Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Published by oakksn, 2020-05-10 23:32:12

Description: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งขอ้ มูลและอัลกอลทิ มึ ความรพู้ ้นื ฐานเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์

คอมพิวเตอรเ์ กดิ ขึ้นจากการประดษิ ฐ์คดิ คน้ เพื่อหาเคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการคานวณ ซ่งึ มี วิวฒั นาการมานานแลว้ เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการคานวณเครื่องแรก คือ “ลกู คิด (Abacus)” ท่ีสร้างข้นึ ในประเทศจีน เมื่อประมาณ 2000-3000 ปที ผ่ี ่านมา

ชารล์ แบบเบจ จงึ ได้รบั การยกย่องใหเ้ ป็น “บดิ าแหง่ เครือ่ งคอมพิวเตอร์” พ.ศ. 2376 ชารล์ แบบเบจ (Charles Babbage) นักคณิตศาสตร์ ชาวองั กฤษ ได้ประดิษฐเ์ ครอ่ื ง วิเคราะห์ จากหลักการของเครอ่ื ง วเิ คราะห์น้ีเองได้นามาพฒั นาสรา้ ง เครอื่ งคอมพวิ เตอร์

ออกุสดาเป็นผสู้ รา้ งโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ หรือ โปรแกรมเมอร์ (Programmer) เปน็ คนแรกของโลก เอดา ออกสุ ตา (Ada Augusta) นัก คณติ ศาสตร์ได้สร้างโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ครง้ั แรกโดยนาเอาหลกั การของชาร์ล แบบ เบจ มาใช้แกป้ ญั หาทางวทิ ยาศสาตรไ์ ด้ สาเรจ็

คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละดนิ วา่ Computare หรอื ตรงกบั ภาษาไทยวา่ “คณิตกรณ”์ ซ่ึงหมายถงึ การรบั การคานวณ คอมพวิ เตอร์จึงเปน็ เครอ่ื งจักรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีสรา้ งขน้ึ มาเพอ่ื ทางานแทนมนุษย์ในดา้ น การคานวณและสามารถจดจาข้อมลู ที่เปน็ ตวั อกั ษร ตัวเลขเพอ่ื การใช้งานและสามารถ จัดการกบั สัญลกั ษณ์ไดด้ ้วยความเร็วสงู โดยปฏบิ ตั ติ ามขั้นตอนการส่ังงานของโปรแกรมมี ความสามารถในการรบั -ส่งขอ้ มูล การเปรียบเทียบประมวลผลขอ้ มูล จดั เก็บขอ้ มลู ไว้ เพ่ือนามาใช้ในครั้งต่อๆไป

ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) หรือคอมพิวเตอรพ์ ีซี (PC : Personal Computer) หรือ ดิจิตอลคอมพวิ เตอร์ (Digital Computer) หมายถึง คอมพิวเตอรส์ ว่ นบุคคลทีใ่ ช้กนั ทว่ั ๆไป

ยุคของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรย์ คุ ท่ี 1 (First Generation Computer) พ.ศ. 2488-2501 เปน็ คอมพวิ เตอรท์ ใี่ ชห้ ลอด สญุ ญากาศ ซึ่งใช้ กาลังไฟฟา้ สูง จงึ มีปญั หา เรือ่ งความรอ้ นและหลอด ขาดบอ่ ยๆ

เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ในยคุ ท่ี 1 นีม้ ขี นาดใหญ่ เคร่อื ง Mark 1

เคร่อื งคอมพวิ เตอรใ์ นยุคที่ 1 น้ีมีขนาดใหญ่ ENIAC

เคร่อื งคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 น้มี ีขนาดใหญ่ UNIVAC

ยุคของคอมพิวเตอร์ ยคุ ท่ี 2 Second Generation Computer พ.ศ. 2502-2506 เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ในยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมแี กน เฟอรไ์ รท์เป็นหนว่ ยความจามีอุปกรณเ์ ก็บข้อมลู สารอง ในรูปของสื่อบนั ทึกแม่เหล็ก เชน่ ภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงน้ไี ด้มีการพัฒนา และใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน

ยคุ ของคอมพิวเตอร์ ยคุ ที่ 3 Third Generation Computer พ.ศ. 2507 – 2512 มีการประดษิ ฐ์คิดค้นเกย่ี วกบั วงจรรวม (IC Integrated Circuit) วงจรเหลา่ นส้ี ามารถวางลงบนชปิ เลก็ ๆเพยี ง แผน่ เดียวและนาชปิ เหลา่ น้ีมาใชแ้ ทนทรานซสิ เตอร์ ทาให้ประหยดั พน้ื ทไี่ ดม้ าก

ยคุ ของคอมพิวเตอร์ ยุคท่ี 4 Fourth Generation Computer พ.ศ. 2513 – 2532 คอมพิวเตอร์ในยคุ ท่ี 4 น้ี ใช้วงจรรวมความจสุ งู มาก เช่น ไมโครโปรเซสเซอรท์ ่บี รรจุ ทรานซสิ เตอร์จานวนมาก ทาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์มขี นาดเลก็

ยคุ ของคอมพิวเตอร์ ยคุ ที่ 5 Fifth Generation Computer พ.ศ. 2533 – ปจั จุบัน คอมพิวเตอรใ์ นยุคที่ 5 นี้ มงุ่ เนน้ การ พัฒนาความสามารถในการทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ และความสะดวกสบาย ในการใชค้ อมพิวเตอร์ มกี ารพัฒนาสร้าง เคร่อื งคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็ก

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คอื อุปกรณ์ตา่ งๆที่ประกอบขึ้นเปน็ เครอ่ื งคอมพิวเตอรม์ ลี กั ษณะเปน็ โครงรา่ ง สามารถมองเหน็ และสมั ผัสได้ เช่น จอภาพ เคร่ืองพิมพ์ เมา้ ส์ เป็น ตน้ ฮารด์ แวร์ แบ่งตามลกั ษณะการทางานได้ 4 สว่ น คอื

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หน่วยรับขอ้ มลู (Input Unit) คอื อปุ กรณ์ทท่ี าหนา้ ทีร่ บั โปรแกรมและขอ้ มูลเขา้ สู่ เครื่องคอมพิวเตอร์ อปุ กรณร์ ับขอ้ มูลและโปรแกรมทใ่ี ชก้ นั เปน็ สว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่

หนว่ ยรบั ขอ้ มลู ปากกาแสง (Light Pan) เครอื่ งอา่ นพกิ ัด เครอื่ งกวาดตรวจ

ฮารด์ แวร์ (Hardware) หนว่ ยประมวลผล (CPU : Central Processing Unit) หรือไมโครโปรเซสเซอรท์ า หนา้ ทีน่ าคาส่ัง และขอ้ มูลที่เกบ็ ไว้ในหน่วยความจามาแปลความหมาย และทาตาม คาสั่งพนื้ ฐานของไมโครโปรเซสเซอร์ ซ่ึงแทนดว้ ยรหัสเลขฐานสอง

หน่วยประมวลผล (CPU : Central Processing Unit) หนว่ ยประมวลผลกลาง ประกอบดว้ ย สว่ นทมี่ คี วามสาคัญ 3 สว่ น คอื 1. หน่วยควบคมุ (Control Unit) ทาหน้าทค่ี วบคมุ ข้ันตอนการทางานของอปุ กรณ์ตา่ งๆ และ ประสานการทางานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์รบั ข้อมูลหนว่ ยประมวลผลกลางและอปุ กรณ์แสดงผล รวมท้งั หนว่ ยความจาสารองด้วย 2. หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit : ALU) ทาหน้าทเ่ี กี่ยวกับการ คานวณทางคณิตศาสตร์และเปรียบเทียบตามเง่อื นไขและกฎเกณฑท์ างคณิตศาสตร์

หนว่ ยประมวลผล (CPU : Central Processing Unit)

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หน่วยความจา (Memory) ทาหนา้ ทเ่ี ก็บข้อมลู และโปรแกรมตา่ งๆ ขณะท่ี คอมพวิ เตอรท์ างานอยู่ หน่วยความจาแบ่งได้ 2 ประเภท

หนว่ ยความจา (Memory) หนว่ ยความจาทีอ่ า่ นไดเ้ พียงอยา่ งเดยี ว (ROM : Reod Only Memory) คือ หน่วยความจาท่ตี ิดต้ังมากบั เครอื่ งคอมพิวเตอร์ ซง่ึ มโี ปรแกรมหรอื ขอ้ มลู อยู่แล้ว แม้จะไม่มีการจ่ายไฟเลย้ี งให้แกร่ ะบบขอ้ มูลทเ่ี กบ็ ไว้ ใน ROM สามารถอา่ นข้อมลู ได้

หนว่ ยความจา (Memory) หนว่ ยความจาที่สามารถอ่านและเขียนได้ (RAM : Rondom Access Memory) แรมเปน็ หนว่ ยความจาแบบลบเลือนได้ เปน็ หนว่ ยความจาหลักท่สี ามารถนาโปรแกรม และข้อมลู จากอุปกรณ์ ภายนอก หรือหน่วยความจารองมาบรรจุไว้ หน่วยความจาแรมน้ี ต่างจากรอมท่ีสามารถเก็บข้อมลู ได้ เฉพาะเวลาท่มี ไี ฟฟา้ เลี้ยงวงจร อยู่เท่านนั้ หากปิดเครอ่ื งข้อมูล จะหายได้หมดสิน้ เม่อื เปดิ เครือ่ ง ใหม่อีกคร้ัง จงึ จะนาขอ้ มูลหรอื โปรแกรมมาเขยี นใหมอ่ กี ครัง้

(RAM : Rondom Access Memory) หนว่ ยวัดขนาดความจขุ อง RAM 1 Byte = 1 ตัวอกั ษร Kilobyte (KB) = 1024 Bytes Megabyte (MB) = 1024 Kilobytes Gigabyte (GB) = 1024 Megabytes Terabyte (TB) = 1024 Gigabytes

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หนว่ ยแสดงผล (Output unit) ทาหนา้ ที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนาผลท่ไี ด้ ออกจาก หนว่ ยความจาหลักแสดง ใหผ้ ้ใู ชไ้ ดเ้ ห็นทางอปุ กรณส์ ง่ ออก อปุ กรณ์ส่งออกที่ นิยมใช้สว่ นใหญ่



ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หนว่ ยเก็บข้อมลู สารอง (Secondary Storage) คือ หน่วยความจาทีส่ ามารถเกบ็ ข้อมลู ไว้ใช้ได้ตลอด ไดแ้ ก่ ฮารด์ ดิสก์ ฟลอปป้ดี สิ ก์ ซีดี ดวี ดี ี ยูเอสบี ฯลฯ

หนว่ ยเกบ็ ขอ้ มูลสารอง (Secondary Storage)

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ซอฟต์แวร์ (Software) พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานใหค้ วามหมาย ซอฟต์แวร์วา่ “สว่ นชดุ คาส่ัง” ซอฟตแ์ วร์ คอื โปรแกรม หรอื ชดุ คาสงั่ ทีส่ ัง่ ให้คอมพิวเตอร์ทางานตามทตี่ ้องการไม่ สามารถจบั ตอ้ งได้ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คือ

ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software) คือ โปรแกรมที่ทาหนา้ ที่ประสานการทางาน ระหวา่ งฮารด์ แวรก์ บั ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพือ่ ให้ผู้ใช้สามารถใชซ้ อฟตแ์ วร์ได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพนอกจากนั้นซอฟต์แวร์ระบบยงั ทาหนา้ ท่ีจดั การระบบ ดูแลรักษาเครอ่ื ง แปลภาษาระดบั ตา่ หรอื ภาษาระดับสงู ให้เปน็ ภาษาเคร่อื ง เพ่ือใหเ้ ครอื่ งอ่านได้ เข้าใจ ซอฟต์แวร์ระบบมี 4 ชนดิ คือ

ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software) 1.OS (Operating System) คือ โปรแกรมท่ีทาหน้าที่ควบคมุ การใชง้ านส่วนต่างๆ ของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ 2.Translation Program คือ โปรแกรมทท่ี าหน้าที่แปลโปรแกรมหรอื ชุดคาส่งั ที่ เขียนขน้ึ มาด้วยภาษาอืน่ เชน่ ภาษาระดับสงู ซ่งึ ไมใ่ ชภ่ าษาเครื่อง ให้เปน็ ภาษาท่ี เครอ่ื งเข้าใจและนาไปปฏบิ ตั ิได้

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) 3. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) คอื โปรแกรมระบบทที่ าหนา้ ที่ อานวยความสะดวกใหก้ ับผ้ใู ช้คอมพิวเตอรใ์ หส้ ามารถทางานไดส้ ะดวก รวดเรว็ และ ง่ายขึน้ 4. Diagnostic Program คอื โปรแกรมระบบทท่ี าหนา้ ทต่ี รวจสอบข้อผิดพลาดใน การทางานของอปุ กรณต์ า่ งๆของคอมพวิ เตอร์

ตัวอยา่ งของระบบปฏบิ ัตกิ าร ระบบปฏิบตั กิ ารดอส (DOS : Disk Operating System) บริษทั ไอบเี อม็ ผลติ เครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ขน้ึ และใหช้ ่ือวา่ “คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คล” และได้ มอบหมายให้บรษิ ัทไมโครซอฟตเ์ ป็น ผูพ้ ฒั นาระบบปฏบิ ตั กิ ารใหช้ อื่ ว่า “พีซี ดอส” ปจั จุบนั MS-DOS ไมไ่ ดร้ ับความ นิยมแล้ว

ตัวอยา่ งของระบบปฏิบตั ิการ ระบบปฏิบัติการยูนกิ ซ์ (UNIX) ระบบปฏิบัติการประเภทใชง้ านไดห้ ลาย งานและหลายคนในเวลาเดียวกนั

ตวั อย่างของระบบปฏบิ ตั กิ าร แอนดรอยด์ (Android) ระบบปฏิบตั ิการสาหรับ อุปกรณ์พกพา เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ แทบ็ เล็ต

เกรด็ ความรู้ Open Source คอื ซอฟต์แวรล์ ขิ สิทธ์ทิ ีม่ ไี ลเซนส์ (License) แบบโอเพนซอรส์ ซ่งึ มี ลกั ษณะตา่ งจากไลเซนส์ของซอฟต์แวรโ์ ดยทั่วไป คอื ผู้พัฒนาซอฟต์แวรจ์ ะอนุญาต ให้ผ้ใู ช้ติดต้ังใช้งานไดอ้ ย่างไม่จากัดจานวนและรูปแบบการใชง้ าน ไมว่ า่ จะเป็นการใช้ งานสว่ นตัว การใช้งานในเชงิ การคา้ หรือการใช้งานในองคก์ ร นอกจากน้ี ยงั อนญุ าต และสนับสนุนให้เรียนรูแ้ ละทาความเขา้ ใจการทางานของซอฟต์แวร์ โดยการเปดิ เผย ต้นฉบบั (Source Code) ของซอฟตแ์ วร์ และอนญุ าตใหแ้ ก้ไข ดดั แปลงได้ตาม ความตอ้ งการ

ตวั อย่างของระบบปฏิบตั กิ าร ระบบปฏบิ ตั กิ ารไมโครซอฟต์วนิ โดวส์ (Microsoft Windows) ระบบปฏิบตั ิการท่พี ัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟตท์ ีม่ ีลักษณะการติดต่อกับผใู้ ช้ (User Interface) ท่ีเรียกวา่ ระบบติดตอ่ ผ้ใู ช้แบบกราฟกิ (GUI : Graphic User Interface) มกี ารแสดงผลเปน็ รูปภาพ ใช้สญั ลักษณใ์ นรูปของรายการทเี่ ลอื ก (Menu) หรือสัญรปู (Icon) เพ่อื สั่งให้คอมพวิ เตอร์ทางานแทนการพมิ พ์คาส่ังทล่ี ะบรรทัด ทาให้การใช้งานคอมพวิ เตอรไ์ ด้งา่ ย

ระบบปฏบิ ัตกิ ารไมโครซอฟต์วินโดวส์ (Microsoft Windows) ตวั อยา่ งซอฟตแ์ วรร์ ะบบปฏบิ ตั ิการของบรษิ ัทไมโครซอฟต์ 1.Windows 3.1 เปน็ รนุ่ แรกทีท่ างานบนเครือ่ งคอมพวิ เตอร์เครื่องเดียว (Stand Alone) 2.Windows 95 สามารถเป็นเครือข่ายภายในองคก์ ร เพ่ือใชท้ รัพยากรร่วมกนั ได้ 3.Windows 98 สามารถทางานเปน็ เครือขา่ ยภายในองคก์ ร เพ่อื ใช้ทรพั ยากรร่วมกนั ได้ 4.Windows Me สามารถทางานเปน็ เครือข่ายภายในองค์ เพ่อื ใชท้ รัพยากรรว่ มกันไดแ้ ละสนับสนุนงานทางด้าน มัลตมิ ีเดีย 5. Windows NT เปน็ ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ข่ายที่มคี วามสามารถจดั การด้านการส่ือสารระหว่างเครอื่ งคอมพิวเตอรบ์ น เครือข่าย รวมท้ังจัดการการใช้ทรพั ยากรรว่ มกนั ดแู ลและรักษาความปลอดภัยของขอ้ มูล

ระบบปฏบิ ัติการไมโครซอฟต์วนิ โดวส์ (Microsoft Windows) ตวั อย่างซอฟต์แวรร์ ะบบปฏบิ ัติการของบริษัทไมโครซอฟต์ 6. Windows 2000 Advance Server เปน็ ระบบปฏิบัติการเครอื ข่ายท่สี ามารถจัดการด้านการตดิ ตอ่ สื่อสารระหวา่ ง เครอ่ื งคอมพิวเตอร์บนเครอื ขา่ ย จัดการการใชอ้ ุปกรณ์ ร่วมกันดแู ลรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู 7. Windows XP (XP : Experience) เปน็ ระบบปฏบิ ัติการทท่ี างานเป็นกลมุ่ หรอื เครือขา่ ยภายในองค์กรสามารถใช้ ทรัพยากรร่วมกนั ได้ สนบั สนุนงานทางดา้ นมัลติมีเดีย สามารถจัดการด้านการตดิ ต่อสื่อสารคอมพวิ เตอรบ์ นเครอื ขา่ ย การใชท้ รัพยากรรว่ มกัน ดแู ลและรกั ษาความปลอดภยั ของข้อมลู 8. Windows CE เปน็ ระบบปฏิบตั กิ ารท่ใี ชก้ บั คอมพิวเตอร์พกพา 9. Windows Vista เปน็ ระบบปฏบิ ตั กิ ารสาหรบั คอมพวิ เตอร์เฉพาะเคร่ือง 10. Windows 7 ไมโครซอฟต์แบ่ง Windows 7 เป็น 6 ร่นุ ย่อย

ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟตว์ นิ โดวส์ (Microsoft Windows) Windows 7 ·Windows 7 Starter เปน็ รุ่นเล็กทีส่ ดุ เหมาะสาหรบั เลน่ อินเทอรเ์ น็ต เช็คอีเมล ร่นุ นี้ไม่มวี างจาหนา่ ย ·Windows 7 Home Basic ไมม่ ีวางจาหน่าย แต่จะติดตั้งมาพร้อมกบั เคร่ืองใหมๆ่ เฉพาะบางประเทศ ·Windows 7 Home Premium เป็นร่นุ เลก็ ที่สุดที่มวี างจาหน่ายแบบกลอ่ งทัว่ โลก พรอ้ มกับความสามารถด้าน มลั ติมเี ดียครบถ้วน · Windows 7 Professional เป็นรุ่นท่ีไม่มคี วามแตกตา่ งจากรุ่น Home Premium ทเ่ี พม่ิ เตมิ คอื สามารถ ใช้ Windows XP Mode ได้ · Windows 7 Ultimate เป็นรุน่ ใหญส่ ดุ ของ Windows 7 ท่ีเพมิ่ เติมคุณสมบตั อิ ยา่ ง Bit locker และสามารถ เปลีย่ น UI เปน็ ภาษาต่างๆได้ · Windows 7 Enterprise รนุ่ นไี้ มแ่ ตกตา่ งจากรุน่ Ultimate แตม่ จี าหน่ายสาหรบั องค์กรขนาดใหญเ่ ท่าน้นั



ส่วนประกอบของ Windows 1. เดสก์ทอป (Desktop) คือ ฉากหลงั ของวนิ โดวส์ 2. สญั รูป (lcon) แม้ว่าปุ่มสตาร์ตจะเปดิ โปรแกรมไดท้ กุ ตัว แต่บางคร้งั ก็คน้ หาไดย้ าก ทีเ่ ดสก์ทอปจึงมภี าพ เล็กๆที่เรยี กวา่ “ไอคอน” เป็นสญั ลักษณแ์ ทนแต่ละโปรแกรมขึน้ มา ช่วยให้ผู้ใช้เปดิ โปรแกรมน้ันไดด้ ้วย การดับเบิ้ลคลิกไอคอนเพยี งครงั้ เดยี ว โปรแกรมกจ็ ะเปิดข้ึนมา 3. ปมุ่ สตารต์ (Start Button) คือ ปุม่ ที่เร่มิ ตน้ สาหรบั การเปดิ โปรแกรมตา่ งๆ 4. ทาสกบ์ าร์ (Taskbar) คือ แถบยาวๆ ท่ปี รากฏอยดู่ า้ นลา่ งของหน้าจอ แสดงช่อื โปรแกรมท่ีเป็นอยู่ใน ขณะนนั้ 5. Shortcut คือ ทางลัดในการเข้าถึงโปรแกรม หรอื เข้าถึงไฟล์ข้อมลู 6. Notification Area ใชบ้ อกสถานการณ์ทางานใหก้ ับผ้ใู ชไ้ ดท้ ราบ เชน่ วันและเวลา 7. ตัวชี้เมาส์ (Mouse Pointer) คือ สญลกั ษณ์ที่แสดงตาแหน่งของเม้าส์ ใช้ชี้ตาแหนง่ ต่างๆก่อนสง่ั คลิก ดับเบล้ิ แดรกเม้าส์ และคลกิ ป่มุ ขวาของเมา้ ส์

ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ คือ ซอฟตแ์ วร์ หรือโปรแกรมทใ่ี ช้สาหรบั ทางานในดา้ นตา่ งๆ ตามต้องการ เชน่ ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ แบง่ ได้ 2 ชนิด คอื 1.ซอฟต์แวรท์ ่ใี ช้งานทวั่ ๆไป 2.ซอฟตแ์ วร์ทใ่ี ช้สาหรับงานเฉพาะด้าน

ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ 1.ซอฟตแ์ วร์ท่ใี ชง้ านทัว่ ๆไป มี 5 กลุม่ คอื ซอฟต์แวรป์ ระมวลผลคา (Word Processing Software) เป็นซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ท่ใี ช้ สาหรบั งานการพมิ พเ์ อกสารสามารถแกไ้ ข เพมิ่ แทรก ลบและจัดรปู แบบเอกสารไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เอกสารที่พมิ พจ์ ัดเป็นแฟม้ ขอ้ มลู สามารถเปดิ เอกสารทเ่ี ก็บไวม้ าพมิ พ์ แก้ไข ปรบั ปรุงใหม่ได้ การ พิมพ์ออกทางเครื่องพมิ พ์ (Hard Copy) ก็มรี ูปแบบตวั อกั ษรใหเ้ ลอื กมากมายหลายแบบ

ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ ซอฟตแ์ วรท์ ีใ่ ชง้ านท่ัวๆไป มี 5 กลมุ่ คือ ซอฟตแ์ วร์ตารางทางาน (Spread Sheet Software) เปน็ ซอฟต์ท่ชี ว่ ยในงานการคานวณ การทางานของซอฟต์แวร์ตารางทางานใช้หลกั การเสมอื นมโี ตะ๊ ทางานทม่ี ีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครือ่ งมอื คลา้ ยปากกา ยางลบและเครอ่ื งคานวณเตรยี มไว้ให้เสรจ็ บนกระดาษมชี อ่ งใหใ้ สต่ ัวเลข ขอ้ ความ หรือสูตร เรยี กว่า เซลล์ (Cell) สามารถสัง่ ให้คานวณสูตรหรือ เง่อื นไขทีก่ าหนด ผู้ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานสามารถประยุกตใ์ ชง้ าน ประมวลผลตัวเลขอื่นๆไดอ้ ยา่ งกว้างขวาง ซอฟต์แวรต์ ารางทางานที่นิยมใช้ เช่น Microsoft Office Excel 200

ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ ซอฟต์แวรท์ ่ีใชง้ านทว่ั ๆไป มี 5 กลมุ่ คอื ซอฟตแ์ วรจ์ ัดการฐานข้อมลู (Database Management Software) การใช้คอมพวิ เตอร์ ความจาเป็นอยา่ งหนง่ึ คอื การเก็บรวบรวมข้อมลู ไว้ในแหล่งเดียวกัน การรวบรวมข้อมูลหลายๆ เรอ่ื งทีม่ ีความเก่ยี วขอ้ งกนั ไว้ในคอมพิวเตอร์ เราเรยี กว่า “ฐานขอ้ มูล” ซอฟตแ์ วร์จัดการ ฐานขอ้ มลู จงึ หมายถงึ ซอฟตแ์ วรท์ ช่ี ว่ ยให้การเก็บ การเรียกค้นขอ้ มูลมาใชง้ าน การทารายงาน การสรุปผลจากขอ้ มูลเพอื่ บริหารจัดการองค์กรไดใ้ นอนาคต ซอฟตแ์ วร์จัดการฐานข้อมูลทน่ี ยิ มใช้ในปัจจุบนั คอื Microsoft Office Access

ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ ซอฟต์แวรท์ ใ่ี ชง้ านทัว่ ๆไป มี 5 กลมุ่ คอื ซอฟต์แวร์นาเสนอ (Presentation Software) เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ่ใี ชส้ าหรับงานการนาเสนอขอ้ มลู ประกอบคาอธบิ าย การบรรยายท่มี ภี าพประกอบทาให้การนาเสนอสามารถเข้าใจไดด้ ยี ง่ิ ขึ้น ดกี ว่าการบรรยายเพยี งอย่างเดียว การใชซ้ อฟตแ์ วร์นาเสนอ การนาเสนอ ต้องสามารถดึงดดู ความสนใจของผูฟ้ ัง นอกจากรูปภาพทใ่ี ชน้ าเสนอแลว้ “ซอฟตแ์ วรน์ าเสนอยงั สามารถสร้างแผนภมู ิ กราฟ ซอฟตแ์ วร์นาเสนอ ทน่ี ยิ มใช้ในปัจจุบนั คอื Microsoft Office PowerPoint

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ท่ใี ช้งานท่วั ๆไป มี 5 กลุ่ม คือ ซอฟตแ์ วร์สื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ท่ชี ว่ ยอานวยความสะดวกให้เคร่อื งไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถ ติดตอ่ ส่ือสารกับเครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ 2ี่อซยอู่หฟตา่ ์แงวรไ์ทกใ่ี ชล้สาหโรดับงยานผเฉา่ พนาะทด้าานงสายโทรศพั ท์ ซอฟต์แวรส์ ื่อสารทใี่ ช้ เชอ่ื มโยงกบั ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เชน่ อนิ เทอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้บรกิ ารอนื่ ๆ เพ่ิมเติมได้ สามารถใช้รับ – สง่ ไปรษณีย์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ใช้โอนยา้ ยแฟม้ ขอ้ มลู ใช้แลกเปล่ียนขอ้ มูล อา่ นขา่ วสาร นอกจากนี้ ยงั ใชใ้ นการเชอื่ มต่อกับมินคอมพวิ เตอร์หรอื เมนเฟรมเพื่อเรยี กใชง้ านจากเครอื่ งเหลา่ นัน้ ได้

ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ 2.ซอฟต์แวร์ท่ใี ชส้ าหรบั งานเฉพาะด้าน คอมพวิ เตอร์เพ่อื งานเฉพาะกจิ (Special Purpose Computer) คือ เครื่องคอมพวิ เตอรท์ ี่ ออกแบบให้ตัวเคร่ืองและโปรแกรมท่ใี ช้ควบคมุ ทางานอย่างใดอย่างหนงึ่ มกั ใช้กบั งานการควบคมุ หรอื อุตสาหกรรมที่เนน้ การประมวลผลได้รวดเรว็ เช่น คอมพิวเตอร์ควบคมุ สัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรค์ วบคุมอุปกรณอ์ ตั โนมตั ใิ นรถยนต์ เป็นตน้

ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ 2.ซอฟต์แวร์ท่ใี ชส้ าหรบั งานเฉพาะด้าน คอมพวิ เตอร์เพ่อื งานเฉพาะกจิ (Special Purpose Computer) คือ เครื่องคอมพวิ เตอรท์ ี่ ออกแบบให้ตัวเคร่ืองและโปรแกรมท่ใี ช้ควบคมุ ทางานอย่างใดอย่างหนงึ่ มกั ใช้กบั งานการควบคมุ หรอื อุตสาหกรรมที่เนน้ การประมวลผลได้รวดเรว็ เช่น คอมพิวเตอร์ควบคมุ สัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรค์ วบคุมอุปกรณอ์ ตั โนมตั ใิ นรถยนต์ เป็นตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook