = 50 mL soln ดงั นน้ั สารละลายทไ่ี ดม้ ปี รมิ าตร 50 มลิ ลลิ ติ ร 3. ถา้ ตอ้ งการสารละลายโพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนตเขม้ ขน้ 0.003 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตร 75 มลิ ลลิ ติ ร จากสารละลายโพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนต เขม้ ขน้ 0.050 โมลตอ่ ลติ ร จะท�ำ ได้ อยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 2 บทท่ี 5 | สารละลาย 81 เนอ่ื งจากไมม่ ขี วดก�ำ หนดปรมิ าตรขนาด 75 mL จงึ ตอ้ งเตรยี มสารละลายปรมิ าตรเกนิ กวา่ ทต่ี อ้ งการ คอื 100 mL ค�ำ นวณจ�ำ นวนโมลของ KMnO4 ในสารละลายเขม้ ขน้ 0.003 mol/L ปรมิ าตร 100 mL ทต่ี อ้ งการเตรยี ม จ�ำ นวนโมลของ KMnO4 = 0 . 01 00 30 0m mo l L K s M o l nn O 4 × 100 mL soln = 3 × 10-4 mol KMnO4 ค�ำ นวณปรมิ าตรของ KMnO4 0.050 mol/L ทต่ี อ้ งใช้ ปรมิ าตรของสารละลาย = 3 × 10-4 mol 1000 mL soln KMnO4 × 0.050 mol KMnO4 = 6 mL soln การเตรยี มสารละลายท�ำ ไดโ้ ดยการปเิ ปตต์ KMnO4 0.050 mol/L ปรมิ าตร 6 mL ใสล่ งในขวดก�ำ หนดปรมิ าตรขนาด 100 mL แลว้ น�ำ มาเตมิ น�ำ้ กลน่ั ซง่ึ เปน็ ตวั ท�ำ ละลาย จน สารละลายมปี รมิ าตรเปน็ 100 mL จากนน้ั แบง่ มาใชป้ รมิ าตร 75 mL หมายเหตุ ค�ำ ถามตรวจสอบความเขา้ ใจนส้ี �ำ หรบั ใหน้ กั เรยี นฝกึ การค�ำ นวณเทา่ นนั้ ในทางปฏบิ ตั ิ จะไม่สามารถเตรียมสารละลาย KMnO4 ให้มีความเข้มข้นตามท่ีต้องการได้ เน่ืองจากเป็น สารทไ่ี มบ่ รสิ ทุ ธ์ิ 6. ครูอธิบายว่า การเตรียมสารละลายโดยทำ�ให้เจือจางเป็นการทำ�ให้ความเข้มข้นของ สารละลายลดลง เพราะวา่ ในสารละลายมีจำ�นวนโมลตวั ละลายคงท่ี แต่มีการเติมตัวทำ�ละลายลงไป เพือ่ ท�ำ ให้ปริมาตรของสารละลายเพิม่ ขนึ้ โดยใช้รปู 5.1 ประกอบการอธิบาย 7. ครูให้ความรู้เร่ืองการหาความเข้มข้นหรือปริมาตรของสารละลายท่ีได้จากการทำ� สารละลายเขม้ ขน้ ให้เจือจาง โดยใช้วธิ ีคำ�นวณจากสตู ร M1V1 = M2V2 พรอ้ มท้งั แสดงการค�ำ นวณ ตามตวั อย่าง 13 และ 14 8. ครูใหน้ กั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.2 เพ่ือทบทวนความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เล่ม 2 82 แนวทางการวัดและประเมนิ ผล 1. ความรเู้ กย่ี วกบั วธิ กี ารค�ำ นวณและวธิ กี ารเตรยี มสารละลายในหนว่ ยโมลตอ่ ลติ ร และปรมิ าตร ของสารละลายตามทก่ี �ำ หนด จากการท�ำ กจิ กรรม การอภปิ ราย การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบ 2. ทักษะการวดั จากการทำ�กิจกรรม 3. ทกั ษะการใช้จ�ำ นวน จากการทำ�กิจกรรม การท�ำ แบบฝึกหัด และการทดสอบ 4. ทักษะความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� จากการสังเกตพฤติกรรมขณะทำ� กจิ กรรม 5. ทกั ษะการสอื่ สารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทนั ส่อื จากการทำ�กจิ กรรมและการอภปิ ราย 6. จติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความรอบคอบ จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ กจิ กรรมและการท�ำ แบบฝกึ หดั 8. จติ วทิ ยาศาสตรด์ ้านการใชว้ ิจารณญาณ จากการสังเกตพฤติกรรมในการอภิปราย แบบฝกึ หดั 5.2 1. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) 2.00 โมลต่อลิตร จ�ำ นวน 250 มลิ ลลิ ติ ร จะตอ้ งใชโ้ พแทสเซยี มไอโอไดดก์ ก่ี รมั มวลตอ่ โมลของ KI = 166.00 g/mol มวลของ KI = 2. 00 mo l KI mL soln × 166.00 g KI 1000 mL so l n × 250 1 mol KI = 83.0 g KI ดงั นน้ั ตอ้ งใชโ้ พแทสเซยี มไอโอไดด ์ 83.0 กรมั 2. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต (MgSO4⋅7H2O) เข้มข้น 0.10 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตร 100 มลิ ลลิ ติ ร จะตอ้ งใชแ้ มกนเี ซยี มซลั เฟตเฮปตะไฮเดรตกก่ี รมั มวลตอ่ โมลของ MgSO4⋅7H2O = 246.51 g/mol มวลของ MgSO4⋅7H2O = 0 . 1 0 m1 0o0l0 Mmg SLOs 4o⋅7ln H2O × 100 mL soln × 2 46.51 g MgSO4⋅7H2O 1 mol MgSO4⋅7H2O สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 2 บทท่ี 5 | สารละลาย 83 = 2.5 g MgSO4⋅7H2O ดงั นน้ั จะตอ้ งใชแ้ มกนเี ซยี มซลั เฟตเฮปตะไฮเดรต 2.5 กรมั 3. เลด(II)ไนเทรต (Pb(NO3)2) 3.31 กรมั ใชเ้ ตรยี มสารละลายเขม้ ขน้ 0.25 โมลตอ่ ลติ ร ไดก้ ่ี มลิ ลลิ ติ ร มวลตอ่ โมลของ Pb(NO3)2 = 331.22 g/mol ปรมิ าตรของสารละลาย = 3.31 g Pb(NO3)2 × 1 m ol P b ( N O 3 )2 × 1000 mL soln 331.22 g Pb(NO3)2 0.25 mol Pb(NO3)2 = 40 mL soln ดงั นน้ั เตรยี มสารละลายได้ 40 มลิ ลลิ ติ ร 4. จงอธบิ าย 4.1. วิธีเตรียมสารละลายซิลเวอร์ไนเทรต (AgNO3) 0.100 โมลต่อลิตร ปริมาตร 250 มลิ ลลิ ติ ร จากผลกึ ซลิ เวอรไ์ นเทรต มวลตอ่ โมลของ AgNO3 = 169.88 g/mol ขน้ั ท่ี 1 ค�ำ นวณมวลของ AgNO3 มวลของ AgNO3 = 0 . 110000 0m molL A s go Nl n O 3 × 250 mL soln × 169.88 g AgNO3 1 mol AgNO3 = 4.25 g AgNO3 ข้นั ท่ี 2 ทำ�ให้เป็นสารละลาย โดยช่งั AgNO3 จำ�นวน 4.25 g นำ�มาละลายในนำ�้ เล็กน้อยจนละลายหมดแล้วเทใส่ขวดกำ�หนดปริมาตร จากน้นั เติมนำ�้ กล่นั ลงไปอีกจนได้ สารละลายปรมิ าตร 250 mL 4.2 วธิ เี ตรยี มสารละลายซลิ เวอรไ์ นเทรต 0.025 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตร 500 มลิ ลลิ ติ ร จาก สารละลายทเ่ี ตรยี มไดใ้ นขอ้ 4.1 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | สารละลาย เคมี เลม่ 2 84 ขน้ั ท่ี 1 หาปรมิ าตรของสารละลายในขอ้ 4.1 (เขม้ ขน้ 0.100 โมลตอ่ ลติ ร) ทต่ี อ้ งใช้ ปรมิ าตรสารละลาย = 1000 mL soln × 125 mL soln × 0.025 mol AgNO3 1000 mL soln 0.100 mol AgNO3 = 125 mL soln หรอื ค�ำ นวณโดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ M1V1 = M2V2 (0.100 mol/L) (V1) = (0.025 mol/L) (500 mL) (0.025 mol/L) (500 mL) V1 = (0.100 mol/L) = 125 mL ขน้ั ท่ี 2 ท�ำ สารละลายใหเ้ จอื จาง โดยปเิ ปตต์ AgNO3 0.100 mol/L ปรมิ าตร 125 mL แลว้ เตมิ น�ำ้ กลน่ั จนไดส้ ารละลายปรมิ าตร 500 mL ในขวดก�ำ หนดปรมิ าตร 5. ถา้ มแี บเรยี มคลอไรด์ (BaCl2) 2.08 กรมั และตอ้ งการเตรยี มสารละลายเขม้ ขน้ 0.050 โมล ตอ่ ลติ ร 5.1 ถา้ ตอ้ งการเตรยี มสารละลายเขม้ ขน้ 0.050 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตร 400 มลิ ลลิ ติ ร จะ ท�ำ ไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด มวลตอ่ โมลของ BaCl2 = 208.23 g/mol 0.10 0500 0mmoLl BsaoCl nl2 × 208.23 g BaCl2 1 mol BaCl2 มวลของ BaCl2 = × 400 mL soln = 4.2 g BaCl2 ถา้ ตอ้ งการเตรยี มสารละลาย BaCl2 0.050 mol/L ปรมิ าตร 400 mL ตอ้ งใช้ BaCl2 4.2 g แตโ่ จทยก์ �ำ หนดใหม้ ี BaCl2 2.08 g ดงั นน้ั จงึ ไมส่ ามารถท�ำ ได้ เพราะปรมิ าณของ BaCl2 ทม่ี อี ยไู่ มเ่ พยี งพอทจ่ี ะใชเ้ ตรยี มสารละลายทม่ี คี วามเขม้ ขน้ และปรมิ าตรดงั กลา่ วได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 2 บทที่ 5 | สารละลาย 85 5.2 สารละลายเขม้ ขน้ 0.050 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตรมากทส่ี ดุ ทจ่ี ะเตรยี มไดเ้ ปน็ เทา่ ใด ปรมิ าตรของสารละลาย = 2.08 g BaCl2 × 1 m o l B a C l 2 × 1000 mL soln 208.23 g BaCl2 0.050 mol BaCl2 = 2.0 × 102 mL soln ดงั นน้ั สามารถเตรยี มสารละลายไดป้ รมิ าตรมากทส่ี ดุ 2.0 × 102 มลิ ลลิ ติ ร 6. ถา้ ตอ้ งการเตรยี มสารละลายเลด(II)ไนเทรต (Pb(NO3)2) เขม้ ขน้ 0.050 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตร 100 มลิ ลลิ ติ ร จากสารละลายเลด(II)ไนเทรต เขม้ ขน้ 0.20 โมลตอ่ ลติ ร 6.1. ตอ้ งใชส้ ารละลายเลด(II)ไนเทรต เขม้ ขน้ 0.20 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตรกม่ี ลิ ลลิ ติ ร มวลตอ่ โมลของ Pb(NO3)2 = 331.22 g/mol ปรมิ าตรของสารละลาย = 100 mL soln × 0. 05100 0m0 oml (LPbso(NlnO 3 ) 2 × 1000 mL soln 0.20 mol Pb(NO3)2 = 25 mL soln หรอื ค�ำ นวณโดยใชค้ วามสมั พนั ธด์ งั น ้ี M1V1 = M2V2 V1 = (0.050 mol/L) (100 mL) (0.20 mol/L) = 25 mL ดงั นน้ั ตอ้ งใชส้ ารละลายเลด(II)ไนเทรต 0.2 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตร 25 มลิ ลลิ ติ ร 6.2 สารละลายทเ่ี จอื จางแลว้ มเี ลด(II)ไนเทรต ละลายอยกู่ ก่ี รมั มวลของ Pb(NO3)2 = 0 .051 000m0 oml PLbs (NolOn 3)2 × 100 mL soln × 331.22 g Pb(NO3)2 1 mol Pb(NO3)2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 5 | สารละลาย เคมี เลม่ 2 86 = 1.7 g Pb(NO3)2 ดงั นน้ั สารละลายเลด(II)ไนเทรตทเ่ี จอื จาง มเี ลด(II)ไนเทรตละลายอยู่ 1.7 กรมั 7. เมอ่ื ผสมสาร 2 ชนดิ ในแตล่ ะขอ้ ตอ่ ไปน้ี สารละลายผสมทไ่ี ดม้ คี วามเขม้ ขน้ กโ่ี มลตอ่ ลติ ร (เม่ือถือว่าปริมาตรของสารละลายผสมมีค่าเท่ากับผลรวมของปริมาตรของสารละลาย เรม่ิ ตน้ ) 7.1 สารละลายซงิ คซ์ ลั เฟต (ZnSO4) เขม้ ขน้ 0.60 โมลตอ่ ลติ ร ปรมิ าตร 70.0 มลิ ลลิ ติ ร กบั น�ำ้ 500 มลิ ลลิ ติ ร เม่ือผสมสารละลายจะพบว่าจำ�นวนโมลของ ZnSO4 ซ่ึงเป็นตัวละลายก่อนผสม กบั หลงั ผสมมคี า่ เทา่ กนั ขน้ั ท่ี 1 ค�ำ นวณจ�ำ นวนโมลของ ZnSO4 0.60 mol ZnSO4 1000 mL soln จ�ำ นวนโมลของ ZnSO4 = × 70.0 mL soln = 0.042 mol ZnSO4 ขน้ั ท่ี 2 ค�ำ นวณความเขม้ ขน้ ของสารละลายหลงั เตมิ น�ำ้ ปรมิ าตรสารละลายหลงั เตมิ น�ำ้ = 70.0 mL + 500 mL = 570.0 mL ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย = 0.50 7402 . 0m mo l L Z ns oS l On 4 × 1000 mL soln 1 L soln = 0.074 mol ZnSO4/L soln ดงั นน้ั สารละลายทไ่ี ดม้ คี วามเขม้ ขน้ 0.074 โมลตอ่ ลติ ร หรอื ค�ำ นวณโดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ M1V1 = M2V2 (0.60 mol/L) (70.0 mL) = (M2) (570.0 mL) M2 = (0.60 mol/L) (70.0 mL) (570.0 mL) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook