Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL)

การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL)

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-06-22 00:28:00

Description: การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL)

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ดำเนินงานโครงการอบรมและสัมมนาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ Universityณ of Helsinki ประเทศฟินแลนด์โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ได้แก่ ผู้บริหารนักวิชาการศึกษาสพฐ. และข้าราชการครูจากโรงเรียนแม่ข่ายทั้ง 9 เครือข่าย ครูโรงเรียนศูนย์สะเต็มศึกษาและศึกษานิเทศก์ รวมทั้งสิ้น 19 คน ระหว่างวันที่ 13-20 มีนาคม 2562
.
- การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL)
- แนวคิดต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้แบบ PhBL
- ประเด็นในการอภิปรายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL)
- ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบ PhBL
- ขั้นตอนการทำปฏิบัติการ (Work shop)

ที่มา :: กลุ่มพัฒนาการศึกษาสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Keywords: การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL),แนวคิดต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้แบบ PhBL

Search

Read the Text Version

ก กล่มุ พฒั นาการศึกษาสาหรับผูม้ ีความสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

ก บทสรุปสำหรับผู้บริหำร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน โดยสานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา ดาเนนิ งาน โครงการอบรมและสัมมนาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรส์ าหรบั ผู้มีความสามารถพเิ ศษด้าน วทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ ณ University of Helsinki ประเทศฟินแลนด์ โดยมผี ้เู ข้าร่วมโครงการในคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ ผ้บู ริหาร สพฐ. นักวชิ าการศึกษา และข้าราชการครูจากโรงเรยี นแมข่ ่ายทง้ั 9 เครือข่าย และครโู รงเรยี น ศนู ยส์ ะเต็มศึกษา รวมทั้งส้นิ 19 คน ระหว่างวันที่ 13-20 มนี าคม 2562 จากการอบรมและสมั มนาครั้งน้ี แบ่งออกเป็นหัวขอ้ ต่าง ๆ จานวน ๑๐ หวั ข้อ ดังต่อไปนี้ 1. Teacher training in Finland / ITE at Helsinki University Teacher Training School 2. Integration -Step by step - guide to successful pedagogical products 3. The role of practical activities in Science Education 4. ICT in Education ๕. An overview of phenomenon based learning ๖. Teaching and learning methods of phenomenon based learning ๗. Implementation of phenomenon based learning ๘. The evaluation of phenomenon based learning ๙. School visit : Auroran Koulu in Espoo ๑๐. School visit : Etelä Tapiola Lukio in Espoo โดยคณะผูจ้ ัดทารายงานมีข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้การจดั การเรียนการสอนโดยใชป้ รากฏการณ์ เปน็ ฐานในประเทศไทยดงั นี้ ๑. การจัดการเรียนการสอนโดยใชป้ รากฏการณ์เปน็ ฐานนั้น จดุ เด่นคอื การจัดการเรยี นรู้ แบบ active learning และ สหวิทยาการ โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ซึ่ง ในประเทศไทยมีการนาการเรียนการสอนแบบ active learning อยแู่ ล้ว แตย่ งั ไม่มีการนา สหวิทยาการมาใช้อย่างชัดเจน ดังนนั้ หากมาปรบั ใช้ในประเทศไทย ครูจะต้องวางแผนเป็นลาดับข้ันคือการเร่ิมทดลองจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนของตนเองก่อน แล้ว ทาการศึกษาวจิ ัย วา่ มจี ดุ ดีจุดเดน่ อยา่ งไร จากนน้ั ก็ขยายผลตอ่ ไปในระดับโรงเรียน(นาร่อง) และระดับประเทศ นอกจากน้ีในการวางแผนการสอนในการจัดการเรยี นรู้แบบ PhBL ก็ให้นาหลักการ PEE เข้ามาช่วยในการวาง แผนการสอน ๒. ต้นแบบการจัดการเรียนรู้ ในปัจจุบันที่ประเทศไทยมีการสร้างความตระหนักและกระตุ้นให้ครู จัดการเรียนรู้โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ และครูมีการนาไปใช้ในห้องเรียนได้แล้วในระดับหน่ึงแต่ยังมีจานวนไม่ มาก ซึ่งครูยังใช้รูปแบบการสอนแบบเก่า เหมือนภาพที่ครูเคยเห็นมาในตอนสมัยเรียน และมีการยึดติดกับ เนอ้ื หาวชิ ามากกว่าการฝึกทักษะ กระบวนการ จากการสังเกตช้ันเรยี นในประเทศฟนิ แลนด์ ซ่งึ เป็นประเทศที่มี คุณภาพการจัดการศึกษาเป็นอันดับหนึ่งของโลก ยิ่งเห็นได้ว่าครูมีการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม Active กลุ่มพฒั นาการศกึ ษาสาหรับผมู้ ีความสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน

ข learning ผู้เรียนเป็นผู้ค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง ผ่านการปฏิบัติกิจกรรมท่ีครูทาหน้าที่เป็นผู้อานวยความ สะดวกในการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ Phenomenon based learning ทาให้ผู้เรียนได้เห็น ความเช่ือมโยงของเรื่องที่เรยี นในห้องเรยี นกบั ชีวิต และเห็นความเก่ียวโยงกันของความรู้ในวิชาต่างๆ และการ จัดการเรยี นร้ทู ีเ่ น้นกระบวนการ ซ่ึงนาไปสกู่ ารพฒั นาสมรรถนะดา้ นต่างๆของผเู้ รยี น ๓. บรรยากาศการจัดห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผเู้ รยี น มีอุปกรณท์ ่ชี ่วยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการ จัดการเรียนรู้ ได้แก่ กลอ่ งชาร์จแทบ็ เล็ต โตะ๊ เก้าอ้ี คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์และเคร่ืองฉาย ในประเทศไทย ต้องยอมรับว่ายังมีห้องเรียนอีกจานวนมากที่ขาดอุปกรณ์เหล่านี้ ซึ่งมีผลทาให้เกิดความเหลื่อมล้าของคุณภาพ การศึกษา ๔. พฤติกรรมเชิงบวกของครูท่ีกระตุ้นให้เกิดการเรยี นร้ขู องเด็ก เห็นได้จากครูรอคอย/ยอมรับคาตอบ ของผู้เรียน ไม่ตัดสินว่าคาตอบนั้นถูกผิด แต่จะคอยกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดออกมาและให้คาชมเชย อยู่เสมอ ซึ่งยังมีครูไทยอยู่จานวนหน่ึงที่จัดการช้ันเรียนด้วยพฤติกรรมเชิงลบทาให้สกัดก้ันความคิดสร้างสรรค์ และทาให้เด็กไม่กลา้ แสดงออก ๕. สาหรับกิจกรรมเชิงปฏิบัติการสาหรับวิทยาศาสตร์ศึกษาน้ันมีความเหมาะสมเป็นอย่างย่ิงในการ ประยุกต์ใช้กับการรเรียนการสอนในประเทศไทย เน่ืองด้วยส่งเสริมให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการ เรียนรู้ และสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่เพ่ือใชใ้ นการพัฒนา และแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจริงในชวี ิตประจาวัน โดย สังเกตว่ากระบวนการท่ีใช้ในประเทศฟินแลนด์น้ัน มีกระบวนการที่ไม่ค่อยแตกต่างจากไทยมากนักเพียงแต่มี การใชอ้ ย่างจิงจงั มากกวา่ และหวั ขอ้ ทใี่ ชใ้ นการศึกษากม็ ีความกวา้ งและสอดคล้องกับปัญหาในระดับโลกและมี การเช่ือมโยงกับระดับท้องถ่ินได้อย่างกว้างขวาง ดังนั้น การปรับให้เข้ากับประเทศไทย จึงไม่ใช่เร่ืองยากมาก นกั โดยนา่ จะสามารถสง่ เสรมิ ผา่ น กจิ กรรม STEM เพยี งแต่มีการปรบั แนวคดิ และหัวข้อใหก้ วา้ งขน้ึ ๖. จากการศึกษาดูงานพบว่าการใช้ ICT ในด้านการจัดการเรียนการสอนของประเทศฟินแลนด์และ โรงเรียนท่ีมีความพร้อมในประเทศไทยไม่มีความแตกต่างกันมากนัก ปัจจุบันการศึกษาของประเทศไทยได้ใช้ ประโยชน์ของระบบ ICT ทั้งทางด้านการติดต่อส่ือสาร การจัดการเรียนรู้ การติดตามนักเรียนทั้งด้านการเข้า เรียน การส่งงาน การทาแบบฝึกหัด และผลการเรียน ซึ่งนักเรียนสามรถติดต่อได้อย่างง่าย สะดวก โรงเรียน บางแห่งใช้โปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆ เพื่อช่วยในการจัดการเรียนการสอน เช่น Facebook Line Youtube สื่อ หรือบทเรียนออนไลน์ที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน Office 365 เกมส์ออนไลน์ ฯลฯ แต่ก็มีนักเรียนส่วนหนึ่ง นาเอาคอมพิวเตอร์ไปใชใ้ นทางทผี่ ิดๆ เช่น เล่นเกมส์ หรือเข้าเวปไซต์ท่ไี มเ่ หมาะสม ๗. กระทรวงศึกษาธิการมีแผนหลักในเร่ืองการใช้ ICT เพ่ือพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ มีเป้าหมายให้ ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสเข้าถึงและสามารถใช้ ICT ตามมาตรฐานหลักสูตร ซึ่งจะประกอบด้วยเร่ืองสาคัญ เช่น ความหมายของข้อมูล แหล่งขอ้ มูล การจดั เก็บและเรียกใช้ สว่ นประกอบหลกั ของคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ และ การใชร้ ะบบปฏิบัติการ การใช้คอมพวิ เตอร์ การใช้เทคโนโลยีกบั ภูมิปัญญาท้องถ่ินและสากลความรู้และการใช้ เครือข่ายค้นคว้า วิเคราะห์ภาษาคอมพิวเตอร์ และการพัฒนาโปรแกรม ซ่ึงกรอบหลักสูตรดังกล่าว จะมีความ ยากง่าย เป็นข้ันตอน ครู อาจารย์ จะเป็นส่วนสาคัญมากที่จะพัฒนาความรู้ กระบวนการ ถ่ายทอดความรู้ ให้ เดก็ เรยี นอยา่ งเข้าใจและสนุกสนาน รวมทั้งใช้เพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวิต คณุ ภาพการทางานของครู อาจารย์ เดก็ และผ้ปู กครองทีเ่ กย่ี วข้องทกุ คน กล่มุ พัฒนาการศกึ ษาสาหรบั ผู้มีความสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน

ค ๘. การจัดสถานที่ ในฟนิ แลนด์ มีรปู แบบทก่ี าหนดให้สถานท่ีในโรงเรยี นมีความเหมาะสมกบั นักเรียนที่ จะเล่น มุมพักผ่อน เรียนรู้ หรือมุมท่ีเป็นส่วนตัวแก่นักเรียนได้ตามความต้องการของแต่ละบุคคล ซึ่งเป็นการ เน้นและเปดิ โอกาสให้นักเรียนไดแ้ สดงตัวตนของตนเอง หรือเลอื กทาในสิ่งท่ีตนสนใจได้อยา่ งหลากหลาย ๙. การบริหารจัดการในโรงเรียนท่ีเน้นความเท่าเทียม ความเสมอภาค และการให้พื้นท่ีแลกเปล่ียน ระหวา่ งครกู ับนกั เรียน และครกู บั ครดู ้วยกนั ๑๐. กระบวนการจัดการเรียนการสอน ท่ีกาหนดสถาณการณ์ หรือ ประเด็น ท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียน วิพากษ์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น ระหว่างเพ่ือนนักเรียนด้วยกัน และระหว่างเพื่อนนักเรียนกับครู โดยให้การ ยอมรับในทุกความคิดเห็น ซ่ึงเป็นปัจจัยพ้ืนฐานของกระบวนการประชาธิปไตย ท่ีถูกปลูกฝังในห้องเรียน โดย ไม่เน้นการแข่งขันว่าเพอ่ื ให้ได้ผลการประเมนิ ท่สี ูงกว่า ๑๑. การประเมินผลการเรียน ควรแบ่งสัดส่วนเป็น สมรรถนะ เนื้อหา และการประยุกใช้ ให้มีความ ใกล้เคยี งกนั เพ่อื ใหน้ กั เรยี นมแี นวทางในการนาเนอ้ื หา และสมรรถนะ ท่ีได้รบั ไปประยุกตใ์ ช้ไดจ้ ริง กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษาสาหรับผูม้ คี วามสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

ง กิตติกรรมประกำศ โครงการอบรมและสัมมนาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สาหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้าน วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ณ University of Helsinki ประเทศฟินแลนด์จะไม่สามารถเกิดข้ึนได้หาก ปราศจากความรว่ มมอื ทัง้ ภาครฐั และเอกชน ศงึ่ มีรายนามดงั ต่อไปน้ี กราบขอบพระคุณ ท่านบุญรักษ์ ยอดเพชร เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ีมอบ นโยบายและโอกาสในการเรียนร้แู ก่คณะผู้จดั ทารายงาน ขอบพระคณุ ท่าน ผอ.วันชัย ธงชยั ผู้อานวยการสานกั การคลงั และสนิ ทรัพย์ ทใ่ี ห้คาปรึกษา และมอบ แนวคดิ ทีม่ ปี ระโยชน์ตลอดการเดินทาง ขอบพระคุณ ท่าน ผอ.โชติมา หนูพริก ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถ พิเศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ท่ีประสานงานกับหน่วยจัดอบรม และอานวยความสะดวก จนสามารถทาใหง้ านคร้ังนี้สาเรจ็ ลงไดอ้ ยา่ งประทับใจทุกภาคสว่ น ขอบพระคุณอาจารย์นพดล หอทอง และอาจารย์พัชรา พุ่มพชาติ ท่ีประสานงาน University of Helsinki และหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังของประเทศไทยและประเทศฟินแลนด์จนสามารถสรา้ งโอกาสในการเรยี นรู้ ครั้งนี้ ขอขอบคุณคุณดารากร เพ็ญศิริ นักวิเทศสัมพันธ์สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคอยประสานงาน อานวยความสะดวกด้านการสื่อสาร และให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ ในอบรมสัมมมาในคร้งั นี้ ขอขอบคุณ คณะวิทยากรจากและ ทีม Facilitators จาก The Normal Lyceum of Helsinki, Faculty of Behavioral Sciences in University of Helsinki ทุกท่านท่ีจัดการอบรมและจัดกระบวนการ เรียนรู้ ทาให้เขา้ ใจ Phenomenon based learning มากยิ่งขน้ึ และในท้ายที่สุดขอขอบคุณคณะเดินทาง และผู้อยู่เบื้องหลังที่ไม่อาจเอ่ยนามได้หมดส้ินท่ีให้โอกาสใน การพฒั นาตนเองเพอื่ ร่วมพฒั นาคุณภาพการศึกษาไทยต่อไป คณะผ้จู ดั ทารายงาน เมษายน 2562 กลมุ่ พัฒนาการศึกษาสาหรบั ผ้มู คี วามสามารถพิเศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

จ คำนำ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ดาเนินงาน โ ค ร ง ก า ร อ บ ร ม แ ล ะ สั ม ม น า ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ส า ห รั บ ผู้ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ พิ เ ศ ษ ด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ณ University of Helsinki ประเทศฟินแลนด์ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการใน คร้ังน้ีได้แก่ ผู้บริหาร สพฐ. นักวิชาการศึกษา และข้าราชการครูจากโรงเรียนแม่ข่ายท้ัง 9 เครือข่าย ครโู รงเรยี นศูนยส์ ะเต็มศึกษา และศึกษานิเทศก์ รวมทง้ั สนิ้ 19 คน ระหว่างวนั ที่ 13-20 มนี าคม 2562 บัดนี้การอบรมสัมมนาดังกล่าวได้เสร็จส้ินเรียบร้อยแล้ว คณะผู้เข้าร่วมอบรมจึงจัดทารายงานฉบับน้ี ข้ึนเพ่ือสรุปความรู้ท่ีได้รับจากการอบรม และรวบรวมเอกสารต่าง ๆ ไว้ในภาคผนวก เพ่ือใช้เป็นข้อมูลให้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และผู้สนใจสาหรับศึกษาเนื้อหาต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการ อบรมคร้ังนี้ คณะผู้จัดทารายงาน เมษายน 2562 กลุ่มพัฒนาการศกึ ษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ฉ สำรบญั รำยกำร หนำ้ 1. An overview of phenomenon based learning ๔ - การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณเ์ ปน็ ฐาน (Phenomenal based learning : 4 PhBL) - แนวคดิ ตา่ ง ๆ ที่ส่งผลต่อประสิทธภิ าพในการจดั การเรยี นรู้แบบ PhBL 5 - ประเดน็ ในการอภิปรายเกี่ยวกบั การจัดการเรยี นรู้โดยใช้ปรากฎการณเ์ ป็นฐาน 6 (Phenomenal based learning : PhBL) 8 2. Teaching and learning methods of phenomenon based learning 8 - ขน้ั ตอนการจดั การเรยี นรู้แบบ PhBL 8 - ขั้นตอนการทาปฏิบัติการ (Work shop) 11 11 3. Implementation of phenomenon base learning 12 - ข้นั ตอนการจดั การเรียนรู้ร่วมกันระหวา่ งรายวชิ า 14 - ตวั อยา่ ง การจดั การเรียนการสอนร่วมระหวา่ งวิชาฟิสกิ ส์และวิชาประวตั ศิ าสตร์ 14 14 4. The Evaluation of Phenomenon Based Learning 15 - ลักษณะเดน่ ของการประเมินในประเทศฟินแลนด์ 17 - ลกั ษณะทว่ั ไปของการประเมินในประเทศฟินแลนด์ 17 - ตัวอย่างการประเมินผล 19 19 5. Teacher Training in Finland 21 - การฝึกหดั ครใู นประเทศฟินแลนด์ 21 21 6. Integration “Step by step” guide to successful pedagogical products 21 - การสอนแบบ Step by step 21 22 ๗. The role of practical activity in science education 22 - กิจกรรมเชิงปฏบิ ัติในวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา - เปา้ หมายของการใช้กจิ กรรมเชงิ ปฏบิ ัติ - บทบาทของกจิ กรรมเชงิ ปฏบิ ัติ - การเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเปน็ ฐานในวิทยาศาสตรศ์ ึกษา - บทบาทสาคญั ของครใู นการเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน - การแสดงตัวอย่างกิจกรรม ท่ีใช้การสอนแบบ กิจกรรมเชิงปฏิบัติซึ่งใช้การเรียนรู้แบบ โครงงานเปน็ ฐาน กลุม่ พฒั นาการศึกษาสาหรับผมู้ ีความสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

ช สำรบัญ รำยกำร หน้ำ 8. ICT in Education เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการศกึ ษา 24 - เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ใน Finnish education 24 - ด้านโครงสร้างพ้นื ฐานภายในหอ้ งเรยี น 24 - การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการศึกษาใน Normaalilyseo 25 - ข้อสังเกต 26 29 9. School visit - Auroran Koulu in Espoo 29 - การจัดห้องเรยี น 30 - การสงั เกตช้นั เรยี น ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 วิชาวทิ ยาศาสตร์ 31 - การสังเกตช้ันเรยี น ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 วชิ าตัดเยบ็ เส้ือผา้ และ งานไม้ 32 32 10. School visit - Etela Tapiola Lukio in Espoo 35 - กำรศึกษำระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำยในประเทศฟนิ แลนด์ - กำรจดั กำรเรยี นรู้เพอื่ มุ่งสกู่ ำรเป็นผปู้ ระกอบกำร ข้อเสนอแนะในกำรประยุกต์ใช้ในประเทศไทย 38 ภำคผนวก 40 - ภำคผนวก ก กาหนดการโครงการสง่ บุคลากรเขา้ รว่ มโครงการฝึกอบรมและสัมมนาการ 41 จัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ สาหรับผู้มคี วามสามารถพเิ ศษทางด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ณ University of Helsinki ประเทศฟนิ แลนด์ ระหวา่ งวนั ที่ 13 – 20 46 มีนาคม 2562 - ภำคผนวก ข ผู้เขา้ ร่วมโครงการสง่ บุคลากรเข้ารว่ มโครงการฝกึ อบรมและสัมมนาการ 51 จัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรส์ าหรบั ผมู้ ีความสามารถพิเศษทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ณ University of Helsinki ประเทศฟนิ แลนด์ระหว่างวนั ที่ 13 – 20 มนี าคม 2562 - ภำคผนวก ค รายช่อื ผู้จัดทารายงานโครงการส่งบุคลากรเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมและ สมั มนาการจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์สาหรบั ผ้มู ีความสามารถพเิ ศษทางด้าน วิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ณ University of Helsinki ประเทศฟนิ แลนด์ระหวา่ งวันท่ี 13 – 20 มนี าคม 2562 กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษาสาหรับผ้มู ีความสามารถพิเศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

๑ รำยงำนโครงกำรสง่ บคุ ลำกรเข้ำร่วมโครงกำรฝกึ อบรมและสมั มนำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนวิทยำศำสตร์ สำหรบั ผูม้ ีควำมสำมำรถพิเศษด้ำนวิทยำศำสตร์ และคณิตศำสตร์ ณ University of Helsinki ประเทศฟินแลนด์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ดาเนินงาน โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี พร้อมทั้งพัฒนาไปสู่ความเป็นนักวิจัย นักประดิษฐ์ คิดค้น ด้านวิทยาศาสตร์ท่ีมีคุณภาพระดับสากล มีโรงเรียนในโครงการ 220 แห่ง ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่ว ประเทศ นั้น สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนาการจัดการ เรยี นการสอนสาหรับผู้มีความสามารถพเิ ศษทางดา้ นวิทยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ โดยเฉพาะครูผูจ้ ดั กิจกรรม การเรียนรูใ้ หก้ ับนักเรียน จงึ เห็นควรส่งบคุ ลากรเข้าฝึกอบรมและสัมมนาเพื่อพฒั นาศักยภาพครูให้มีการจัดการ เรียนการสอนสาหรับนกั เรียนผู้มีความสามารถพเิ ศษอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเหมาะสมกบั ศกั ยภาพและความ แตกต่างระหว่างบุคคล ณ University of Helsinki ประเทศฟินแลนด์ ซึ่งเป็นประเทศที่มีการจัดการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีการศึกษาดีที่สุด จะเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ให้กับครูวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยกิจกรรม สอดคล้องกับจุดเน้น สพฐ. และสนองนโยบายการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับการศึกษา ขั้น พื้น ฐ า น แ ล ะ STEM Education ที่บูร ณ า ก า ร ค ว า ม รู้ร ะ ห ว่า ง ศ า ส ต ร์กับวิทยาการต่างๆ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่เคยได้ขอเสนอ งบประมาณจากสานักงบประมาณไว้ ครูผู้เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้เป็นครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ที่เป็นต้นแบบ ในการ จัดการเรียนการสอนของโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม และ สามารถนาองค์ความรู้ท่ีได้ มาขยายผลให้กับครใู นโครงการ ท้ัง 220 โรงเรียน เช่น การจดั การเรยี นการสอนแบบคดิ เชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Thinking) การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project- based Learning) การสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ (Science Communication) และวิทยาการคานวณ (Computing Science) ซ่ึงเป็นกระบวนการคิดเชิงวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และสามารถนามาปรับใช้เพ่ือแก้ไขปัญหาได้ อย่างสร้างสรรค์ในสาขาวิชาต่างๆ อีกท้ังยังทาหน้าท่ีเป็นผู้ประสานงานของโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม ที่มีความเสียสละและมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย ด้วยดีเสมอมา ท้ังน้ี สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ได้ประสานกับ University of Helsinki แล้ว และทาง มหาวิทยาลัยให้การสนับสนุนด้วยความยินดียิ่ง โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการในครั้งน้ีได้แก่ ผู้บริหาร สพฐ. นักวิชาการศึกษา และข้าราชการครูจากโรงเรียนแม่ข่ายท้ัง 9 เครือข่าย และครูโรงเรียนศูนย์สะเต็มศึกษา รวมทั้งสิ้น 19 คน ดังรายชอื่ ตอ่ ไปน้ี ๑. นายบุญรกั ษ์ ยอดเพชร เลขาธกิ าร กพฐ. กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษาสาหรบั ผูม้ คี วามสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

๒ ๒. นายวันชัย ธงชยั ผู้อานวยการสานกั การคลงั และสินทรัพย์ ๓. นางสาวโชตมิ า หนพู ริก นักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ ๔. นางสาวพรเพ็ญ ทองสมิ า นกั วชิ าการศึกษาชานาญการพเิ ศษ ๕. นายเอกสิทธ์ิ ปยิ ะแสงทอง ครูชานาญการช่วยราชการ สวก. ๖. นายนพพร แสงอาทิตย์ นกั วชิ าการศกึ ษาชานาญการ ๗. นางสภุ ารัตน์ น้อยนาง ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการพเิ ศษ สพป.อุบลราชธานี เขต 3 ๘. นางสาวศุภวิตา จรรยา ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการพเิ ศษ สพป.บรุ ีรมั ย์ เขต ๒ ๙. นายธนกฤต เลศิ ลา้ ครชู านาญการ โรงเรียนหอ้ งสอนศึกษา ๑๐. นางสาวมณศิ า ช่นื จติ ครูชานาญการ โรงเรียนศรทั ธาสมทุ ร ๑๑. นางสาวเกวลนิ ทร์ ท่วมกลาง ครปู ฏบิ ตั ิการ โรงเรียนสุรนารวี ิทยา ๑๒. นางสาวศวิ พร ศรจี รัญ ครชู านาญการ โรงเรยี นชลกันยานุกลู ๑๓. นางสาวอภณิ ห์พร มาน่ิม ครชู านาญการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลยั ๑๔. นางสาวพชั ราภรณ์ ทองนาค ครูผู้ชว่ ย โรงเรียนพษิ ณุโลกพทิ ยาคม ๑๕. นางสาวปริดา โชติเชย ครปู ฏบิ ัตกิ าร โรงเรยี นเบญจมราชูทิศ ๑๖. นายธวชั แพรกทอง ครปู ฏบิ ตั กิ าร โรงเรียนหาดใหญว่ ิทยาลยั ๑๗. นายระชานนท์ ศรเี พชร ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย ๑๘. นางสริ ริ ตั น์ ประจักษว์ วิทย์ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์ ๑๙. นางดารากร เพญ็ ศิริ นักวเิ ทศสัมพันธ์ชานาญการ จากการอบรมและสัมมนาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ ด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ณ University of Helsinki ประเทศฟินแลนด์ ได้ทาการสรุปองค์ความรู้ ออกเปน็ หวั ขอ้ ตา่ ง ๆ จานวน ๑๐ หัวขอ้ ดังตอ่ ไปน้ี 1. Teacher training in Finland / ITE at Helsinki University Teacher Training School 2. Integration -Step by step - guide to successful pedagogical products 3. The role of practical activities in Science Education 4. ICT in Education ๕. An overview of phenomenon based learning ๖. Teaching and learning methods of phenomenon based learning ๗. Implementation of phenomenon based learning ๘. The evaluation of phenomenon based learning ๙. School visit : Auroran Koulu in Espoo ๑๐. School visit : Etelä Tapiola Lukio in Espoo กลุ่มพฒั นาการศึกษาสาหรับผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

๓ (ก) (ข) (ค) ภำพที่ 1 ผ้บู รหิ าร สพฐ. นกั วิชาการศกึ ษา และขา้ ราชการครผู ูเ้ ข้ารว่ มโครงการ (ก) ผู้บริหาร สพฐ. นักวชิ าการศกึ ษาเข้าพบนายนพพรอจั ฉริยวนชิ เอกอัครราชทูต ณ กรุงเฮลซิงกิ ประเทศ ฟนิ แลนด์ (ข) การประชมุ After Action Review (AAR) (ค) ผูบ้ รหิ าร สพฐ. นักวิชาการศกึ ษารับวุฒบิ ตั รการอบรมจาก University of Helsinki โดยแตล่ ะหวั ขอ้ จะมผี ู้รบั ผดิ ชอบสรุปองค์ความรู้ (ภาคผนวก ค) แล้วนาเสนอในการประชมุ After Action Review (AAR) ทุกวนั ท่เี ข้ารับการอบรมและสมั มนา แลว้ ทาการวเิ คราะห์เปรยี บเทียบกบั บริบทของประเทศ เพ่อื นาแนวคดิ มาปรับใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยมีรายละเอยี ดในแตล่ ะหัวข้อดงั น้ี กลุ่มพฒั นาการศกึ ษาสาหรับผ้มู คี วามสามารถพิเศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

๔ 1. An overview of phenomenon based learning (ภำพรวมของกำรจัดกำรเรยี นรู้โดยใช้ปรำกฎกำรณ์เปน็ ฐำน) วทิ ยำกร 1. Mr.Taneli Nordberg 2. Mr.Ilkka Ahola-Luttila กำรจดั กำรเรียนรู้โดยใชป้ รำกฎกำรณเ์ ปน็ ฐำน (Phenomenal based learning : PhBL) การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL) หมายถึง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์ต่าง ๆ เป็นจุดเร่ิมต้นในการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยอาศัย แนวคิดพื้นฐานที่ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้เอง (Constructivism) ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active learning) เช่น การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem based learning) การเรียนรู้โดย ใ ช้ โ ค ร ง ง า น เ ป็ น ฐ า น ( Project based learning) ฯ ล ฯ โ ด ย ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ PhBL เปน็ การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary Integration) ซ่ึงลักษณะสาคัญของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานน้ันคือ เน้นการเรียนรู้แบบ สหวิทยาการ (Inter Disciplinarity) โดยไม่แบ่งรายวิชาเหมือนการจัดการศึกษาทั่วไป และเรียนรู้ผ่าน ปรากฏการณ์ท่ีเป็นสภาพจริง (ปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนในอดีต ปัจจุบัน หรือปรากฏการณ์ที่มีแนวโน้มที่จะ เกิดขึ้น) โดยในการเรียนรู้นั้นจะเน้นการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) เช่น ใช้กระบวนการจัดการ เรียนรู้แบบ ปัญหาเปน็ ฐาน เนน้ ใหน้ กั เรยี นไดส้ ืบเสาะหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ได้สงั เคราะหค์ วามรู้ และแก้ปัญหา ดว้ ยตนเอง ท้ังน้ีในประเทศฟินแลนด์ก็ได้ปฏิรูปการศึกษาในประเทศ โดยใช้การจัดการเรียนรแู้ บบ PhBL ซึ่งส่ิงท่ี เปลีย่ นไปในระบบการศกึ ษาอย่างชัดเจน คือ 1. ในหลกั สูตรของประเทศฟินแลนด์ได้มีการกาหนดให้ ในหน่ึงปกี ารศึกษาจะต้องมีการจัดการเรียนรู้ แบบ PhBL อยา่ งนอ้ ย 1 ครัง้ 2. คณะครูจะต้องส่งเสริมให้นักเรียนเชื่อมโยงความรู้ในรายวิชาอ่ืน ๆ เพ่ือให้เข้ากับบริบทเพ่ือทาให้ เกดิ กระบวนการเรียนร้รู ว่ มกันกับรายวชิ าของตนเอง (Cross curricular learning) 3. สาระวชิ าตา่ ง ๆ ยังคงแยกสอนตามรายวิชา แต่เนน้ การบรู ณาการระหวา่ งรายวิชามากขน้ึ กลุ่มพัฒนาการศกึ ษาสาหรบั ผ้มู คี วามสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

๕ (ก) (ข) ภำพท่ี ๒ การอบรมและสัมมนา An overview of phenomenon based learning (ก) บรรยากาศการอบรมและสัมมนาภายในห้องเรียน (ข) วทิ ยากรอธิบายในหวั ข้อ An overview of phenomenon based learning แนวคิดตำ่ ง ๆ ท่ีส่งผลต่อประสิทธิภำพในกำรจดั กำรเรยี นรูแ้ บบ PhBL 1. Responsibility ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการทางานที่ได้รับมอบหมายโดยครูต้องวางแผน อยา่ งรอบคอบวา่ งานท่ีมอบหมายน้นั ท้าทาย และเหมาะสมตอ่ ความสามารถของผูเ้ รียน 2. Moving school เน้นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมที่มีลักษณะเป็นกิจกรรมเชิงกายภาพ (Physical activity) ซึ่งผู้เรียนสามารถสังเกตปรากฏการณ์ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้าและปฏิบัติได้ เพื่อนาไปเชื่อมโยงกับ องค์ความร้ทู ่ีค้นควา้ เพิ่มเตมิ ในการทาความเขา้ ใจ ตคี วาม และลงขอ้ สรุปจากปรากฎการณ์นั้น ๆ 3. Interaction between school and parents ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนในโรงเรยี น 4. The structure of the school day เวลาท่ีใชใ้ นการจดั การเรียนรู้มคี วามยืดหยุน่ และเหมาะสม กบั เนอื้ หา 5. Action based learning การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติ เช่น บทบาทสมมติ (role play) การแสดง (drama) การอภปิ ราย (debate) ความร่วมมือร่วมใจ (Co-operative) 6. New technology มีการนาเทคโนโลยีสมยั ใหม่ ๆ มาใชใ้ นการจดั กาเรียนรู้ 7. Together ในการจัดการเรียนรู้นักเรียนต่างอายุสามารถจับกลุ่มหรือข้ามระดับชั้น เพื่อเรียนรู้ ร่วมกันได้ และเมื่อมีการจับกลุ่มนักเรียนที่มีอายุต่างกันหรือข้ามระดับชั้น นักเรียนท่ีมีอายุมากกว่าจะ รบั ผิดชอบดแู ลนักเรียนท่ีมีอายุน้อยกว่า 8. Alternative to working in a traditional classroom นักเรียนสามารถเลือกสถานที่ในการ เรียนได้ซ่ึงอาจเป็นภายในห้องเรียนหรือนอกห้องเรียนขึ้นอยู่กับลักษณะการทางานรวมถึงธรรมชาติของ วิชาท่ี ได้รบั การมอบหมายชนิ้ งานน้ัน 9. Feedback มีการสะท้อนผลโดยใช้ลักษณะการสะท้อนผลเชิงบวกเพื่อกระตุ้นนักเรียนสามารถ พัฒนาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กลุม่ พฒั นาการศกึ ษาสาหรบั ผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

๖ ประเด็นในกำรอภิปรำยเกี่ยวกับกำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้ปรำกฎกำรณ์เป็นฐำน (Phenomenal based learning : PhBL) 1. บทบาทของครูในการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชป้ รากฎการณ์เป็นฐาน ตอบ ครูมีบทบาทในการส่งเสริมใหน้ ักเรยี นได้สังเกต ตั้งคาถาม โดยนาบริบทหรือปรากฏการณ์ท่ีเกดิ ขน้ึ มาเปน็ ส่ิงเรา้ ความสนใจ ให้นักเรยี นไดเ้ กิดกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ 2. สิง่ ทเี่ ชอื่ มโยงระหวา่ งหลกั สตู รคอื อะไร ตอบ ปรากฎการณ์ทน่ี ามาเป็นบรบิ ท 3. สิ่งที่จาเป็นที่จะทาให้การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL) มปี ระสิทธภิ าพคืออะไร ตอบ ปรากฏการณ์ที่นามาเร้าความสนใจนักเรียนจะต้องสามารถบูรณาการความรู้ได้หลายวิชา และ ทาให้นักเรียนได้เข้าถึงแก่นของความร้จู ริง ๆ 4. ทาไมการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL) จงึ สาคัญต่อระบบการศกึ ษา ตอบ เพราะเป็นการเช่ือมโยงความรู้ในห้องเรียนกับชีวิตจริง เพ่ือให้นักเรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ แกป้ ญั หาในชีวิตจรงิ ได้ 5. ทาไมจึงต้องการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน (Phenomenal based learning : PhBL) ตอบ นักเรียนได้ทาความเข้าใจในปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นจริง และสามารถนาความรู้ไปอธิบายหรือ แก้ปญั หาในสถานการณ์ได้อยา่ งเหมาะสม ทาให้การเรยี นรนู้ นั้ ๆ มีความหมาย และคงทน กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษาสาหรบั ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

๗ ภำพท่ี ๓ การจดั การเรยี นรู้แบบ PhBL ใช้ปรากฎการณใ์ กล้ตวั ของนักเรียน ซ่ีงต้องมคี วามสอดคล้องกับ หลักสูตร มาจดั การเรยี นรู้ และกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนขยายของเขตองคค์ วามรู้ของตนจนเกดิ เปน็ สมรรถนะ ภำพท่ี ๔ พ้นื ฐานสาคญั ในการจดั การเรียนรแู้ บบ PhBL กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษาสาหรบั ผู้มคี วามสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

๘ 2. Teaching and learning methods of phenomenon based learning (กำรจัดกำรเรยี นรู้และกำรเรียนรตู้ ำมแนวทำงของกำรจัดกำรเรยี นรโู้ ดยใชป้ รำกฎกำรณเ์ ป็นฐำน) วทิ ยำกร 1. Mr.Taneli Nordberg 2. Mr.Ilkka Ahola-Luttila ขนั้ ตอนกำรจัดกำรเรยี นรู้แบบ PhBL 1. เลอื กปรากฏการณท์ ีใ่ ชใ้ นการจดั การเรียนรู้แบบ PhBL ซ่ึงตอ้ งมลี ักษณะเป็นปรากฏการณ์ท่ีใกล้ตัว นักเรียน หรือมีความสาคัญต่อชีวิตของนักเรียน โดยอาจเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนไปแล้ว กาลังเกิดขึ้น หรือ กาลงั จะเกดิ ขึ้นกไ็ ด้ ซง่ึ ปรากฏการณน์ ้ตี อ้ งมคี วามสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชว้ี ดั ตามหลักสตู ร 2. ใช้กระบวนการ PEE ในการจัดการเรียนรู้ปรากฏการณ์ที่เลือก โดยแต่ละข้ันตอนของกระบวนการ มีรายละเอยี ดดังน้ี 2.1 P (Planning) คือ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีการวางแผนร่วมกันระหว่างครูผู้สอน ในแต่ละวิชาเริ่มต้นจากการคัดเลือกเน้ือหาจากมาตรฐานและตัวช้ีวัดท่ีสามารถจัดการเรียนรู้ร่วมกันได้ แล้ว ร่วมกันออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมต่อธรรมชาติวิชาน้ัน ตัวอย่างเช่นวิชาสังคมศึกษาและ วิทยาศาสตร์ท่ีรวมการจัดการเรียนรู้เรียนฟิสิกส์นิวเคลียร์โดยยกประวัติศาสตร์ช่วงสงครามโลกคร้ังท่ีสอง มา จดั การเรียนร้รู ่วมกบั การค้นพบองคป์ ระกอบของอะตอมจนถึงการนาเอาความรู้ที่ได้ไปใช้พฒั นาระเบดิ ปรมาณู 2.2 E (Execution) คือ การดาเนินการจัดการเรียนรู้ จะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วย ตนเองโดยการค้นคว้าอย่างหลากหลาย ออกแบบการประเมินเชิงปฏิบัติในการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง อภิปรายโต้เถียงเชิงวิชาการเพ่ือพัฒนาความรู้ของตนเอง โดยครูทาหน้าท่ีเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้รวมท้ังให้แรงเสริมทางบวกแก่นักเรียนให้เกิดความมุ่งม่ันตั้งใจและกล้าท่ีแสดงความเป็น ตัวตนของตนเอง 2.3 E (Evaluation) คือ การประเมิน เป็นการประเมินระหว่างเรียนท่ีสะท้อนให้เห็นพัฒนาการ ของผู้เรียน โดยมีลักษณะการประเมินท่ีหลากหลาย เช่นการประเมินโดยครู เพื่อน ผู้ปกครอง และผู้เรียน ประเมินตนเอง จุดมุ่งหมายของการประเมินท่ีไม่ใช่มุ่งเน้นเกรดหรือผลการเรียน แต่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนา ตัวเองยิง่ ข้ึน โดยทีท่ กุ คนสามารถพัฒนางานของตนเองในกรอบท่ีกาหนด ซ่ึงการประเมนิ อาจกาหนดคะแนนให้ อยู่ในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งแต่มีการประเมินร่วมกันของครูมากกว่าหน่ึงคน หรือกาหนดให้อยู่ในรายวิชาท้ัง สองวชิ ากไ็ ด้ตามความเหมาะสม ขน้ั ตอนกำรทำปฏิบัติกำร (Work shop) วิทยากรได้ยกตัวอย่างการออกแบบกิจกรรม PhBL โดยใช้กระบวนการ PEE เช่น เรื่อง Translation (การแปล) ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีออกแบบมาสาหรับนักเรียนเกรด 8 (หรือนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 2) จานวน 25 คน ในรายวิชาภาษาอังกฤษและภาษาฟินนิช (ภาษาราชการของฟินแลนด์) มีการมอบหมายงาน ใหก้ บั นักเรียนเป็นคู่หรือเป็นกลมุ่ โดยใหน้ ักเรียนใชภ้ าษาอังกฤษและภาษาฟินนชิ ในการจัดกจิ กรรมในรูปแบบ ของวรรณกรรมทางภาษาแบบต่าง ๆ เช่น นวนิยาย (Fiction) เร่ืองจริง สารคดี อัตชีวประวัติคนสาคัญ (Non- Fiction) กวีนิพนธ์ (Poetry) เน้ือเพลง (Lyrics) และคาบรรยายใต้ภาพยนต์หรือละคร (Subtitles) เป็นต้น กล่มุ พฒั นาการศึกษาสาหรับผูม้ คี วามสามารถพเิ ศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

๙ โดยใช้เวลาในการจัดการจัดการเรยี นการสอน 2 คาบ/สปั ดาห์ มกี ารเรียน 4 หน่วย/สัปดาห์ รวมท้งั สิ้นจานวน 14 สัปดาห์ โดยในแต่ละสัปดาห์จะมีการกาหนดหัวข้อเพ่ือให้นักเรียนนาไปใช้ในการดาเนินกิจกรรมตามท่ี กล่าวมาขา้ งตน้ (“Theme of the week”) หลังจากดาเนนิ กิจกรรม Phenomenon ดงั กล่าวเสร็จสิ้นแล้วจะ มีการประเมนิ ผลทัง้ ครู นักเรียน และกระบวนการดาเนนิ งานท้งั หมด วา่ จดั อยู่ในลาดบั ใด และกิจกรรมดงั กลา่ ว มขี อ้ ดขี อ้ เสียอย่างไร จากนั้นวิทยากรได้ให้ผู้เข้ารับการอบรมแบ่งกลุ่มและออกแบบกิจกรรม PhBL โดยใช้กระบวนการ PEE มากลุ่มละ 1 เรื่อง โดยวิทยากรได้ยกตัวอย่างหัวข้อต่าง ๆ ดังน้ี ตัวแทนในสังคม (Agent in society) เที่ยวรอบโลก (Trip around the world) ความเท่าเทียม (Equality) น้าและอาหาร (Water and food) และ บ้านเกิดของฉัน (My hometown) แล้วให้แต่ละกลุ่มลองกาหนดหัวข้อเร่ืองที่ตนเองสนใจ ซ่ึงแต่ละกลุ่ม กาหนดหัวข้อเรื่องได้หลากหลายแตกต่างกัน เช่น ของเสียท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียน ปัญหาฝุ่นละออง เป็นต้น จากน้ันวิทยากรได้สลับหัวข้อของกลุ่มตนเองให้กลุ่มอ่ืน แล้วให้เอาหัวข้อที่ได้จากกลุ่มอ่ืนมาออกแบบกิจกรรม โดยใช้กระบวนการ PEE (ก) (ข) ภำพท่ี ๕ การอบรมการจดั การเรียนรแู้ บบ PhBL ใช้กระบวนการ PEE (ก) วิทยากรอธบิ ายขน้ั ตอนการจดั การเรียนรแู้ บบ PhBL ใชก้ ระบวนการ PEE (ข) ผู้เขา้ รับการอบรมแบง่ กลุ่มและออกแบบกจิ กรรม PhBL โดยใชก้ ระบวนการ PEE กลุ่มพัฒนาการศึกษาสาหรับผูม้ ีความสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

๑๐ ภำพที่ ๖ ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรแู้ บบ PhBL และสรุปแนวคดิ ของกระบวนการ PEE กลุม่ พฒั นาการศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพเิ ศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

๑๑ 3. Implementation of phenomenon base learning (กำรนำกำรจดั กำรเรียนรู้แบบประสบกำรณเ์ ป็นฐำนลงสู่กำรปฏิบตั ิ) วิทยำกร 1. Dr. Lasse Hongisto 2. Dr. Johanna Jauhiainen ขั้นตอนกำรจดั กำรเรยี นรรู้ ว่ มกันระหวำ่ งรำยวชิ ำ การจดั การเรียนรู้แบบประสบการณเ์ ปน็ ฐานลงสู่การปฏิบตั ิจาเป็นต้องออกแบบการเรยี นรู้ที่มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนเรียนรู้จากองค์ความรู้ของศาสตร์ต่าง ๆ อย่างลุ่มลึก ซี่งจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบูรณาการท้ังในสาขา เดยี วกนั และภานนอกสาขาวิชา โดยสามารถสรปุ เปน็ แนวทางได้ดงั นี้ 1. ครูท่ีต้องการจดั การเรยี นรู้ร่วมกนั จะตอ้ งมคี วามเข้าใจพื้นฐาน ดงั นี้ 1.1 ความรู้ในโลกสามารถหาได้จากมมุ มองท่แี ตกต่างกัน แต่มีความเก่ยี วเนอื่ งเชือ่ มโยงกนั 1.2 ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ความรู้ได้ลุ่มลึกขึ้นจากการเรียนรู้ผ่านความแตกต่างขององค์ความรู้ และธรรมชาตวิ ิชาในแต่ละสาขา 1.3 ทกุ รายวิชามีธรรมชาติวชิ าแตกต่างกนั แต่มคี วามสาคัญเทา่ เทยี มกนั 1.4 บางรายวิชามเี นอ้ื หาบางสว่ นท่เี กยี่ วเนอ่ื งเช่ือมโยงกนั และสามารถนามาจัดการเรยี นรูร้ ่วมกัน ได้ 2. ความตอ้ งการพนื้ ฐานในการจดั การเรียนร้โู ดยใช้ปรากฏการณ์เปน็ ฐาน ในรูปแบบการจดั การเรยี นรู้ รว่ มกันระหวา่ งรายวิชาสามารถดาเนนิ การ โดยมีเงอ่ื นไขสาคญั ๓ ประการไดแ้ ก่ 2.1 ต้องมีครูมากกว่า 1 สาขาวิชามาร่วมออกแบบการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ และประเมินผลการ เรยี นรู้ร่วมกัน 2.2 ต้องมีการทางานร่วมกันเป็นทีม เป็นกัลยาณมิตรเปิดกว้างในการจัดการเรียนรู้ร่วมกันให้กับ ผู้เรียน 2.3 ตอ้ งจดั โครงสรา้ งหลกั สูตร และกาหนดตารางเรยี นร่วมกนั โดยอาจเป็นภาคเรยี นละ 1 ครั้ง ปี การศึกษาละ 1 คร้งั หรืออยา่ งอนื่ ตามความเหมาะสมและบรบิ ทของสถานศึกษา 3. การเลือกวธิ ีการสอนให้เหมาะสมกับธรรมชาติวิชา ตัวอยา่ งเช่น 3.1 การพรรณา (Narrative) ใช้เพ่ือพิสูจน์ข้อเท็จจริงผ่านการอธิบายที่เป็นลาดับขั้นตอนและ เชื่อมโยง องค์ความรู้ต่างๆ ผ่านการอธิบายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ จากน้ันจึงตีความและวิเคราะห์ความ นา่ เช่ือถือจากคาอธบิ ายตา่ ง ๆ แล้วลงข้อสรุปร่วมกนั 3.2 การสอนแบบ Story line ใช้เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยใช้คาถามขยายขอบเขต ความรู้ ของผู้เรียนเพ่ือผู้เรียนทาความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนรอบตัว โดยมีการเรียงลาดับเหตุการณ์และ คาถามจากงา่ ยไปยาก ซึ่งจะทาให้มคี วามน่าสนใจในการเรยี นรู้และส่งเสริมต่อเจตคตคิ ่านิยมทักษะและความรู้ กลุม่ พัฒนาการศึกษาสาหรับผูม้ ีความสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

๑๒ ของผู้เรียนซงึ่ ผูเ้ รยี นสามารถแสดงออกผ่านกจิ กรรมต่างๆ เช่น การอภิปราย การสาธิต การแสดงบทบาทสมมติ เพ่อื ส่ือสารใหเ้ หน็ ถงึ ผลการเรียนรทู้ ่ีเกิดขึน้ ตัวอยำ่ ง กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนรว่ มระหว่ำงวิชำฟิสกิ ส์และวิชำประวัตศิ ำสตร์ ตัวอย่างนี้ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการร่วมกันระหว่างวิชาประวัติศาสตร์และฟิสิกส์ ซึ่งเกิดข้ึน โดย ครูสองคนท่ีมีความสนใจในบทบาทของประวตั ศิ าสตร์ต่อวงการวิทยาศาสตร์ และบทบาทของวทิ ยาศาสตร์ ในหน้าประวัติศาสตร์ โดยใช้สงครามโลกครั้งท่ีสองและช่วงเวลาที่เก่ียวข้อง ซ่ึงเป็นช่วงเวลาที่มีการพัฒนา ความรู้ด้านฟิสิกส์นิวเคลียร์ มาใช้กระตุ้นความสนใจ เพื่อให้นักเรียนทาความเข้าใจ และเรียนรู้เก่ียวกับผลของ เศรษฐกิจและสังคมต่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และผลของวิทยาศาสตร์ต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม และเศรษฐกิจ และใหน้ กั เรียนได้เรียนร้เู กย่ี วกับตาแหนง่ ประเทศเกิดของนักวิทยาศาสตรบ์ นแผนทีโ่ ลก ตัวอย่างเหตุการณ์สาคัญ ได้แก่ การขยายอานาจของนาซีเยอรมัน การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับ กัมมันตรังสีและโครงสร้างอะตอม แนวคิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่น การเปล่ียนแปลงผลิตภัณฑ์มวลรวม ประชาชาติ (GDP) ก่อนและหลงั การเกิดสงครามโลก การจัดการเรียนรู้คร้ังน้ีจัดให้กับเด็กนักเรียนระดับชั้นเตรียมศึกษาปีท่ี 4 - 6 ท่ีมีความรู้พื้นฐานด้าน ฟสิ กิ สน์ วิ เคลียร์ ซึง่ มีกระบวนการจดั การเรียนการสอน ดังน้ี ๑. ทาการทดลองเรือ่ ง การเบนของรงั สีแอลฟาในสนามแม่เหลก็ ๒. แบ่งกลุ่มผู้เรียน กล่มุ ละ 3 คนและเลือกหัวขอ้ ท่ีนักเรยี นสนใจ ๓. ผู้เรียนมีการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม แบ่งหน้าท่ีร่วมกันให้ความรอู้ ภิปรายโต้แย้งรวมทั้งแลกเปลี่ยน เรียนรู้จัดกระทาและนาเสนอข้อมูลภายในกลุ่มของตนเอง เมื่อตกผลึกองค์ความรู้แล้วให้นาเอาความรู้น้ีไป แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนต่างกลุ่มโดยครูทาหน้าท่ีเป็นผู้อานวยความสะดวกและร่วมกันสรุปองค์ความรู้กับ ผู้เรยี น ๔. ครูให้นักเรียนดู Timeline ค้นพบอะตอม และการคิดค้นนิวเคลียร์ ควบคู่ไปกับการที่ครูวิชา ประวตั ิศาสตรส์ อนตาแหน่งประเทศเกดิ ของนักวทิ ยาศาสตร์ท่ีคน้ พบแตล่ ะช่วงเวลาบนแผนที่โลก กล่มุ พฒั นาการศกึ ษาสาหรับผู้มีความสามารถพเิ ศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

๑๓ ภำพท่ี ๗ การนาการจดั การเรียนร้แู บบประสบการณเ์ ป็นฐานลงส่กู ารปฏบิ ัติ กลมุ่ พัฒนาการศึกษาสาหรับผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

๑๔ 4. The Evaluation of Phenomenon Based Learning (กำรประเมินผลในกำรเรียนรโู้ ดยใช้ปรำกฏกำรณ์เป็นฐำน) วทิ ยำกร Ms. Kaisu Otsamo ลักษณะเด่นของกำรประเมนิ ในประเทศฟนิ แลนด์ จากการอบรมและสัมนนาวิทยากรได้ให้แนวคิดเก่ียวกับลักษณะเด่นของการประเมินผลของประเทศ ฟนิ แลนด์ไว้ดังน้ี ๑. ประเทศฟินแลนด์ไม่มีการวัดผลระดับชาติ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.3) แต่จะวัดผล ระดับชาติ มีการวัดผลเม่ือนักเรียนเรียนจบช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) โดยข้อสอบท่ีใช้ในการวัดผลเป็น ข้อสอบขอ้ เขยี น ๒. ประเทศฟินแลนด์ให้ความสาคัญกับการประเมินผลในช้ันเรียนของครู โดยถือเป็นจุดยุติของการ ประเมินในระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ๓. ครูจะประเมินผลอย่างต่อเน่ืองในระหว่างกระบวนการจัดการเรียนรู้ ท้ังด้านความรู้ และทักษะ กระบวนการ ทสี่ อดดคล้องเปน็ เนื้อเดยี วกันเพอื่ ประเมนิ สมรรถนะของนักเรียน ๔. ครูมีกระบวนการการวัดทักษะและความรู้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ใช้ผลการวัดยืนยันซ่ึงกันและ กันจนมนั่ ใจในการตัดสินผลของนักเรยี น ๕. การสะท้อนผลการจัดการเรยี นรู้รว่ มกัน ระหว่างครูกบั นกั เรยี น นกั เรยี นกับเพอื่ นนกั เรยี น และการ สะท้อนผลดดนตัวนักเรียนเอง ในการจัดการเรียนการสอนทุกข้ันตอน ถือเป็นสิ่งสาคัญ ในการประเมินผลการ จดั การศกึ ษา ลักษณะทั่วไปของกำรประเมินในประเทศฟนิ แลนด์ ๑. ครูเป็นผู้การจัดการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการวางแผนการประเมินผลผลอย่างละเอียดก่อนเร่ิมวัดผล จริงกบั นักเรียน ๒. การวัดผลไม่สามารถแยกออกจากกระบวนการเรียนรู้ได้ ดังน้ันการวัดผลจึงมีการวัดในทุก กระบวนการจดั การเรยี นการสอน ๓. ครูใช้ทฤษฎีของ Krathwohl-Anderson มาใช้ในการวัดด้านความรู้ และกระบวนการ ได้จัด โครงสร้างในมติ ิด้านความรู้เปน็ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ๓.๑ ความรู้เกี่ยวกับความเป็นจริง (Factual knowledge) ความรู้ในสิ่งท่ีเป็นจริงอยู่ เช่น ความรู้ เก่ียวกับคาศัพท์ และความรใู้ นสงิ่ เฉพาะตา่ งๆ ๓.๒ ความรู้ในเชิงมโนทัศน์ (Conceptual knowledge) ความรู้ท่ีมีความซับซ้อน มีการจัด หมวดหมู่เป็นกลุม่ ของความรู้ สามารถสรปุ สาระสาคญั ของเนือ้ หาได้ ๓.๓ ความรู้ในเชิงวิธีการ (Procedural knowledge) ความรู้ว่าส่ิงน้ัน ๆ ทาได้อย่างไร ซึ่งรวมถึง ความรูท้ างกระบวนการท่ี เป็นทกั ษะ เทคนคิ กลุ่มพัฒนาการศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพเิ ศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

๑๕ ๓.๔ ความรู้เชิงอภิปัญญา (Metacognitive knowledge) ความรู้เก่ียวกับเร่ืองทางปัญญาของ นักเรียนเอง โดยนักเรียนจะทาความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนและการแก้ปัญหา ไปจนถึงสามารถประเมิน ตนเอง วา่ ตนเองมีความสามารถหรอื ถนดั ในด้านใด ๔. นักเรียนจะเป็นผู้พิจารณาความจริง วิธีการ concepts กระบวนการคิด และความรู้ที่เกิดขึ้นด้วย ตนเอง โดยครเู ปน็ เสมือนโคช้ ท่ีกระตุน้ และแนะนา ๕. ครใู ชอ้ นกุ รมวธิ านของ Bloom (ปรับปรุง ค.ศ.๒๐๐๑) มาใชใ้ นการสร้างคาถามเพือ่ ประเมนิ ความรู้ ได้แก่ ๕.๑ จา (Remember) หมายถึง ความสามารถในการดึงเอาความรู้ท่ีมีอยู่ในหน่วยความจาระยะ ยาวออกมาใช้ ๕.๒ เข้าใจ (Understand) หมายถึง ความสามารถในการกาหนดความหมายของคาพูด ตัวอักษร และการสอื่ สารจากสือ่ ตา่ งๆ ท่ีเป็นผลมาจากการสอน ๕.๓ ประยุกต์ใช้ (Apply) หมายถึง ความสามารถในการดาเนนิ การหรือนาความรมู้ าประยุกต์ใช้ใน แตล่ ะสถานการณ์ ๕.๔ วิเคราะห์ (Analyze) หมายถึง ความสามารถในการแยกสว่ นประกอบของสง่ิ ต่างๆและค้นหา ความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่วนประกอบท่ีมีความเกย่ี วข้อง ๕.๕ ประเมินค่า (Evaluate) หมายถงึ ความสามารถในการตดั สินใจโดยอาศยั เกณฑห์ รือมาตรฐาน ๕.๖ สร้างสรรค์ (Create) หมายถึง ความสามารถในการรวมส่วนประกอบต่างๆ เข้าด้วยกันด้วย รปู แบบใหม่ๆ หรอื ทาใหไ้ ดผ้ ลติ ภัณฑท์ ตี่ ่างจากเดมิ ตัวอย่ำงกำรประเมินผล ในการอบรมและสัมมนา วิทยากรได้ยกตวั วิธีการประเมินผล ไว้ดังน้ี ๑. บทสนทนารวม โดยนักเรยี นเขยี นสมดุ บันทึกความรู้ที่ได้จากการเรยี นในทุกกระบวนการจดั การ เรียนการสอน ครมู ีการพดู คยุ ร่วมวเิ คราะห์กบั นักเรียนโดยยดึ ผลจากสมดุ บันทกึ ความร้จู ากนกั เรยี นเป็นหลกั ๒. การประเมนิ ตนเองของผเู้ รียน ซ่งึ นกั เรยี นมีการประเมนิ ตนเอง ในด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการ รวมถึงความถนัดในดา้ นต่างๆ กลุม่ พฒั นาการศกึ ษาสาหรบั ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

๑๖ ภำพท่ี ๘ ลักษณะเดน่ ของการประเมินผลการเรียนร้โู ดยใช้ปรากฎการณเ์ ป็นฐาน กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษาสาหรับผมู้ ีความสามารถพิเศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

๑๗ ภำพที่ ๙ รูปแบบการประเมินทหี่ ลากหลายและความสาคัญของการประเมนิ ในประเทศฟนิ แลนด์ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษาสาหรบั ผูม้ คี วามสามารถพเิ ศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

๑๘ 5. Teacher Training in Finland (กำรฝึกหดั ครูในประเทศฟนิ แลนด)์ วิทยำกร Ms. Irina Penne กำรฝกึ หัดครูในประเทศฟินแลนด์ ในประเทศฟินแลนด์ การผลิตครูให้เป็นคนท่ีมีคุณภาพนั้น คนที่จะเข้ามาประกอบอาชีพเป็นครูผู้สอนใน โรงเรียนจะต้องเข้ารับการฝึกอบรมการเป็นครู ณ สถาบันฝึกหัดครู ซ่ึงมีอยู่หลายแห่งในประเทศฟินแลนด์ โดย การฝกึ ของสถาบันต่างๆ กจ็ ะมีพ้ืนฐานในการฝึกทม่ี ีลักษณะคล้ายกัน แตบ่ างสถาบันกจ็ ะมีหลักสูตรพิเศษในการฝึก ด้วย ในการศึกษาดูงานครั้งน้ี ได้รับข้อมูลการฝึกหัดครูของสถาบัน Norssi ซ่ึงเป็นสถาบันที่อยู่ภายใต้การดูแล ของ University of Helsinki สถาบันจะมีการคัดเลือกบุคคลที่มาเข้ารับการฝึกอบรม โดยการสัมภาษณ์ ตรวจสอบคุณสมบัติต่างๆ ที่เหมาะสม และตรวจสอบประวัติด้านต่างๆ โดยเฉพาะประวัติด้านอาชญากรรมจะมีการตรวจสอบอย่าง เข้มงวด ซึ่งโดยท่ัวไปสาหรับการฝึกอบรมในหลักสูตรพื้นฐานของการเป็นครูจะใช้ระยะเวลาในการฝึกอบรม ประมาณ 7 – 8 สัปดาห์ โดยเป้าหมายสาคัญในการฝึกอบรมน้ี คือต้องการให้คุณครูฝึกหัดสามารถวาง แผนการจดั การเรียนรขู้ องตนเองให้เหมาะสมกบั นักเรยี นและดีที่สดุ จุดที่น่าสนใจประการหนึ่งคือการเปิดโอกาสให้บุคคลที่ไม่ได้สาเร็จการศึกษาในสาขาวิชาด้าน การศึกษา ครุศาสตร์ ศกึ ษาศาสตร์ เข้ามาฝกึ หัดครไู ด้ โดยมีคุณสมบตั เิ พ่ิมเติมคือ ตอ้ งเปน็ สาขาวิชาเฉพาะด้าน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงวิศวกรรมศาสตร์ หรือสาขาท่ีจาเป็นต่อการเป็นผู้ประกอบการในอนาคต และต้องสาเร็จการศึกษาขั้นต่าในระดับปริญญาโทขึ้นไปซ่ึงต่างกับผู้ท่ีจบการศึกษาด้านการศึกษา ครุศาสตร์ ศกึ ษาศาสตร์ ทีเ่ ม่ือจบปรญิ ญาตรกี ส็ ามารสมคั รเข้ารบั การฝึกได้ โครงสร้างการฝึกอบรมประกอบด้วยการฝึกเขียนแผนการสอน (วางแผนการสอนในรูปแบบของตนเอง) โดยเมือ่ วางแผนการสอนเรียบร้อยแลว้ จะมกี ารนาแผนการสอนน้ีไปอภิปรายร่วมกันระหว่างคุณครูฝึกหัดและ คุณครูที่มีประสบการณ์ และระหว่างคุณครูที่สอนวิชาเดียวกัน โดยมีการให้คุณครูฝึกหัดได้เข้าไปสังเกตการ สอนของคุณครูท่านอ่ืนในห้องเรียนจริง เพื่อนาเทคนิคต่างๆ ท่ีได้จากการสังเกตไปปรับใช้กับการวางแผนการ สอนของตนเอง แลว้ นาไปปฏบิ ัติจริงในห้องเรียนของตนเอง (การฝกึ สอน) โดยระหวา่ งการฝกึ สอนคุณครฝู กึ หัด จะต้องเก็บข้อมลู และสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในชั้นเรียนเพื่อนาไปปรับปรุงแก้ไขแผนการสอนของตนเอง โดยการวิเคราะห์ส่ิงต่างๆ เหล่านี้จะทาในรูปแบบของการวิจัยในชั้นเรียน ซ่ึงในการฝึกหัดนี้ทางสถาบันจะมี เกณฑ์ในการประเมิน โดยคุณครูฝึกหัดจะต้องผ่านการประเมินทุกข้ันตอนตามเกณฑ์ที่สถาบันวางไว้ ผลการ ประเมินจะออกมาว่า ผ่าน หรือ ไม่ผ่าน คุณครูฝึกหัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การะประเมินจะต้องเข้ารับการฝึกอบรม ใหม่อีกคร้ัง เมื่อคุณครูฝึกหัดผ่านการฝึกอบรมก็จะสามารถสมัครเข้าเป็นครูในโรงเรียนได้ โดยผู้ที่ผ่านการ ฝกึ อบรมจะกลายเปน็ คณุ ครทู มี่ ีคุณภาพ กลมุ่ พฒั นาการศึกษาสาหรบั ผ้มู ีความสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

๑๙ โดยรูปแบบการฝึกหัดครูในประเทศฟินแลนด์นี้ มีลักษณะคล้ายกับการฝึกสอนของนักศึกษาคณะครุ ศาสตร์หรอื ศกึ ษาศาสตร์ชนั้ ปที ่ี 5 ของประเทศไทย คนทจ่ี ะไปเปน็ ครูจะต้องวางแผนการสอนของตนเอง (เขียน แผนการสอน) มีการสังเกตการณ์สอนของคุณครูในห้องเรียนจริง และจะต้องฝึกสอนในโรงเรียน สาหรับ ประเทศไทยการที่จะผลิตครใู ห้ได้คุณภาพนัน้ ต้องมีการรว่ มมือกนั ของหน่วยงานตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง และจะต้อง เพิ่มมาตรฐานในการฝึกหัดครูให้เข้มข้นมากขึ้น อาจจะกาหนดหลักเกณฑ์ในการฝึกหัดครูให้เป็นมาตรฐาน เดียวกนั ท่ัวประเทศ ก็จะสามารถทาใหป้ ระเทศไทยมีครูท่ีมีคณุ ภาพและพรอ้ มจะผลติ เด็กทมี่ ีคณุ ภาพตอ่ ไป กล่มุ พฒั นาการศกึ ษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

๒๐ 6. Integration “Step by step” guide to successful pedagogical products (กำรบรู ณำกำร “Step by step” แนวทำงส่ผู ลสำเร็จของกำรจดั กำรเรยี นรู)้ วิทยำกร Mr. Taneli Nordberg กำรสอนแบบ Step by step การสอนแบบ Step by step เป็นวิธีการสอนรูปแบบหน่ึงท่ีทาทีละขั้นตอนโดยทั้งครูและนักเรียนได้ ร่วมกันลงมือปฏิบัติจริง จากทฤษฎี Self-Determination ซึ่งเป็นทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับการตอบสนองความ ตอ้ งการในการเรยี นรู้ของมนุษย์ ประกอบไปดว้ ย 1. มนุษย์แตล่ ะคนตอ้ งการอสิ ระในการแสดงออกดา้ นต่างๆ (Autonomy) 2. มนุษย์แตล่ ะคนต้องการการมปี ฏิสัมพนั ธ์รว่ มกบั ผอู้ นื่ (Relatedness) 3. มนุษยแ์ ตล่ ะคนตอ้ งการแสดงความสามารถในแบบของตวั เอง (Competence) ในการจัดการเรียนการสอนที่ทาให้นักเรียนสามารถแสดงความต้องการด้านต่างๆ ออกมาอย่างเต็มที่ น้ันจะสามารถทาให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ ซ่ึงจะมีการใช้เทคนิคการสอนต่างๆ เข้ามาช่วยในส่วนน้ี ยกตัวอยา่ งเชน่ เกมส์ การแสดง หรอื บทบาทสมมติ เปน็ ต้น ภำพที่ ๑๐ วิทยากรและผ้เู ขา้ อบรมร่วมกนั สะท้อนและอภิปรายเก่ยี วกบั ทฤษฎกี ารจดั การศึกษา โดยเริ่มต้นครูและนักเรียนจะร่วมกันทากิจกรรมเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์กันระหว่างครูกับนักเรียน และ ระหว่างนักเรยี นกบั นกั เรียนดว้ ยกนั เองอาจจะใชเ้ กมสเ์ ป็นตัวสร้างปฏสิ มั พนั ธใ์ นคร้ังน้ี กลมุ่ พฒั นาการศึกษาสาหรับผู้มคี วามสามารถพเิ ศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

๒๑ ภำพท่ี ๑๑ การทากิจกรรมกลมุ่ รว่ มกันเพื่อสรา้ งปฏสิ มั พนั ธ์ ซ่งึ สะท้อนให้เห็นบรรยากาศในการจัดการเรยี นการสอนในฟนิ แลนด์ จากน้ันจะเร่ิมเข้าสู่เนื้อหาโดยใช้การแสดงบทบาทต่างๆ เข้ามาช่วยเพ่ือให้นักเรียนได้แสดงออกมาได้ อย่างเต็มที่ ซึ่งสามารถทาให้นักเรียนจดจาเนื้อหาและสร้างองค์ความรู้ของตัวเองได้ โดยคุณครูจะสอนทีละ ข้นั ตอนโดยเรม่ิ จากขน้ั พ้ืนฐานไปถึงขั้นประยกุ ต์ (จากง่ายไปยาก) ภำพท่ี ๑๒ บรรยากาศในการร่วมทากจิ กรรม กลมุ่ พัฒนาการศึกษาสาหรับผ้มู ีความสามารถพเิ ศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

๒๒ ๗. The role of practical activity in science education (บทบำทของกิจกรรมเชงิ ปฏบิ ตั ิในวิทยำศำสตรศ์ กึ ษำ) Johanna Jauhiainen วิทยำกร เวลำ 13.00-14.30 กิจกรรมเชงิ ปฏบิ ตั ิในวิทยำศำสตร์ศึกษำ (Practical work in science education) สาหรับในประเทศฟนิ แลนด์ การเรยี นรู้เก่ียวกบั วิทยาศาสตร์ศึกษามุ่งเนน้ ไปท่ีการมีส่วนรว่ มในการลง มือปฏบิ ตั จิ รงิ ของนักเรียน โดยจะต้องพจิ ารณา 3 หวั ขอ้ สาคัญ ดงั น้ี 1. ทาไมตอ้ งใชก้ ิจกรรมเชงิ ปฏิบตั ิ 2. กจิ กรรมเชิงปฏิบัติ มบี ทบาทอย่างไรในกระบวนการเรยี นรู้ 3. กจิ กรรมเชิงปฏิบัติ ประเภทใดท่ีมีส่วนชว่ ยในการส่งเสรมิ การเรียนรู้ เปำ้ หมำยของกำรใช้กิจกรรมเชิงปฏบิ ัติ (Aims of practical work in science education) 1. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจของนักเรียนในด้านแนวคิดทางวิทยาศาสตร์และสามารถอธิบายความ จรงิ เก่ยี วกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาตแิ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ได้อย่างถูกตอ้ ง 2. เพือ่ สรา้ งแรงจูงใจและการมีสว่ นร่วมของนักเรียน 3. เพอ่ื ส่งเสรมิ บทบาทการมีปฏสิ ัมพันธท์ างสังคมและการทางานร่วมกัน บทบำทของกจิ กรรมเชงิ ปฏิบัติ (Role of practical work) 1. การมีส่วนร่วมในการสร้างและพฒั นาบทบาททางทฤษฎี 2. สามารถทดสอบและใช้ทฤษฎีในการประเมนิ คา่ 3. การแสดงความหมายของแนวความคิด (Meaning first, name afterwards) 4. กิจกรรมแต่ละกจิ กรรมควรจะมเี ป้าหมายในกระบวนการเรียนรู้ 5. ควรจะมที ง้ั คมู่ อื ปฏิบตั แิ ละจิตพสิ ัย 6. มแี นวโน้มการใชค้ าถามจากปลายปดิ เปน็ ปลายเปดิ กำรเรียนรู้โดยใช้โครงงำนเป็นฐำนในวิทยำศำสตร์ศึกษำ (Project based learning in science education) การเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐานเป็นวิธีการหรือแนวการสอนอยา่ งหน่งึ ท่ีนักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมซ่ึง จะช่วยพัฒนาความรู้และทักษะ โดยโครงงานที่เรียนรู้ต้องกี่ยวข้องกับชีวิตจริงและมีความซับซ้อน และครูใช้ คาถามในการขับเคล่ือนกิจกรรม การลงมือปฏิบัตทิ ่ีมีส่วนช่วยในการส่งเสรมิ การเรียนรู้ ซ่ึงเรียนรู้ผ่านกิจกรรม ท่ีวทิ ยากรจดั ใหโ้ ดยมีลกั ษณะสาคญั ดงั น้ี 1. มีการใช้การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project based learning) เข้ามามีส่วนร่วมในการ สร้างกิจกรรมเชิงปฏิบัติ (ในท่ีน้ีแสดงการหาคาตอบเกี่ยวกับการตกของวัตถุหรือการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดย แสดงใหเ้ หน็ ถึงความสาคญั ในการคาดการณ์คาตอบและการทดลองเพ่อื ใหไ้ ด้มาซ่ึงคาตอบทีถ่ ูกตอ้ ง) 2. ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการอธิบายปรากฏการณ์ นักเรียนร่วมกันตอบ คาถามและนักเรียนเป็นผรู้ ับผิดชอบและมคี วามกระตือรอื รน้ ในการตอบคาถามที่ครเู ปน็ ผ้ตู ง้ั กลุม่ พัฒนาการศึกษาสาหรับผู้มคี วามสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

๒๓ 3. นักเรียนจะต้องมีการออกแบบ ลงมือปฏิบัติ สังเกตการณ์และการวิเคราะห์ผลซ่ึงจะทาให้นักเรียน ฝึกการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เปิดโอกาสในการพูดคุย นาเสนอความคิดและการรับฟังความเห็นของผู้อื่น รู้จัก การรับฟังและการโตแ้ ย้ง การทางานร่วมกับผอู้ ่ืน และสามารถบนั ทกึ สิง่ ทีต่ นเองเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง บทบำทสำคัญของครูในกำรเรียนรู้โดยใช้โครงงำนเป็นฐำน (The role of the teacher in project based learning) 1. ครเู ปน็ ผู้ช่วยใหน้ ักเรยี นสามารถสรา้ งองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง 2. ครูควบคมุ การบรหิ ารจัดการหอ้ งเรียน 3. ครูยอมรบั ปรับเปลี่ยนยดื หยุ่นในการจดั การเรยี นการสอนให้เข้ากับสถานการณ์ได้ ยกตัวอย่างการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่องการตกของวัตถุในทางฟิสิกส์ โดยให้นักเรียน รวมกันทานายหรือคาดการณ์ และสังเกตการณ์ส่ิงที่เกิดข้ึน โดยใช้คาถามในการขับเคลื่อน คือ ทาไมวัตถุต่าง ชนิดกันบางคร้ังตกพร้อมครั้ง บางคร้ังตกไม่พร้อมกัน นักเรียนมีส่วนรวมในการหาคาตอบของปรากฎการณ์ท่ี เกดิ ข้ึน ยกตัวอย่าง ไอซี โปรเจค (I See-project) ซ่ึงเป็นโครงการในระดับนานาชาติมุ่งเน้นความสาคัญกับ ทักษะในอนาคต : การคิดการวางแผนเพื่อรับมือกับความเส่ียง การคิดนอกกรอบ การจัดการกับความไม่ แน่นอน การเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ การอภิปราย โต้เถียง โดยมีหัวข้อท่ีสาคัญคือ การเปล่ียนแปลง สภาพภมู ิอากาศ และควอนตมั คอมพิวเตอร์ (Quantum computer) กำรแสดงตวั อยำ่ งกจิ กรรม ทใี่ ช้กำรสอนแบบ กิจกรรมเชงิ ปฏบิ ตั ซิ งึ่ ใช้กำรเรยี นรู้แบบโครงงำนเป็นฐำน เป็นกิจกรรมในวิชาฟสิ กิ สท์ ่มี งุ้ เน้นใหน้ ักเรียนเรียนรกู้ ารเคล่ือนท่ีของวตั ถภุ ายใต้ความเรง่ เน่ืองจากแรง โน้มถว่ งของโลก โดยในกิจกรรมไดม้ กี ารยกตัวอยา่ งวัตถซุ ึง่ มีรูปทรงแตกต่างกนั คอื 1. ก้อนโลหะขนาดเล็กต่างชนิดกนั สองก้อน 2. กระดาษที่ใชห่อขนม หลากหลายชนิด โดยมีชน้ั ตอนคือครจู ะเป็นผูต้ ้งั คาถาม วา่ นกั เรียนคิดว่า 1. ระหวา่ งวตั ถุสองก้อน คิดวา่ ใครจะตกถึงพื้นกอ่ น 2. ระหวา่ งกระดาษกบั กอ้ นโลหะใครตกถงึ พ้ืนกอ่ น 3. ระหวา่ งกระดาษหนงึ่ แผน่ กบั กระดาษซอ้ นกันหลายแผ่น ใครจะตกถงึ พ้ืนก่อน เม่ือนักเรียนตอบคาถามโดยใช้วิธกี ารคาดเดาเสร็จแล้ว หลังจากน้ันจึงให้นักเรียนทดลองดูว่าสมมุติฐานท่ีต้ังไว้ นั้นถูกต้องหรือไม่ แล้วจึงให้วิเคราะห์ร่วมกันในกลุ่ม เพ่ือนาเข้าสู่การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เพ่ือให้ ร่วมกันสร้าง สมการตามทฤษฎีที่ถูกต้อง กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

๒๔ ภำพท่ี ๑๓ ตัวอยา่ งกิจกรรมกลุ่มท่ใี ชก้ ารสอนแบบกจิ กรรมเชงิ ปฏบิ ัตซิ งึ่ ใชก้ ารเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษาสาหรับผู้มีความสามารถพเิ ศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

๒๕ 8. ICT in Education เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรสอื่ สำรในกำรศึกษำ วทิ ยำกร Perjantai maaliskuuta เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำร ใน Finnish education ปัจจุบันในประเทศฟินแลนด์มีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมากขึ้นท้ัง ในด้ารารศึกษาและโรงเรียน มีการเพิ่มและพัฒนาอุปกรณ์ทางด้าน ICT รวมทั้งการใช้สื่อออนไลน์เป็นอุปกรณ์ ชว่ ยเสรมิ ในการจดั การเรยี นการสอน การศกึ ษาดูงานในหวั ขอ้ นี้สามารสรปุ ความรู้ออกเป็นดา้ นต่าง ๆ ได้ดงั น้ี ดำ้ นโครงสร้ำงพน้ื ฐำนภำยในหอ้ งเรยี น อปุ กรณเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่สี าคัญในการจัดการเรียนการสอนของประเทศฟนิ แลนดแ์ บง่ ออกเป็น 3 รูปแบบตามประเภทของหอ้ งเรยี น 1. ห้องเรียนท่ัวไป จัดให้มีเคร่ืองฉายแผ่นใส คอมพิวเตอร์ โปรเจ็คเตอร์ เคร่ืองเล่น CD-DVD และ external 2. หอ้ งเรียนคอมพิวเตอร์ จดั ใหม้ คี อมพิวเตอร์จานวน 28 เคร่ือง (ตามจานวนนักเรียน) เคร่ืองสแกน และเครื่องปรน้ิ ซ์ ส่วน Digital work space จัดใหม้ คี อมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (PC) จานวน 13 เครอ่ื ง คอมพวิ เตอร์ โน้ตบุ๊ค (laptop) จานวน 28 เครอ่ื งเพ่อื ง่ายในการเข้าใชห้ อ้ งสมุดโรงเรียนและ Study hall 3. ห้องสมุดและ Study hall จดั ให้มีคอมพวิ เตอร์ จานวน 10 เครอ่ื ง และเครอ่ื งปรน้ิ ซ์ ภำพที่ ๑๔ การบรรยายการใช้ ICT ในการจัดการเรยี นการสอนในฟินแลนด์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษาสาหรบั ผูม้ คี วามสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

๒๖ ภำพที่ ๑๕ ความพร้อมในการใช้ ICT ในหอ้ งเรียนของฟนิ แลนด์ สาหรบั ในภาพรวมเกี่ยวกบั การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในประเทศฟินแลนด์นัน้ มีการ ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นใช้อปุ กรณ์ในการสบื ค้น และชว่ ยเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการเรยี นรู้อย่างแพร่หลาย นอกจากน้ี คุณครูผู้สอนยังมีการใช้อุปกรณ์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเป็นตัวช่ วยในการขับเคล่ือน กระบวนการเรียนรู้ของนักเรยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ กำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรสอ่ื สำรในกำรศึกษำใน Normaalilyseo ประเทศฟินแลนด์มีการบรูณาการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนปกติ ยกตัวอย่าง เช่น การนาเสนอหรือการทาแบบฝึกหัดโดยใช้โปรเจ็คเตอร์แทนการใช้กระดานดา มีการใช้ Office 365 การ ใช้ Web-based บทเรียนออนไลน์ช่วยสนับสนุนการสอนและให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ นักเรียนใช้ สื่อดิจิทัลเป็นหนังสือ แหล่งข้อมูล รวมท้ังการใช้โปรแกรมทางการศึกษาและคาถาม-ตอบผ่านทางโปรแกรม ต่างๆ เชน่ Kahoot Quizlet Flingaและ Geogebra เปน็ ต้น (ก) (ข) ภำพที่ ๑๖ ตวั อยา่ งโปรแกรมทางการศึกษาที่ช่วยในการจัดการเรยี นการสอน (ก) โปรแกรม Geogebra (ข) โปรแกรม Flinga สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย (Upper secondary school) ในประเทศฟินแลนด์ จะมี การสอบ Matriculation examination ซึ่งเป็นท้ังการสอบจบ ม.6 และการสอบเข้ามหาวิทยาลัย จะจัดสอบ 2 ครั้งต่อปี คือ ในช่วงฤดูใบไม้ผลิและใบไม้ร่วง โดยเริ่มเปล่ียนจาก Paper exam เป็น Digital exam ในปี กลุ่มพัฒนาการศึกษาสาหรับผูม้ คี วามสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

๒๗ ค.ศ. 2016 และในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปี ค.ศ. 2019 ทุกวิชาจะต้องสอบแอดมิชช่ันผ่านระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมี ชอื่ วา่ “Digital Matriculation examination” นักเรียนจะมีคอมพิวเตอร์แลปท็อปส่วนตวั ไวใ้ ช้ระหว่างเรียน การทดสอบ และ Matriculation examination โรงเรียนในประเทศฟินแลนด์ (Finnish school) ได้นา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาร่วมในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร เพอื่ พัฒนาใหน้ กั เรียนมคี วามพร้อมในศตวรรษที่ 21 ต่อไป ข้อสงั เกต 1. ครูคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน นอกจากจะเป็นผู้จัดการเรียนรู้ให้นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ เพ่ือการเรียนรู้แล้ว ยังขยายความรู้ของตนเองไปสู่ครูผู้สอนคนอื่น เพื่อให้สามารถใช้เครื่องมือ ตา่ ง ๆ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมท้งั โปรแกรมทางการจัดการเรยี นรู้ และการจดั การชน้ั เรยี นแบบออนไลน์ ให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกันทั้งโรงเรียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจและเอื้อต่อการเข้าถึงของนักเรียนอย่างมี ประสทิ ธิภาพ 2. โครงสร้างพื้นฐานภายในห้องเรียนไม่แตกต่างจากโรงเรียนที่มีความพร้อมในประเทศไทยมากนัก แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ คุณภาพการนาไปใช้ของครูและผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับรายงานผลการประเมิน PISA 2015 จาก focus ประเด็นจาก PISA ฉบบั ที่ 33 และ 34 (สสวท., 2561 อ้างถงึ OECD, 2015) ทีร่ ะบวุ ่า เม่ือพิจารณาความสัมพันธ์ของชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตกับคะแนนการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ของนั กเรียนไทย หากผู้เรียนมีการใช้อินเทอร์เน็ตในโรงเรียนเพิ่มขึ้น 1 ช่ัวโมง จะส่งผลต่อการลดลงของคะแนนประเมิน 1 คะแนน (สิงคโปรล์ ดลง 2 คะแนน) ซง่ึ ในการศกึ ษาครั้งกอ่ นหนา้ (2006) ระบวุ า่ การใช้งานอนิ เทอร์เนตอาจมี ผลต่อการเบ่ียงเบนความสนใจของผู้เรียนจากการเรียนรู้ นอกจากนี้ ผลการศึกษายังชี้ว่าการจัดให้ครูและ นักเรียนมีคอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนรู้ และการเรียนรู้จะส่งผลบวกต่อคะแนนประเมินโดยการจัดให้ครูมี คอมพิวเตอร์สาหรับจัดการเรียนรู้จะส่งผลเชิงบวกต่อคะแนนการประเมินมากกว่าการจัดคอมพิวเตอร์ให้ครบ ตามจานวนผูเ้ รียน กลุ่มพัฒนาการศึกษาสาหรับผูม้ คี วามสามารถพเิ ศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

๒๘ กำรจัดกำรศกึ ษำในประเทศฟินแลนด์ ภำพท่ี ๑๗ ผงั การจดั การศึกษาในประเทศฟนิ แลนด์ กำรจัดกำรศึกษำในประเทศฟนิ แลนด์ แบง่ ออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ ๑. การศึกษาในระดบั อนุบาล (Pre-primary education) รับเด็กท่มี ีอายุ 6 ปี เพ่ือเตรียมเข้าสู่ ระดบั พนื้ ฐาน (BASIC EDUCATION) ๒. การศึกษาระดบั ขั้นพ้นื ฐาน รับเด็กท่ีมีอายุครบ 7 ปีเทา่ นั้น ซึ่งใชเ้ วลาในการเรยี นทัง้ หมด 9 ปี (Grade1-9) เมือ่ เด็กเรยี นจบ grade9 นกั เรียนจะมีคะแนนสมรรถนะเฉลยี่ เพือ่ เข้าเรียนตอ่ ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ในกรณีทีเ่ ด็กท่มี ีคะแนนสมรรถนะเฉล่ยี น้อย แต่มีความต้องการท่ีจะเรยี นต่อระดับมัธยมศกึ ษาตอน กลุ่มพัฒนาการศกึ ษาสาหรับผมู้ ีความสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

๒๙ ปลาย สายสามญั เด็กจะต้องเรียนเพม่ิ อกี 1 ปี (รวมเรียนขั้นพนื้ ฐานท้ังหมด 10 ปี) เพื่อปรับคะแนนให้เป็น ตามเกณฑก์ ารเขา้ เรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามญั แต่ถา้ ยังทาคะแนนไม่ถึงตามเกณฑต์ ้องเรียน ต่อระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย สายอาชีพ ๓. การศกึ ษามธั ยมศึกษาตอนปลาย แบง่ เปน็ 2 หลักสูตร ดงั น้ี ๓.๑ การศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ (Upper Secondary Education) รับ นักเรยี นระดับข้นั พื้นฐานท่ีมรี ะดับคะแนนสมรรถนะ ดีขึ้นไป ใช้เวลาเรยี นทงั้ หมด 3 ปี นกั เรยี นสามารถเลือก เรยี นรายวชิ าทต่ี ้องการ โดยการเรียนแตล่ ะรายวชิ า จะเรียนเปน็ period (ชว่ งเวลา ม.4-ม.6) แต่ละ period จะแบ่งเป็นหลาย course ยกตัวอยา่ งเช่น รายวชิ าฟสิ กิ ส์ อาจจะมี 6 course ใน 1 period โดยนกั เรียน จะตอ้ งสอบแต่ละ course ใหผ้ ่านเกณฑ์ทีก่ าหนด เมือ่ นักเรียนอยู่ในระดับช้นั ม.6 นกั เรยี นจะต้องสอบแตล่ ะ รายวิชาท่ีลงเรยี นให้ผา่ นตามเกณฑ์ทกี่ าหนดเช่นกัน ในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายจะมีการกาหนดใหน้ ักเรียน สอบ Admission เพ่ือศึกษาต่อระดบั มหาวิทยาลัย โดยกาหนดวิชาสอบตามคณะทีจ่ ะเข้าเรียน ๓.๒ การศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สายอาชีพ (Upper Secondary Vocational Education and Training) รับนักเรียนระดบั ข้ันพื้นฐานทีม่ ีระดบั คะแนนสมรรถนะน้อยกว่าระดับดี ๔. การศึกษาระดับอดุ มศึกษา แบง่ เปน็ 2 หลกั สตู ร ดงั นี้ ๔.๑ หลกั สูตรมหาวทิ ยาลยั (University) ระดับปริญญาตรี - โท โดยใชเ้ วลาเรียน 5 ปี ๔.๒ หลกั สูตรสถาบนั อาชีวศึกษา (Polytechnic) ระดบั ปริญญาตรี โดยใชเ้ วลาเรียน 4 ปี จากระบบการศึกษาดังกล่าว๕ระอบรมและสมั มนาจงึ เขา้ ศึกษาดงู านในโรงเรยี นประถมศึกษาและ โรงเรยี นมธั ยมศึกษาจานวน ๒ แห่ง โดยมรี ายละเอียดและข้อสังเกต ดังนี้ กล่มุ พฒั นาการศึกษาสาหรับผู้มคี วามสามารถพิเศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

๓๐ 9. School visit - Auroran Koulu in Espoo (กำรศกึ ษำดูงำนทโ่ี รงเรยี น Auroran Koulu) Auroran Koulu เป็นโรงเรยี นประถมศึกษาแห่งหนึ่งในเมือง Espoo เปดิ สอนตัง้ แตร่ ะดบั ชน้ั อนุบาล – ระดับชน้ั ป.6 มนี กั เรียนท้งั หมด 370 คน โดยภารกิจสาคัญของโรงเรียน คอื ผเู้ รียนเป็นปจั จัยที่สาคัญที่สุด โดยโรงเรียนทาหน้าที่ช่วยให้นักเรียนคน้ พบจดุ แข็งของตนเอง และบรรลุเป้าหมายที่ดีที่สุดของพวกเขา โดยได้ เรยี นรูจ้ ากการศกึ ษาดงู านดงั นี้ กำรจดั ห้องเรยี น ในทุกห้องเรียนมีอุปกรณ์สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ประจาห้อง โปรเจคเตอร์ และเคร่ืองฉาย กระดานไวท์บอร์ด กระดานดา โต๊ะ เก้าอ้ี นักเรียนท่ีออกแบบให้เหมาะสมสาหรับทากิจกรรม กลมุ่ มผี ลงานนกั เรียนแสดงอย่บู รเิ วณผนงั ของห้องเรียน ภำพที่ ๑๗ แสดงการจัดหอ้ งเรียนใน Auroran Koulu กำรสงั เกตช้ันเรยี น ช้ันประถมศึกษำปที ่ี 4 วิชำวทิ ยำศำสตร์ ครูจัดการเรียนรู้โดยใช้ Phenomenon based learning โดยครูเร่ิมต้นกระตุ้นให้นักเรียนคิดโดยใช้ คาถามว่า ลมมีการเคล่ือนที่อย่างไร เม่ือมีการเป่าลมด้านบนและด้านล่างของกระดาษ 3 แบบ ที่มีขนาด กลุ่มพฒั นาการศึกษาสาหรบั ผมู้ ีความสามารถพิเศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

๓๑ ต่างกัน แล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนร่วมกันทดสอบ สังเกต และร่วมกันอภิปรายเป็นกลุ่ม พร้อมร่วมกันทานาย การเคลื่อนทขี่ องลมผ่านกระดาษแบบท่ี 4 ท่มี ีรูปร่างตา่ งออกไป สงั เกตเหน็ ว่ำ นกั เรียนไดร้ ่วมกันวางแผน ทาการทดสอบ แสดงความคิดเหน็ แล้วจดบนทกึ บางกลมุ่ มี การใช้แท็บเล็ตในการสืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติม หลงั จากนน้ั ครูนาอภปิ รายโดยใช้คาถามเกีย่ วกับผลการทดสอบเป่า ลมกระดาษแต่ละแบบที่มีขนาดแตกต่างกัน (แบบ A,B,C) รวมถึงผลการทานายการเคล่ือนที่ของลมผ่าน กระดาษแบบที่ 4 (แบบ D) โดยส่มุ ถามนกั เรยี นทลี ะคน และเปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนอ่นื ๆได้ร่วมแสดงความคิดเห็น ครูมีการแสดงออกถึงการรับฟัง / ยอมรับคาตอบของของนักเรียน และเสริมแรงด้วยการชมเชย ในขณะที่ เพื่อนกาลังแสดงความคิดเห็นอยู่ มีนักเรียนคนอื่นๆ ยกมือแสดงความต้องการท่ีจะร่วมแสดงความคิดเห็น เพิ่มเติม แต่ครูยังไม่อนุญาตให้พูด นักเรียนเหล่านั้นรู้จักรอคอย ไม่มีการพูดแทรก เพื่อนที่กาลังแสดงความ คิดเหน็ อยู่ในขน้ั สดุ ทา้ ยครแู ละนกั เรียนมีอภิปรายการสรปุ บทเรยี นร่วมกันเกยี่ วกบั เร่ืองทเ่ี รยี น หลงั จากจบกิจกรรมการเรียนรูต้ ามหัวข้อข้างต้น นักเรยี นกลมุ่ รับผดิ ชอบนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า ท่ีได้รับมอบหมายจากชั่วโมงก่อน นาเสนอเกี่ยวกับ “ขยะรีไซเคิล” สังเกตเห็นว่ำ นักเรียนกลุ่มท่ีนาเสนอมี สมรรถนะในการสื่อสารและสามารถใชเ้ ทคโนโลยีประกอบการนาเสนอได้อย่างคล่องแคล่ว และเป็นธรรมชาติ ในขณะที่เพ่ือนๆในห้องกเ็ ป็นผ้ฟู ังทดี่ ี ไม่มีการคุยกันระหวา่ งท่เี พอื่ นนาเสนอ ภำพท่ี ๑๘ การสังเกตชัน้ เรียน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 วชิ าวิทยาศาสตร์ นกั เรยี นไดเ้ รยี นร้จู ากกจิ กรรมท่เี ปน็ Active learning ไดฝ้ ึกกระบวนการคดิ และไดล้ งมือปฏิบัตจิ รงิ มี การทางานเปน็ กลุม่ และมกี ารใช้เทคโนโลยีในการสืบคน้ ข้อมลู เพ่ิมเติม (ถา้ หากต้องการ) กำรสังเกตชั้นเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ 5 วิชำตดั เยบ็ เส้ือผ้ำ และ งำนไม้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม เวียนกันเข้าเรียน วิชางานไม้และตัดเย็บ เส้ือผ้า โดยมี task ในแตล่ ะวิชาดังน้ี กล่มุ พัฒนาการศึกษาสาหรบั ผู้มคี วามสามารถพเิ ศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

๓๒ วชิ างานไม้ : ทาอุปกรณ์ตกั น้าในซาวนา่ , มา้ นั่ง วชิ าตดั เย็บเส้ือผา้ : ตดั เย็บกางเกงขาสั้นสาหรับตนเอง ในการเรียนวชิ าน้ีนักเรยี นทุกคนจะไดล้ งมือปฏิบตั ิจรงิ ในการสรา้ งช้ินงาน เร่ิมตัง้ แต่กระบวนการวางแผน ออกแบบ ศึกษาวิธกี ารทางาน มกี ารสบื คน้ วิธีการทาเพม่ิ เติมจากแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ โดยมีครูเปน็ ผู้อานวยความ สะดวก แนะนาในขณะปฏิบตั ิงาน นักเรียนทกุ คนใชเ้ ครื่องมือ เครื่องจักร ในการทางานอยา่ งคล่องแคล่ว เม่ือ หมดเวลานักเรียนท่ยี งั ทางานไม่เสร็จจะเกบ็ ชน้ิ งาน เก็บอุปกรณ์ เข้าตู้อย่างเปน็ ระเบยี บ มกี ารทาความสะอาด ห้องหลังจากหมดช่วั โมง ภำพท่ี ๑๙ การสังเกตชัน้ เรียน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 วิชางานไม้ และตดั เยบ็ เส้ือผ้าซึง่ นักเรยี นทกุ คนได้ลงมอื สร้างชน้ิ งานดว้ ยตนเอง ได้เรียนรู้ถึงกระบวนการวางแผน ออกแบบ ลงมือสร้างชนิ้ งานจนสาเรจ็ กล่มุ พัฒนาการศกึ ษาสาหรับผ้มู ีความสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

๓๓ 10. School visit - Etela Tapiola Lukio in Espoo (กำรศึกษำดูงำนท่โี รงเรยี น Etela Tapiola Lukio) กำรศึกษำระดบั มัธยมศกึ ษำตอนปลำยในประเทศฟินแลนด์ การศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายในประเทศฟนิ แลนด์แบง่ ออกเปน็ สองประเภท คือ 1. กำรศึกษำสำมัญศึกษำ รับนักเรียนระดับข้ันพ้ืนฐาน (เกรด 9) ท่ีผ่านการประเมินความสามารถ ดา้ นสมรรถนะ ระดับดขี นึ้ ไป ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายนักเรียนสามารถเลือกเรียนในรายวิชาที่ตนเองต้องการเพื่อใช้เป็น พ้ืนฐานในการเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย และนักเรียนทุกคนต้องสอบ National Test เพื่อประเมิน สมรรถนะของตนเองในการที่จะเรียนต่อคณะต่าง ในระดับอุดมศึกษา ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้ของ นกั เรียนในแตล่ ะรายวิชาจะเป็นรูปแบบระดบั ผลการเรียนหรอื ระบบเกรด 2. กำรศกึ ษำอำชวี ศึกษำ จะรบั นกั เรียนทผี่ า่ นการประเมนิ สมรรถนะท่ีนอ้ ยกว่าระดบั ดีลงไป การจัดการศึกษาระดับมัธยมตอนปลายยังคงใช้ Phenomenon- based Learning เหมือนระดับข้ัน พื้นฐาน โดยเน้นการใช้ Digital literacy เป็นเคร่ืองมือที่จะทาให้นักเรียนทักษะในการนาเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แท๊บเล็ต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และส่ือ ออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง เช่น การสืบค้น การนาเสนอ การทา แบบฝึกหัด ฯลฯ นักเรียนทกุ คนจะมี Notebook เปน็ ของตนเองเพื่อเช่ือมต่อเน้ือหาและแบบฝกึ หดั ท่ีครูจัดทา ข้นึ ในระบบออนไลน์ ในชว่ งเวลาเรียนนักเรยี นสามารถเชอ่ื มต่อเนื้อหา และตอบโต้กับครผู า่ นระบบออนไลน์หรอื ยกมือ เพ่ือ ซกั ถามเรอื่ งที่สงสยั หรอื ตอบคาถามของครู หรอื แสดงความคดิ เห็นจากเรื่องที่กาลังเรยี นอยู่ กลมุ่ พัฒนาการศึกษาสาหรับผู้มคี วามสามารถพเิ ศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

๓๔ ภำพที่ ๒๐ การสังเกตช้ันเรียนวชิ าฟิสกิ ส์ ซึง่ จัดการเรยี นรู้แบบบรรยาย กลมุ่ พัฒนาการศึกษาสาหรับผ้มู ีความสามารถพเิ ศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

๓๕ ในบางรายวิชา ยกตัวอย่างเช่น วิชาชีววิทยารูจะให้การบ้านนักเรียนจากเน้ือหาท่ีกาลังจะเรียนใน ชั่วโมงถัดไป โดยนักเรียนจะทาการสืบค้น และจัดทาการนาเสนอออนไลน์ (google presentation) มาจาก บ้าน เม่ือถึงช่วงเวลาเรียนนักเรียนจะแบ่งกลุ่มในการเสนอเร่ืองที่ตนเองได้ทาการสืบค้น และแลกเปลี่ยน ความคิดกบั เพื่อนในกลุม่ ภำพที่ ๒๑ การสังเกตชน้ั เรียนวชิ าชวี วทิ ยา ซึ่งจัดการเรยี นรโู้ ดยใหน้ ักเรียนสืบคน้ ข้อมลู สัตว์ทใ่ี กล้สูญพันธ์ุท้ัง ในประเทศฟนิ แลนด์ และท่ัวโลก แลว้ นามาแลกเปล่ยี นเรียนรู้ นอกจากน้ี ยังสังเกตเห็นว่ำโรงเรียนจะออกแบบและจัดห้องเรียนที่เน้นการเรียนรู้ระบบกลุ่ม และมี อุปกรณ์พื้นฐาน เช่น ปล๊ัก โปรเจคเตอร์ Active board เตรียมให้ในชั้นเรียน อีกท้ังมีห้องปฏิบัติการท่ีทันสมยั แตท่ ่สี าคญั กวา่ น้นั คอื การจัดพื้นที่สาหรบั ให้นักเรียนไดน้ าเสนอความคดิ การแสดงความคดิ เห็นซ่งึ ในช่วงเวลา เรียนนักเรียนอาจไม่จาเป็นต้องอยู่ในห้องเรียน อาจจะเลือกพ้ืนท่ีบริเวณดังกล่าวในการทากิจกรรมการเรียนรู้ แต่ทั้งนี้ก็จะขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละรายวิชา หรือช่วงที่เรียนเน้นทางด้านเน้ือหานักเรียนจะเรียนในชั้นเรียน และใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนรอู้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (ไมท่ ากจิ กรรมใดๆนอกจากเร่ืองท่ีกาลงั เรียน อย)ู่ กลุ่มพัฒนาการศึกษาสาหรับผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

๓๖ ภำพท่ี ๒๒ การจดั บรรยากาศทางการเรียนร้ภู ายในโรงเรียน กลุม่ พฒั นาการศึกษาสาหรับผูม้ คี วามสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

๓๗ กำรจดั กำรเรียนรูเ้ พ่ือมุ่งสูก่ ำรเปน็ ผูป้ ระกอบกำร ผลจากการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้ Phenomenon- based Learning สง่ ผลให้นักเรียนสามารถ ออกแบบและสร้าง project ของเอง และนาไปสู่การสร้างผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถสรา้ งรายไดใ้ ห้กับตนเองขณะ เรยี น และเป็นจดุ เริ่มตน้ ของธุรกิจในอนาคต ภำพที่ ๒๓ นักเรยี นนาเสนอแบรนด์ท่อี อกแบบเองซงึ่ สามารถทากาไรจากการประกอบการไดถ้ งึ 100,000ยโู ร การศกึ ษาในประเทศฟนิ แลนด์ใหค้ วามสาคัญกบั นกั เรยี นเปน็ อย่างมาก โดยใช้ Phenomenon- based Learning ในการขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ ปลูกฝงั ทักษะการใช้ชีวิตบรู ณาการกบั เนื้อหาวชิ าท่ี เรียน และรจู้ กั การประเมินอาชีพของตนเองในอนาคตก่อนจบระดบั ขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มพัฒนาการศกึ ษาสาหรบั ผมู้ คี วามสามารถพิเศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

๓๘ ภำพที่ ๒๔ ขอ้ สงั เกตจากการศกึ ษาดงู านในโรงเรยี น Etela Tapiola Lukio กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษาสาหรบั ผู้มีความสามารถพิเศษ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

๓๙ ภำพท่ี ๒๕ การจดั การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายในฟนิ แลนด์ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษาสาหรับผมู้ คี วามสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

๔๐ ข้อเสนอแนะในกำรประยกุ ต์ใชใ้ นประเทศไทย ๑. การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ปรากฏการณเ์ ปน็ ฐานนั้น จุดเด่นคอื การจัดการเรยี นรู้ แบบ active learning และ สหวิทยาการ โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ซึ่ง ในประเทศไทยมีการนาการเรียนการสอนแบบ active learning อยแู่ ล้ว แต่ยังไม่มกี ารนา สหวทิ ยาการมาใชอ้ ย่างชัดเจน ดงั น้ันหากมาปรบั ใชใ้ นประเทศไทย ครูจะต้องวางแผนเป็นลาดับข้ันคือการเริ่มทดลองจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนของตนเองก่อน แล้ว ทาการศกึ ษาวจิ ัย วา่ มีจุดดจี ุดเดน่ อยา่ งไร จากน้นั ก็ขยายผลตอ่ ไปในระดับโรงเรียน(นาร่อง) และระดับประเทศ นอกจากนี้ในการวางแผนการสอนในการจัดการเรียนรู้แบบ PhBL ก็ให้นาหลักการ PEE เข้ามาช่วยในการวาง แผนการสอน ๒. ต้นแบบการจัดการเรียนรู้ ในปัจจุบันที่ประเทศไทยมีการสร้างความตระหนักและกระตุ้นให้ครู จัดการเรียนรู้โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ และครูมีการนาไปใช้ในห้องเรียนได้แล้วในระดับหน่ึงแต่ยังมีจานวนไม่ มาก ซึ่งครูยังใช้รูปแบบการสอนแบบเก่า เหมือนภาพท่ีครูเคยเห็นมาในตอนสมัยเรียน และมีการยึดติดกับ เนื้อหาวิชามากกว่าการฝึกทักษะ กระบวนการ จากการสงั เกตชัน้ เรียนในประเทศฟินแลนด์ ซงึ่ เป็นประเทศที่มี คุณภาพการจัดการศึกษาเป็นอันดับหนึ่งของโลก ย่ิงเห็นได้ว่าครูมีการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม Active learning ผู้เรียนเป็นผู้ค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง ผ่านการปฏิบัติกิจกรรมท่ีครูทาหน้าที่เป็นผู้อานวยความ สะดวกในการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การใช้ Phenomenon based learning ทาให้ผู้เรียนได้เห็น ความเชื่อมโยงของเร่ืองทเ่ี รยี นในห้องเรียนกับชีวิต และเห็นความเก่ียวโยงกันของความรู้ในวชิ าต่างๆ และการ จดั การเรียนรู้ทเี่ นน้ กระบวนการ ซง่ึ นาไปสู่การพัฒนาสมรรถนะด้านตา่ งๆของผเู้ รยี น ๓. บรรยากาศการจัดห้องเรียนทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้ของผเู้ รียน มอี ปุ กรณท์ ช่ี ่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการ จดั การเรียนรู้ ไดแ้ ก่ กล่องชาร์จแท็บเล็ต โตะ๊ เกา้ อ้ี คอมพวิ เตอร์ โปรเจคเตอรแ์ ละเคร่ืองฉาย ในประเทศไทย ต้องยอมรับว่ายังมีห้องเรียนอีกจานวนมากท่ีขาดอุปกรณ์เหล่านี้ ซ่ึงมีผลทาให้เกิดความเหล่ือมล้าของคุณภาพ การศกึ ษา ๔. พฤติกรรมเชิงบวกของครูท่ีกระตุ้นให้เกิดการเรยี นร้ขู องเด็ก เห็นได้จากครูรอคอย/ยอมรับคาตอบ ของผู้เรียน ไม่ตัดสินว่าคาตอบน้ันถูกผิด แต่จะคอยกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดออกมาและให้คาชมเชย อยู่เสมอ ซึ่งยังมีครูไทยอยู่จานวนหนึ่งท่ีจัดการชั้นเรียนด้วยพฤติกรรมเชิงลบทาให้สกัดก้ันความคิดสรา้ งสรรค์ และทาใหเ้ ดก็ ไมก่ ลา้ แสดงออก ๕. สาหรับกิจกรรมเชิงปฏิบัติการสาหรับวิทยาศาสตร์ศึกษานั้นมีความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่งในการ ประยุกต์ใช้กับการรเรียนการสอนในประเทศไทย เน่ืองด้วยส่งเสริมให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการ เรียนรู้ และสามารถสร้างองค์ความรใู้ หม่เพ่ือใช้ในการพัฒนา และแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในชวี ิตประจาวนั โดย สังเกตว่ากระบวนการท่ีใช้ในประเทศฟินแลนด์นั้น มีกระบวนการท่ีไม่ค่อยแตกต่างจากไทยมากนักเพียงแต่มี การใชอ้ ยา่ งจงิ จงั มากกวา่ และหัวข้อท่ใี ชใ้ นการศึกษากม็ ีความกวา้ งและสอดคล้องกับปัญหาในระดับโลกและมี การเช่ือมโยงกับระดับท้องถิ่นได้อย่างกว้างขวาง ดังนั้น การปรับให้เข้ากับประเทศไทย จึงไม่ใช่เรื่องยากมาก นัก โดยนา่ จะสามารถสง่ เสริมผา่ น กิจกรรม STEM เพียงแต่มกี ารปรับแนวคดิ และหวั ข้อใหก้ วา้ งขน้ึ ๖. จากการศึกษาดูงานพบว่าการใช้ ICT ในด้านการจัดการเรียนการสอนของประเทศฟินแลนด์และ โรงเรียนที่มีความพร้อมในประเทศไทยไม่มีความแตกต่างกันมากนัก ปัจจุบันการศึกษาของประเทศไทยได้ใช้ กลุม่ พฒั นาการศึกษาสาหรบั ผมู้ คี วามสามารถพิเศษ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

๔๑ ประโยชน์ของระบบ ICT ทั้งทางด้านการติดต่อส่ือสาร การจัดการเรียนรู้ การติดตามนักเรียนทั้งด้านการเข้า เรียน การส่งงาน การทาแบบฝึกหัด และผลการเรียน ซ่ึงนักเรียนสามรถติดต่อได้อย่างง่าย สะดวก โรงเรียน บางแห่งใช้โปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆ เพ่ือช่วยในการจัดการเรียนการสอน เช่น Facebook Line Youtube สื่อ หรือบทเรียนออนไลน์ที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน Office 365 เกมส์ออนไลน์ ฯลฯ แต่ก็มีนักเรียนส่วนหนึ่ง นาเอาคอมพิวเตอรไ์ ปใช้ในทางทีผ่ ดิ ๆ เช่น เลน่ เกมส์ หรอื เขา้ เวปไซต์ท่ีไมเ่ หมาะสม ๗. กระทรวงศึกษาธิการมีแผนหลักในเร่ืองการใช้ ICT เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ มีเป้าหมายให้ ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสเข้าถึงและสามารถใช้ ICT ตามมาตรฐานหลักสูตร ซึ่งจะประกอบด้วยเร่ืองสาคัญ เช่น ความหมายของข้อมลู แหล่งข้อมลู การจดั เก็บและเรยี กใช้ สว่ นประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ และ การใชร้ ะบบปฏิบตั ิการ การใช้คอมพวิ เตอร์ การใช้เทคโนโลยีกับภูมิปญั ญาท้องถ่ินและสากลความรู้และการใช้ เครือข่ายค้นคว้า วิเคราะห์ภาษาคอมพิวเตอร์ และการพัฒนาโปรแกรม ซึ่งกรอบหลักสูตรดังกล่าว จะมีความ ยากง่าย เป็นขั้นตอน ครู อาจารย์ จะเป็นส่วนสาคัญมากที่จะพัฒนาความรู้ กระบวนการ ถ่ายทอดความรู้ ให้ เด็กเรยี นอยา่ งเข้าใจและสนุกสนาน รวมท้ังใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ติ คุณภาพการทางานของครู อาจารย์ เด็ก และผูป้ กครองทเี่ กี่ยวข้องทุกคน ๘. การจดั สถานที่ ในฟินแลนด์ มรี ูปแบบที่กาหนดให้สถานท่ีในโรงเรียนมคี วามเหมาะสมกับนักเรียนที่ จะเล่น มุมพักผ่อน เรียนรู้ หรือมุมที่เป็นส่วนตัวแก่นักเรียนได้ตามความต้องการของแต่ละบุคคล ซ่ึงเป็นการ เน้นและเปดิ โอกาสให้นกั เรียนไดแ้ สดงตัวตนของตนเอง หรือเลือกทาในส่งิ ที่ตนสนใจไดอ้ ย่างหลากหลาย ๙. การบริหารจัดการในโรงเรียนที่เน้นความเท่าเทียม ความเสมอภาค และการให้พื้นท่ีแลกเปลี่ยน ระหว่างครูกับนกั เรยี น และครูกับครดู ว้ ยกนั ๑๐. กระบวนการจัดการเรียนการสอน ท่ีกาหนดสถาณการณ์ หรือ ประเด็น ท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียน วิพากษ์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น ระหว่างเพื่อนนักเรียนด้วยกัน และระหว่างเพื่อนนกั เรียนกับครู โดยให้การ ยอมรับในทุกความคิดเห็น ซึ่งเป็นปัจจัยพ้ืนฐานของกระบวนการประชาธิปไตย ที่ถูกปลูกฝังในห้องเรียน โดย ไมเ่ นน้ การแขง่ ขนั ว่าเพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลการประเมินทสี่ ูงกว่า ๑๑. การประเมินผลการเรียน ควรแบ่งสัดส่วนเป็น สมรรถนะ เนื้อหา และการประยุกใช้ ให้มีความ ใกลเ้ คียงกนั เพื่อให้นักเรยี นมีแนวทางในการนาเน้อื หา และสมรรถนะ ที่ได้รบั ไปประยกุ ต์ใช้ได้จรงิ กลุ่มพัฒนาการศึกษาสาหรบั ผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา เมษายน ๒๕๖๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

๔๒ ภำคผนวก กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษาสาหรับผมู้ ีความสามารถพิเศษ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เมษายน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน