46 ๑๘. (๔.๑๓ นาท)ี เพลง อยู่อยา่ งจงรกั ตายอยา่ งภกั ดี : OHMSHOW studio https://www.youtube.com/watch?v=4d2h1aqtW8s ๑๙. (๒.๒๘ นาที) เพลง สดุดีจอมราชา : ทิวากร บัวคลี่ https://www.youtube.com/watch?v=0zwl2hiiP6s ๒๐. (๔.๓๐ นาที) บทเพลงเทิดพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐ : หนังตะลุงฮาพาคลายเครยี ด https://www.youtube.com/watch?v=RY3Q4vBYylo
47 ๒๑. (๔.๑๙ นาที) เพลง รัชกาลท่ี ๑๐ ราชาทรงพระเจรญิ : กี ขอนแกน่ ชาแนล https://www.youtube.com/watch?v=kem9KJi1nV4 ๒๒. (๓.๓๖ นาที) เพลง ถวายพระพร รชั กาลที่ ๑๐ : Apichat Dumdee https://www.youtube.com/watch?v=oDYJJIGC_Tk ๒๓. (๕.๑๓ นาที) เพลง อิ่มอุ่น We Kid Thailand เดก็ ร้องกอ้ งโลก : Workpoint Official https://www.youtube.com/watch?v=XuK7XMdSo6s
48 รายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๒ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ เวลา ๙๐ นาที .................................................. ขอบขา่ ยวิชา ๑. การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ๒. พระราชกรณยี กิจประมุขคณะลกู เสือแห่งชาติ วัตถปุ ระสงค์ ๑. อธิบายรปู แบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุขได้ ๒. ระบพุ ระราชกรณียกจิ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ในฐานะประมขุ คณะลูกเสือแห่งชาตไิ ด้ ขั้นตอนการฝกึ อบรม ให้ลูกเสอื ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ฝกึ และปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการที่กำหนด สำหรับรายวิชา รูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีขนั้ ตอนการฝึกอบรมดังต่อไปนี้ ขน้ั ตอนการจดั กจิ กรรม ขนั้ ท่ี ๑. ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน - บรรยายนำ แจ้งวัตถปุ ระสงค์ ข้นั ที่ ๒. การเรียนรู้ - วิทยากรนำชมวีดีทัศน์ เรื่อง “การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมุข : พระผทู้ รงเป็นมิง่ ขวญั ใหก้ บั พสกนกิ รและลูกเสอื ไทย” - หลังจบการชมวีดีทัศน์ วิทยากรและลูกเสือร่วมกันสรุปว่า ได้เรียนรู้อะไรจากเนื้อหาที่ชม และจะนำไปปรบั ใช้ในฐานะลูกเสือจิตอาสาพระราชทานอย่างไรบา้ ง ขนั้ ที่ ๓ สรปุ กจิ กรรมการเรียนรู้ - วิทยากรมอบภารกจิ ให้แตล่ ะหมู่ ๑) ให้แต่ละหมู่สรุปแนวคิดจากการทำกิจกรรม และนำเสนอผลสิ่งที่เรียนรู้ว่า “ลูกเสือ จิตอาสาพระราชทาน มีความเชื่อมั่นในความรักชาติและการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์” โดยถวายงาน ในกิจกรรม จิตอาสาพระราชทานอย่างไร” ๒) วทิ ยากรสรุป อภปิ ราย ซกั ถาม ส่ือการฝึกอบรม - วิดที ศั น์ เร่อื ง “การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข : พระผู้ทรง เปน็ มิ่งขวญั ใหก้ บั พสกนกิ รและลูกเสอื ไทย” - คอมพวิ เตอรพ์ ซี ี และคอมพวิ เตอร์โน๊ตบุค - โทรศัพทเ์ คลอื่ นที่ และ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ - เครอื่ งรบั โทรทัศน์ หรือ เคร่อื งฉายโปรเจคเตอร์/ จอโปรเจคเตอร์ - ชดุ เครือ่ งเสยี งและลำโพง
49 ขนั้ การประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ จากการมีสว่ นรว่ มและการสะทอ้ นความคดิ เหน็ ของลกู เสือรายบคุ คล ๒. ประเมินจากการรายงานผลงานหมู่ ๓. อน่ื ๆ ถา้ มี
50 รายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๓ การสร้างจติ สำนึกความเปน็ พลเมือง เวลา ๗๕ นาที ....................................................... ขอบขา่ ยวชิ า ๑. บทบาทหน้าทีข่ องพลเมอื งไทยในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ๒. การสร้างจิตสำนกึ ความเป็นพลเมอื ง ๓. กจิ การลูกเสือกับความเป็นพลเมือง วตั ถุประสงค์ ๑. บอกบทบาทหนา้ ที่ของพลเมอื งไทยในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ได้ ๒. อธิบายความเปน็ พลเมืองได้ ๓. ระบุความสัมพันธ์ระหวา่ งกจิ การลูกเสอื กับความเป็นพลเมอื งได้ ขนั้ ตอนการฝึกอบรม ใหล้ ูกเสือผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม ฝกึ และปฏบิ ัตติ ามกระบวนการทีก่ ำหนด สำหรับรายวิชา การสรา้ งจิตสำนกึ ความเปน็ พลเมือง มีขน้ั ตอนการฝึกอบรมมีดังต่อไปน้ี ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรม ขน้ั ที่ ๑. ข้ันนำเขา้ สู่บทเรยี น - บรรยายนำ แจง้ วัตถุประสงค์ ข้นั ท่ี ๒. การสะทอ้ นประสบการณเ์ ดมิ - วทิ ยากรใหล้ กู เสือชม วีดที ศั น์ เพลง “พลเมืองเป็นใหญ”่ หรอื “ คนดี ไมม่ ีวนั ตาย” - วิทยากรตั้งประเด็นถามตอบแบบสุ่มลูกเสือรายบุคคล เรื่อง “เล่าประสบการณ์ที่ลูกเสือ พบเห็นต่อกรณีประชาชนที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองที่ดีมีความรับผิดชอบต่อสังคม และประเทศชาติ” และวทิ ยากรสรุปภาพรวมจากความคดิ เหน็ ของลกู เสือ ขั้นที่ ๓ การนำเสนอบทเรยี นและกิจกรรมการเรยี นรู้ ๓.๑ วิทยากรให้ลูกเสือชมวิดีทัศน์ เรื่อง “ เราจะสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองให้กับลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานได้อย่างไร” ๓.๒ วิทยากรมอบให้แต่ละหมู่ ระดมพลังสมอง เรื่อง “ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานจะสร้าง จิตสำนึกในการทำหน้าที่เป็นพลเมืองที่ดีได้อย่างไร” หลังจากนั้นให้แต่ละหมู่ลูกเสือ เสนอผลการระดม พลงั สมอง ๓.๓ วิทยากรให้ลูกเสือแต่ละหมรู่ ว่ มกันเขยี น พฤตกิ รรม ๑๐ พฤตกิ รรมทีแ่ สดงวา่ “ เราจะเป็น พลเมืองที่ดีของสังคมและประเทศชาติด้วยการแสดงออกด้วยพฤติกรรมต่อไปนี้ “ โดยแต่ละหมู่เขียน ๑๐ พฤตกิ รรมลงบนกระดาษเขียนแบบ นำไปตดิ ไว้บนกระดาน เพอื่ ให้ลกู เสอื หมู่อื่น ๆ ไดศ้ กึ ษาและเรียนรู้ ขั้นท่ี ๔ การสรุป การเรยี นรู้ วิทยากรใหข้ อ้ เสนอแนะสรุป อภิปราย ซักถาม
51 สื่อการฝึกอบรม - วีดที ศั น์ เพลง “พลเมืองเปน็ ใหญ”่ หรือ “คนดไี มม่ ีวนั ตาย” - วิดีทศั น์ เร่ือง “ เราจะสรา้ งจติ สำนกึ ความเปน็ พลเมืองให้กบั ลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานได้อยา่ งไร” - โทรศัพท์เคลอื่ นท่ี และ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ - เครอ่ื งรับโทรทัศน์ หรือ เครื่องฉายโปรเจคเตอร/์ จอโปรเจคเตอร์ - ชดุ เครอ่ื งเสยี งและลำโพง ขัน้ การประเมินผล ๑. ประเมนิ จากการมีสว่ นรว่ มและการสะทอ้ นความคดิ เห็นของลูกเสือรายบุคคล ๒. ประเมนิ จากการรายงานผลงานหมู่ ๓. ประเมินจากผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม
52 รายวชิ าย่อยที่ ๒.๑.๔ หลักการและวธิ กี ารโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ เวลา ๖๐ นาที ................................................. ขอบขา่ ยวิชา ๑. หลักการและวิธีการของโครงการจติ อาสาพระราชทาน ๒. การนำวธิ ีการโครงการจติ อาสาพระราชทานประยุกตใ์ ช้ในหนว่ ยลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน วตั ถปุ ระสงค์ ๑. ระบหุ ลกั การของโครงการจิตอาสาพระราชทานได้ ๒. อธบิ ายวิธีการโครงการจิตอาสาพระราชทานได้ ๓. ประยกุ ต์โครงการจิตอาสาพระราชทานจดั กิจกรรมในหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานได้ ขั้นตอนการฝกึ อบรม ให้ลูกเสือผู้เข้ารบั การฝึกอบรม ฝึกและปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการทกี่ ำหนด สำหรับรายวิชา หลักการและวิธีการของโครงการจิตอาสาพระราชทาน มีขั้นตอนการฝึกอบรม มดี ังตอ่ ไปนี้ ขั้นตอนการจัดกจิ กรรม ขน้ั ท่ี ๑. ขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น - บรรยายนำและชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงค์ ขั้นที่ ๒. การสะทอ้ นประสบการณเ์ ดิม - วิทยากรตั้งประเด็นถามตอบ หวั ข้อ “ลกู เสือมีความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์เกี่ยวกับ โครงการจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ อย่างไรบ้าง” และให้ลูกเสือผู้เข้าการฝึกอบรมเล่าประสบการณ์ โดยสุม่ สอบถามเป็นรายบุคคล ข้นั ท่ี ๓ การนำเสนอบทเรยี น และกจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓.๑ วทิ ยากรนำเสนอวดี ีทศั น์ เรอื่ ง “แนะนำจติ อาสาพระราชทาน ๙๐๔” ๓.๒ วทิ ยากรให้ลูกเสอื ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม สรปุ สาระสำคัญทไี่ ด้จาก - การชมวดี ีทัศน์ “แนะนำจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔” - วิทยากรให้เนื้อหาและข้อมูลเพิ่มเติมเรื่อง “โครงการและกิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔” ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ ๑๐ ๓.๓ วิทยากรร่วมกับลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรมสรุป โดยวิทยากรเน้นให้เห็นความสำคัญ และความเชื่อม่ันในโครงการจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ และเชอ่ื มโยงกับการเป็นลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน ขน้ั ที่ ๔ การสรปุ การเรยี นรู้ - วิทยากรสรุป อภิปราย ซกั ถาม สอื่ และโสตทัศนูปกรณ์ - วีดีทัศน์ เร่ือง “แนะนำจติ อาสาพระราชทาน ๙๐๔” (QR Code) - คอมพวิ เตอร์ หรือ Computer Notebook และ โทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี - Internet หรอื Wifi - เคร่ืองรบั โทรทศั น์ หรอื เครื่องฉายโปรเจคเตอร์/ จอโปรเจคเตอร์
53 - ชุดเคร่อื งเสียงและลำโพง การวัด / การประเมนิ ผล ๑. ประเมินจากการมีสว่ นร่วม ถามตอบ /เล่าประสบการณ์ ของลกู เสือรายบคุ คล ๒. อ่นื ๆ ถ้ามี “แนะนำจิตอาสา ๙๐๔” https://youtu.be/LjLg4WhyDAQ
54 รายวิชาย่อยท่ี ๒.๑.๕ โครงการตามแนวพระราชดำรแิ ละหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎใี หม่ “โคก หนอง นา” เวลา ๑๕๐ นาที ............................................................... ขอบข่ายวชิ า ๑. โครงการตามแนวพระราชดำริและหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒. เกษตรทฤษฎใี หม่ รปู แบบ โคก หนอง นา ๓. การศกึ ษาดูงานเกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา” วตั ถปุ ระสงคว์ ชิ า ๑. อธบิ ายโครงการตามแนวพระราชดำรแิ ละหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้ ๒. ระบวุ ิธีการจัดเกษตรทฤษฎใี หมร่ ปู แบบ โคก หนอง นา ได้ ๓. นำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรทฤษฎีใหม่ รูปแบบ โคก หนอง นา ไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ ขน้ั ตอนการฝึกอบรม ให้ลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรม ฝึกและปฏิบัตติ ามกระบวนการทก่ี ำหนด สำหรับรายวิชา โครงการตามแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ รูปแบบ โคก หนอง นา มขี นั้ ตอนการฝึกอบรม ดังตอ่ ไปน้ี สว่ นที่ ๑ โครงการตามแนวพระราชดำรแิ ละหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ขัน้ ตอนการจดั กจิ กรรม ขั้นที่ ๑. ขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น - บรรยายนำและชี้แจงวตั ถปุ ระสงค์ ขัน้ ท่ี ๒. การสะทอ้ นประสบการณ์เดมิ - วิทยากรตั้งประเด็นถามตอบแบบสมุ่ รายบุคคล โดยให้ลูกเสอื เลา่ ประสบการณ์ทเี่ คยได้เรียนรู้ เกี่ยวกับโครงการตามแนวพระราชดำริและหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” วทิ ยากรสรุปและเชอ่ื มโยง ขั้นท่ี ๓ การนำเสนอบทเรียน - ชมวดิ ีทัศนเ์ พลง “ตามรอยพอ่ ” ข้ันท่ี ๔ กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ วิทยากรมอบให้แต่ละหมู่ สืบค้นข้อมูลโครงการพระราชดำริตามในจังหวัดของตน หรือในจังหวัดพื้นที่ใกล้เคียง (โดยใช้โทรศัพท์มือถือ หรือ Tablet) โดยให้แต่ละหมู่ศึกษาข้อมูลของโครงการ ที่สืบค้นมาได้ และสรุปว่าได้แนวคิดอะไร และโครงการดังกล่าวได้ช่วยประชาชนพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา ความเปน็ อย่ใู นพ้ืนทีข่ องตนอย่างไร ลูกเสอื แตล่ ะหมู่ เตรียมนำเสนอ ๔.๒ ใหแ้ ตล่ ะหมนู่ ำเสนอผลงานทีไ่ ดเ้ รยี นรู้ จากการสืบค้นข้อมูล หมูล่ ะ ๕ นาที ๔.๓ วทิ ยากรและลูกเสือ สรปุ สาระท่ีได้จากการสบื คน้ ข้อมูลโครงการพระราชดำริ ขนั้ ท่ี ๕ การสรุป การเรียนรู้ - วทิ ยากรสรปุ อภปิ ราย ซกั ถาม
55 ส่อื และโสตทศั นูปกรณ์ - คลปิ เพลง เรือ่ ง “ตามรอยพอ่ ” - คอมพิวเตอร์ หรอื Computer Notebook - เครือ่ งฉายโปรเจคเตอร์ /จอโปรเจคเตอร์ - โทรศพั ท์แบบสมาร์ทโฟน หรอื แทบ็ แลต็ (Tablet) - Internet หรือ Wifi - ชดุ เครื่องเสียงและลำโพง ข้ันการประเมนิ ผล - ประเมนิ ผลจากการสงั เกตการมสี ่วนร่วม และการนำเสนอผลงานกลมุ่ ส่วนที่ ๒ เกษตรทฤษฎใี หม่ รูปแบบ โคก หนอง นา ขั้นตอนการจดั กจิ กรรม ขนั้ ที่ ๑. ขั้นนำเข้าส่บู ทเรียน - บรรยายนำ แจง้ วตั ถปุ ระสงค์ ขั้นที่ ๒. การสะท้อนประสบการณ์เดมิ - วทิ ยากรถามลูกเสือแบบสุ่มรายบุคคล ประเด็น “ลกู เสือมีความรู้ ความเข้าใจเร่ือง เกษตรทฤษฎี : รูปแบบ โคก หนอง นา อย่างไรบ้าง” หลงั จากนนั้ ให้วิทยากรสรปุ ร่วมกบั ลกู เสือ ข้นั ที่ ๓ การนำเสนอบทเรยี นและกจิ กรรมการเรียนรู้ ๓.๑ วิทยากรให้ชมวิดีทัศน์ เรื่อง “เกษตรทฤษฎีใหม่ : รูปแบบ โคก หนอง นา” โดย ดร.ววิ ฒั น์ ศลั ยกำธร ( หมายเหตุ กรณที มี่ ีแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ รปู แบบโคก หนอง นา” ให้นำคณะลูกเสือ จติ อาสาพระราชทาน ออกเรยี นรู้จากแปลงในพน้ื ท)่ี ๓.๒ หลังการชม วิดีทัศน์ หรือ หลังการเยี่ยมชมแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา ในพื้นที่กำหนด วิทยากรมอบภารกิจให้แต่ละหมู่ ช่วยกันสรุปด้วยการนำความรู้ และแนวคิดท่ีไดจ้ ากกิจกรรม ข้อ ๓.๑ มาออกแบบ โคก หนอง นา ในอุดมคติของตนในพน้ื ทท่ี ีก่ ำหนดให้ ๓.๓ ให้แต่ละหมู่นำเสนอผลงานการออกแบบ “เกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา ในอุดมคติ ของหมลู่ ูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน” ข้ันท่ี ๔ และสรปุ การเรยี นรู้ - วิทยากรสรปุ อภิปราย ซักถาม สอ่ื การฝึกอบรม - คลปิ วิดที ศั น์ เรอ่ื ง “เกษตรทฤษฎใี หม่ : รปู แบบ โคก หนอง นา” - คอมพวิ เตอร์ หรือ Computer Notebook - เครอื่ งฉายโปรเจคเตอร์ /จอโปรเจคเตอร์ - โทรศพั ท์แบบสมาร์ทโฟน หรอื แทบ็ แล็ต (Tablet) - Internet หรือ Wifi - อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมการออกแบบ“เกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา ในอุดมคติของหมู่ลูกเสือ จิตอาสาพระราชทาน” เช่น กระดาษเขียนแบบ ปากกาเมจกิ เปน็ ต้น
56 - หากมีพื้นที่ว่างเปล่า ให้ลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ลงมือปฏิบัติออกแบบบนพื้นที่จริง “โมเดล โคก หนอง นา” ขนั้ การประเมนิ ผล ๑. ประเมินจากการมีสว่ นร่วมและการสะท้อนความคดิ เห็นของลกู เสือรายบุคคล ๒. ประเมินจากการรายงานผลงานหมใู่ นการออกแบบ โมเดล โคก หนอง นา ๓. อ่ืน ๆ ถา้ มี
57 รายวชิ าย่อยท่ี ๒.๑.๖ ทักษะพนื้ ฐานของลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ดา้ นการพัฒนา การบริการและชว่ ยเหลือภยั พบิ ตั ิ เวลา ๙๐ นาที ................................................. ขอบขา่ ยวิชา ๑. การสำรวจความต้องการในการฝกึ อบรมทักษะพืน้ ฐานของลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน ๒. การพฒั นาทักษะทางลูกเสอื จิตอาสาเพื่อบรกิ ารเมอ่ื เกดิ เหตฉุ ุกเฉิน ๓. การพัฒนาทกั ษะในการใช้เครือ่ งมอื และอุปกรณ์ ๔. การพัฒนาทักษะทางวชิ าการลกู เสือจิตอาสา ๕. การฝกึ ทบทวนและทดสอบทักษะพื้นฐานทางลูกเสือจิตอาสาด้านการพัฒนาการบรกิ าร และการชว่ ยเหลือ กรณีเกดิ ภยั พบิ ัติ เหตฉุ ุกเฉนิ วตั ถปุ ระสงค์ ๑. สำรวจความต้องการในการฝึกอบรมทกั ษะพืน้ ฐานของลูกเสือจิตอาสาได้ ๒. ฝึกทบทวนและผ่านการทดสอบทกั ษะพนื้ ฐานทางลกู เสือจิตอาสา ๓. นำทักษะทางลกู เสอื ไปจัดกิจกรรมจิตอาสาในสถานศกึ ษาได้ ข้ันตอนการฝกึ อบรม ให้ลกู เสือผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม ฝกึ และปฏบิ ตั ิตามกระบวนการที่กำหนด สำหรบั รายวชิ า ทักษะพื้นฐานของลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ด้านการพัฒนา การบรกิ ารและช่วยเหลือ ภยั พิบตั ิ มีขนั้ ตอนการฝกึ อบรม ดังตอ่ ไปน้ี ข้ันตอนการจัดกจิ กรรม ขัน้ ที่ ๑. ข้นึ นำเข้าสู่บทเรียน - บรรยายนำ แจง้ วัตถปุ ระสงค์ ข้นั ท่ี ๒. การสะทอ้ นประสบการณ์เดิม - วิทยากรตั้งประเด็นให้ลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรม ถามตอบแบบสุ่มรายบุคคล เรือ่ ง “ทกั ษะพื้นฐานของลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน ดา้ นการพฒั นา การบรกิ ารและช่วยเหลือภัยพิบตั ิ” - วิทยากรและลูกเสือชว่ ยกนั สรุป ขัน้ ที่ ๓ การฝกึ อบรมและบทเรียนการเรยี นรู้ - วิทยากรนำลูกเสือชมวีดีทัศน์ จำนวน ๑ เรื่อง คือ “การประยุกต์ใช้ทักษะลูกเสือ เพื่อจดั กิจกรรมลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน” ข้ันที่ ๔ กิจกรรมการเรยี นรูใ้ นสถานการณ์จำลอง ๔.๑ วิทยากรจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านการการบรรยายและสาธิตตามหลักการ “จติ อาสาพระราชทาน” ๓ ประเภท คอื กรณีการพัฒนา กรณกี ารบริการ และกรณีภัยพิบัติตา่ ง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้น ในพื้นที่ชุมชนของลูกเสือจิตอาสา โดยชี้ให้เห็นว่า ลูกเสือจิตอาสาจะสามารถสนับสนุนและช่วยเหลือเ ป็นทีม เพ่อื ใหค้ วามร่วมมือกับเจ้าหนา้ ทีผ่ ้รู บั ผดิ ชอบ ไดอ้ ย่างไร โดยเชิญหน่วยกู้ภัย เจ้าหน้าที่ดับเพลิง มูลนิธิกู้ภัยต่าง ๆ มาเป็นวิทยากร และสาธิตบทบาท ของลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ในกรณตี า่ ง ๆ ตอ่ ไปนี้
58 กรณีภยั พบิ ตั ิ กรณตี วั อยา่ ง เหตุการณไ์ ฟไหมบ้ ้านเรือน หรือชมุ ชน - วิทยากร ชี้ให้เห็นบทบาทหน้าที่ของผู้ที่รับผิดชอบโดยตรง เช่น ผู้บัญชาการเหตุ/ หนว่ ยดบั เพลงิ / หนว่ ยกชู้ พี / หนว่ ยกูภ้ ยั / หนว่ ยพยาบาล/ เจา้ หน้าทต่ี ำรวจ/ ผู้ประสบเหตุ/ ญาติผู้ประสบเหตุ/ ฝ่ายสนับสนนุ อน่ื ๆ บทบาทหนา้ ที่ของลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ต่อกรณีนี้ ควรมีบทบาทอย่างไร ๑) การชว่ ยขนยา้ ยอุปกรณ์บางอย่าง ๒) การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ๓) การกนั ประชาชนไมใ่ ห้เขา้ ใกลส้ ถานท่ีเกิดเหตุ ๔) การชว่ ยเหลือเจา้ หน้าทีใ่ นพ้ืนทพ่ี ักพงิ ช่วั คราว ๕) การช่วยขนย้ายเครอ่ื งอุปโภค บรโิ ภค ๖) อ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม กรณีการพัฒนา เช่น การพฒั นาสถานศึกษา ชมุ ชนและการชว่ ยเหลอื ประชาชน วทิ ยากร ชีใ้ หเ้ หน็ บทบาทหนา้ ทีข่ องลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ตอ่ กรณนี ้ี ดงั น้ี ๑) การร่วมกันชว่ ยเหลอื พฒั นาห้องเรยี น โรงเรยี น สถานศึกษา ๒) การช่วยเหลือในการซ่อมแซมบ้าน หรือที่อยู่อาศัยให้กับประชาชนที่ยากไร้ (ตามความสามารถ ทกั ษะของลกู เสอื ทมี่ แี ต่ละคน) ๓) การช่วยเหลอื ในการพฒั นาสถานทข่ี องชุมชน เชน่ วดั ศาลาประชาคม ๔) การออกหน่วยรบั บรจิ าคสงิ่ ของชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ๕) การบรรจถุ งุ ยังชพี ๖) การชว่ ยเหลอื พาผู้ไม่สามารถชว่ ยตัวเองไดก้ ลับเคหะสถาน ๗) อน่ื ๆ ตามความเหมาะสม กรณีการบริการ เชน่ การให้บริการในสถานศึกษา หนว่ ยงานระดับตำบล อำเภอ และจงั หวัด วิทยากร ชี้ให้เหน็ บทบาทหน้าทข่ี องลูกเสือจติ อาสาพระราชทานดา้ นบรกิ าร ดังนี้ ๑) การช่วยเหลือเจ้าหนา้ ท่ีในงานออกรา้ นกาชาด ๒) การออกหน่วยรับบริจาคสง่ิ ของ ๓) การบรรจุถุงบริจาค ๔) การออกหน่วยบริการของโรงเรยี น/สถานศึกษา และชมุ ชนตา่ ง ๆ ๕) การชว่ ยเหลอื งานจราจรของสถานศึกษาและตำรวจจราจร ๖) อ่นื ๆ ตามความเหมาะสม ๔.๒ วิทยากรมอบหมายให้หมู่ลูกเสือดำเนินกิจกรรม Gang Show จากตัวอย่างเพิ่มเติม ดงั ต่อไปน้ี - กรณีลูกเสือจิตอาสาออกปฏิบัติกิจกรรมในโรงพยาบาล เช่น “การช่วยเหลือผู้ป่วย ในโรงพยาบาล” ใหว้ ทิ ยากรถามความเห็นว่า ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานสามารถทำบทบาทนี้ในเร่ืองใดไดบ้ า้ ง - กรณีงานวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันพระ วันเข้าพรรษา งานทอดกฐิน เปน็ ตน้ ใหว้ ิทยากรถามความเห็นว่า ลูกเสือจติ อาสาพระราชทานสามารถทำบทบาทน้ี ในเรื่องใดไดบ้ ้าง - กรณีอื่น ๆ ตามที่หมู่ลูกเสือได้พิจารณาเห็นว่ามีความต้องการในการจัดการแสดงแบบ Gang Show
59 ๔.๓ ลูกเสือผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมแสดง Gang Show โดยวทิ ยากรและลกู เสือหมู่ตา่ ง ๆ รว่ มกัน สรปุ ผลการแสดง (ตามตารางที่กำหนด) ข้นั ที่ ๕ สรุป การเรยี นรู้ - วิทยากรใหข้ ้อเสนอแนะสรุป อภปิ ราย ซกั ถาม ส่ือการฝึกอบรม - วดิ ที ัศนเ์ รือ่ ง “การประยกุ ตใ์ ช้ทักษะลกู เสอื เพ่ือจัดกิจกรรมลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน” - อปุ กรณจ์ ริงตามสถานการณท์ ม่ี ี - คอมพวิ เตอร์ หรือ Computer Notebook - เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ /จอโปรเจคเตอร์ - โทรศพั ท์แบบสมาร์ทโฟน หรอื แทบ็ แลต็ (Tablet) - Internet หรือ Wifi - ชดุ เคร่ืองเสียงและลำโพง ขัน้ การประเมินผล ๑. ประเมนิ จากการมีสว่ นรว่ มและการสะทอ้ นความคดิ เห็นของลกู เสือรายบคุ คล ๒. ประเมนิ จากการรายงานผลงานหมู่
60 รายวชิ าย่อยท่ี ๒.๑.๗ เวลา ๑๕๕ นาที ลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานกับการพัฒนาชุมชน .................................................. ขอบขา่ ยวชิ า ๑. กจิ กรรมจิตอาสาเพ่ือการพัฒนา การบรกิ าร และการช่วยเหลอื อุบตั ิเหตุ อุบัติภัย ๒. การพฒั นาการรบั ผิดชอบตอ่ ชมุ ชนและสิง่ แวดล้อม วตั ถปุ ระสงค์ ๑. อธบิ ายประเภทของกิจกรรมจติ อาสาได้ ๒. จัดกิจกรรมเพ่ือพฒั นาชุมชนและส่งิ แวดล้อมได้ ขัน้ ตอนการฝกึ อบรม ให้ลกู เสือผู้เข้ารับการฝึกอบรม ฝึกและปฏิบัติตามกระบวนการทกี่ ำหนด สำหรบั รายวชิ า ลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานกบั การพัฒนาชุมชน มีขั้นตอนการฝึกอบรม ดังตอ่ ไปน้ี ข้ันตอนการจัดกิจกรรม ขนั้ ที่ ๑. ขัน้ นำเข้าสูบ่ ทเรยี น - บรรยายนำ แจ้งวัตถปุ ระสงค์ ขั้นที่ ๒. บทเรียนการเรยี นรู้ ๒.๑ วทิ ยากรแบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็นหมู่ และวิทยากรนำลูกเสือออกสำรวจพ้ืนท่ีในชุมชน ตามทไ่ี ด้กำหนด (อาจเปน็ หมูบ่ ้านพน้ื ที่ตั้ง หรอื ชมุ ชนใกลเ้ คยี ง) ๒.๒ วิทยากร มอบหมายภารกจิ ใหแ้ ตล่ ะหมลู่ กู เสอื ดังนี้ ๑) สำรวจสภาพพ้นื ทีห่ มู่บา้ น หรอื ชมุ ชน เพ่ือจดั ทำกจิ กรรม “จิตอาสาพระราชทาน” ทเี่ ห็นวา่ สามารถช่วยเหลือหมู่บ้าน หรือ กล่มุ ประชาชน หรอื อื่น ๆ ตามความเหมาะสม แต่ในกรณีที่ไม่สามารถ ออกพื้นที่หมูบ่ ้านหรือชุมชนได้ อาจใช้พืน้ ท่ีสถานศึกษา หรือค่ายลกู เสือที่เปน็ สถานที่ฝึกอบรมเป็นพื้นท่ปี ฏิบัติ กจิ กรรม “จติ อาสาพระราชทาน” ได้ ๒) การออกแบบพร้อมวางแผนการออกปฏิบัติกิจกรรม “จิตอาสาพระราชทาน” โดยให้แต่ละหมู่ลูกเสือออกแบบพร้อมวางแผนการออกปฏิบัติกิจกรรม “จิตอาสาพระราชทาน” ให้กับหมู่บ้าน ชุมชน หรอื พืน้ ที่สถานศกึ ษา หรอื ค่ายลูกเสือ ๒.๓ ใหแ้ ตล่ ะหมู่ลกู เสอื นำเสนอโครงการจดั กิจกรรม “ลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน” ขั้นท่ี ๓ การออกฝึกปฏิบัตกิ ิจกรรม “จติ อาสาพระราชทาน” - การออกฝึกปฏิบัติกิจกรรม “จิตอาสาพระราชทาน” ตามแผนและการเตรียมการ ที่กำหนด โดยวิทยากรและลูกเสือต้องทำการประสานกับผู้นำชุมชน และบุคคล รวมทั้งสถานที่ที่เป็นพื้นที่ ปฏิบัตกิ จิ กรรมภาคสนามอย่างอย่างละเอยี ด รอบคอบและให้มีประสิทธิภาพ ได้รับการยอมรับจากพนื้ ท่ีและชุมชน ขนั้ ที่ ๔ สรุปการออกปฏบิ ัติกิจกรรม วิทยากรสรุป อภปิ ราย ซกั ถาม
61 สอื่ การฝึกอบรม - แผนที่ หรือ แผนผงั ชมุ ชน - สมดุ สำหรับบนั ทกึ การปฏิบัติงานในชมุ ชน ขนั้ การประเมินผล ๑. ประเมนิ จากการมีสว่ นรว่ มและการสะท้อนความคิดเหน็ ลกู เสอื รายบุคคล ๒. ประเมินจากผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม “จิตอาสาพระราชทาน” ในพื้นที่การฝกึ ปฏิบตั ิ
62 รายวชิ าย่อยท่ี ๒.๑.๘ เวลา ๙๐ นาที ลกู เสือจิตอาสาพระราชทานกับการประชาสัมพนั ธ์ ................................................ ขอบข่ายวิชา ๑. หลกั การสอื่ สารเพื่อการประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ๒. การสรา้ งสอ่ื เพือ่ การประชาสัมพนั ธ์ วตั ถปุ ระสงค์ เมอ่ื จบบทเรยี นนแ้ี ล้ว ผเู้ ข้ารับการฝกี อบรมควรจะสามารถ ๑. อธบิ ายหลกั การและขัน้ ตอนการสร้างสอ่ื เพื่อการประชาสัมพันธ์ได้ ๒. สร้างส่อื เพอื่ การประสมั พนั ธ์ได้ ขน้ั ตอนการฝกึ อบรม ให้ลกู เสือผู้เข้ารับการฝกึ อบรม ฝกึ และปฏบิ ตั ิตามกระบวนการท่ีกำหนด สำหรับรายวชิ า ลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานกบั การประชาสัมพนั ธ์ มขี ั้นตอนการฝึกอบรม ดังต่อไปน้ี ข้ันตอนการทำกิจกรรม ข้ันที่ ๑ ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรยี น บรรยายนำ แจง้ วตั ถุประสงคแ์ ละหลกั การสือ่ สารเพ่ือการประชาสมั พนั ธ์ ขน้ั ที่ ๒ การสะท้อนประสบการณ์การเดิม วิทยากร : ดร. วีระกุล อรัณยะนาค ที่ปรึกษาสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ นำเสนอตัวอย่าง สอื่ เพอ่ื การประชาสมั พันธป์ ระเภททวั่ ไป และประเภท Online ข้ันท่ี ๓ การนำเสนอบทเรียน ๓.๑ วิทยากรนำเสนอ ๘ ขั้นตอน การสร้างสื่อเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ ๓.๒ วทิ ยากรนำเสนอสาระสำคัญของ ๘ ข้ันตอนการสร้างส่ือเพือ่ การประชาสมั พันธ์ ขนั้ ที่ ๔ กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ วทิ ยากรแบง่ กลุม่ ลูกเสอื ผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมตามจำนวนหมทู่ เ่ี หมาะสม ๔.๒ วิทยากรมอบภารกิจ สร้างสื่อเพือ่ การประชาสัมพันธ์ให้กลมุ่ ปฏบิ ตั งิ าน (ตามใบกจิ กรรม) ๔.๓ ใหแ้ ตล่ ะหม/ู่ กลุม่ นำเสนอผลงานการสร้างสื่อเพอื่ การประชาสมั พันธ์ ขน้ั ที่ ๕ การสรุปการเรียนรู้ ๕.๑ วทิ ยากรให้ความคดิ เห็น ข้อเสนอแนะตอ่ ผลงานที่หมู่/ กลุ่มนำเสนอ ๕.๒ วิทยากรตอบขอ้ ซกั ถาม และสรุป สอ่ื และโสตทศั นูปกรณ์ ๑. คอมพวิ เตอร์ และ โปรเจคเตอร์ พรอ้ มระบบ Internet ๒. VDO Clip เรือ่ งการสร้างสื่อเพอื่ การประชาสมั พันธ์ โดยแบ่งออกเปน็ ๒ ตอน ได้แก่ ตอนที่ ๑ การนำเข้าสูบ่ ทเรียนและสะท้อนประสบการณ์เดมิ ตอนท่ี ๒ การสรา้ งสอื่ เพ่ือการประสมั พันธ์ ๘ ขัน้ ตอน ๓. เอกสารใบความรู้ และเอกสารใบกจิ กรรม (QR Code) ๔. กระดาษ A4/ โปสเตอร์ (สำหรับกลุ่มที่เลอื กผลิตส่อื แบบทว่ั ไป)
63 ๕. โทรศัพท์ Smart Phone พรอ้ ม Application (สำหรบั กลมุ่ ท่เี ลอื กสร้างสื่อประเภท Online) การวัด/การประเมินผล ประเมินผลจากผลงานการสร้างสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์กิจกรรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศกึ ษา QR Code เอกสารใบกจิ กรรม และ เอกสารใบความรู้ รายวชิ าย่อยที่ ๒.๑.๘ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานกับการประชาสัมพันธ์
64 ใบกจิ กรรม รายวชิ าย่อยที่ ๒.๑.๘ การสื่อสารเพ่อื การประชาสัมพันธ์กิจกรรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา (ระยะเวลาท่ีสรา้ ง ๕๐ นาที ) ........................................................................................................................................ คำอธิบาย ๑. ใหแ้ บ่งกลุ่มตามจำนวนทีเ่ หมาะสม ๒. ให้แตล่ ะกลุม่ สร้างสอ่ื เพือ่ การประชาสัมพนั ธ์ ดงั น้ี ๒.๑ กำหนดหวั ข้อ (Topic) และระยะเวลานำเสนอ ๒.๒ กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ ๒.๓ จดั ทำสรปุ เนือ้ หา/สาระสำคัญ (Content) ๒.๔ กำหนดประเภทของสอ่ื ท่ีจะสร้าง ๒.๕ กำหนดรายการประกอบสอื่ ๒.๖ สรา้ งส่อื (รายละเอยี ดตามตารางใบกจิ กรรมท่ีแนบ) หมายเหตุ เมอ่ื ผลติ ส่ือแล้ว ตอ้ งควรจะนำไปใช้ให้ดำเนินตามขั้นตอนดังตอ่ ไปนี้ ๑. ใหผ้ ่านการตรวจสอบคณุ ภาพสอื่ จากผู้กำกบั ๒. เมื่อนำไปใช้แล้วควรประเมินผลการนำไปใช้/ปัญหาอุปสรรค (ถ้ามี) แล้วกำหนดแนวทาง ในการพัฒนาตอ่ ไป (รายละเอยี ดตามใบกิจกรรมที่แนบ)
65 ใบกิจกรรม การสื่อสารเพือ่ การประชาสมั พนั ธก์ ิจกรรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน หัวข้อเรอ่ื ง (Topic).............................................. ระยะเวลานำเสนอ ................................................ วัตถุประสงค์ เน้อื หา / ส่ือที่จะสร้าง ผลการตรวจสอบ ผลการ ปญั หา / แนวทาง การ สาระ ประเภทของสื่อ รายการ คณุ ภาพสอื่ นำเสนอ อปุ สรรค พัฒนา ตอ่ ไป (ระบ)ุ (ระบ)ุ ประกอบสือ่ (ระบุ) (ระบ)ุ ให้ทราบ ๑. ส่ือทว่ั ไป เช่น มคี ณุ ภาพ ดี เขา้ ใจเพือ่ ให้ ๑.๑ แผน่ พับ - ภาพถา่ ย นำไปใชไ้ ด้ ไมด่ ี เกิดการยอมรับ ๑.๒ จดหมาย - PowerPoint ต้องปรบั ปอ้ งกนั ข่าว - ดนตรี / เพลง ปรุงก่อนนำไปใช้ ตอ้ ง มใิ หเ้ ข้าใจผดิ ๑.๓ โปสเตอร์ - สถติ ิขอ้ มลู ดังน้ี ปรบั ปรุง เพอ่ื ๑.๔ บทความ - สถานการณ์ ........................ ความสมั พนั ธ์ ๑.๕ รายการ จำลอง ........................ อนั ดี / วทิ ยุ / TV ฯลฯ - สถานการณ์ ......................... เผยแพรผ่ ลงาน ๒. สือ่ Online จรงิ ......................... - Facebook - VDO Clip ไม่ควรนำไปใช้ - YouTube - บุคคล ฯลฯ เน่อื งจาก - TikTok ......................... - Line ......................... -Twitter ......................... - Viva VDO ฯลฯ ให้ทำเคร่ืองหมาย ลงใน ที่เลือก
66 ใบความรู้ รายวชิ าย่อยที่ ๒.๑.๘ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานเพือ่ การประชาสัมพันธ์ .................................................................................... ............ ๑. หลกั การสอื่ สารการประชาสัมพันธ์ การส่ือสารการประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา มีจุดประสงคห์ ลักเพ่ือ ๑.๑ ใหท้ ราบเข้าใจเพือ่ ให้เกิดการยอมรบั ๑.๒ ปอ้ งกันไม่ให้เกดิ การเขา้ ใจผดิ ๑.๓ เพอื่ ความสมั พันธ์อนั ดี โดยการเผยแพรผ่ ลงาน ทงั้ นีจ้ ะต้องเป็นขา่ วสารข้อมลู ที่ถูกตอ้ ง และเป็นไปในเชงิ บวกเทา่ นน้ั ๒. การสรา้ งเน้อื หา / สาระ (Content) ใหน้ า่ สนใจมี ๔ องคป์ ระกอบที่ควรพจิ ารณา ไดแ้ ก่ ๒.๑ กำหนดเปา้ หมาย เปา้ หมายแบง่ ออกเปน็ ๓ ประเภท ได้แก่ ๒.๑.๑ ตอ้ งการทำให้เป็นทีร่ ู้จกั ๒.๑.๒ ตอ้ งการทำใหเ้ กิดฐานข้อมลู มากข้ึน ๒.๑.๓ ต้องการให้เกดิ การประชาสมั พันธ์ ๒.๒ ทำความรู้จักกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซึ้ง ศึกษาทำความเข้าใจ/รู้จักกลุ่มเป้าหมาย ทั้งภายนอกและภายใน ภายนอก อาทิเชน่ ขอ้ มลู พนื้ ฐานทวั่ ไป เพศ อายุ ทอี่ ยู่ อาชีพ ฯลฯ ภายใน อาทเิ ชน่ ความเข้าใจ บคุ ลิกภาพ ความภาคภูมิใจ ปญั หาที่เผชญิ ฯลฯ ๒.๓ เนื้อหา (Content) ต้องตอบโจทย์ปัญหาอย่างเห็นได้ชัด ประหยัดเวลา ไม่ต้องไปค้นหา เพิม่ เติม เข้าใจง่าย และเข้าถงึ งา่ ย ๒.๔ เลอื กใช้เทคนิค เนื้อหา (Content) ทน่ี ่าดงึ ดดู ๒.๔.๑ อาทิเช่น การใช้สถิติ ใช้ข้อความที่น่าสนใจในการสร้างหัวข้อ (Topic) อาทิเช่น เทคนคิ การปอ้ งกันแสงสฟี ้าจาก Computer อย่างง่าย ๒.๔.๒ ใช้การเปรียบเทียบ เชน่ แนวโน้ม (Trend) ปัจจุบัน IOS และ Android อะไรดีกว่ากนั ๒.๔.๓ ใช้เรือ่ งราวสร้างแรงบนั ดาลใจ เชน่ สดุ ยอด นร. ม.๔ สอบเขา้ รร. เตรียมทหารได้ท้ัง ๔ เหล่า เปน็ ต้น ๓. ส่อื ที่จะใชใ้ นการนำเสนอ แบ่งกลุม่ เปน็ ๒ กลุ่ม ไดแ้ ก่ สอื่ ท่ัวไป และ ส่อื ออนไลน์ ๓.๑ สอื่ ทั่วไป ท่ีนิยมใช้ อาทเิ ช่น จดหมายข่าว แผน่ พับ โปสเตอร์ บทความ หอกระจายข่าว จดหมายเวียน สอ่ื มวลชน รายการวิทยุ โทรทัศน์ เปน็ ต้น ๓.๒ สื่อออนไลน์ ที่นิยมใช้ อาทิเช่น Facebook /Instagram /Tiktok/ Line /Viva Vdo / YouTube และ Twitter เป็นตน้ ๔. รายการประกอบสื่อที่นำเสนอ อาทิเช่น เพลง ดนตรี ภาพถ่าย บุคคล สถานการณ์จริง สถานการณ์ จำลอง อาคารสถานที่ VDO Clip บคุ คล ฯลฯ เป็นต้น
67 ๕. จรยิ ธรรมในการใช้ส่อื ๕.๑ เปน็ ข้อมูลจริง ถ้าอา้ งองิ มาจากทใ่ี ด ควรระบทุ ่ีมาของข้อมลู ด้วย ๕.๒ ไมใ่ ช้สอ่ื ทำร้ายผูอ้ ่ืน ๕.๓ ไมใ่ ชส้ ื่อรบกวนผูอ้ ืน่ ๕.๔ ไมใ่ ช้ส่ือเพอื่ ฉอ้ โกง/ลักขโมย ๕.๕ ไม่ใชส้ ื่อของผอู้ ่ืนโดยไม่ได้รบั อนุญาต ๕.๖ คำนงึ ถึงผลตอ่ เน่อื งทางสงั คม ๕.๗ ใคร่ควรและเคารพผอู้ นื่ ปฏิบัติตนตามกฎหมายปอ้ งกนั ลิขสทิ ธ์ิ
68 รายวิชาย่อยท่ี ๒.๑.๙ เวลา ๖๐ นาที การดำเนนิ งานกิจกรรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ................................................ ขอบข่ายวิชา ๑. การตง้ั หน่วยลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน ๒. การวางแผนจัดทำโครงการจิตอาสาพระราชทาน ๓. การทำกจิ กรรมจติ อาสาในชมุ ชน ๔. การสรุปผลโครงการและรายงานผล ๕. การขอรับเครอ่ื งหมายเชิดชูเกียรติ วัตถุประสงค์ ๑. บอกวิธีการต้ังหนว่ ยลกู เสือจติ อาสาพระราชทานได้ ๒. วางแผนจัดทำโครงการและรายงานผลการจดั ทำโครงการได้ ๓. ดำเนินการขอรบั แบดจ์เชิดชเู กียรติลกู เสือจติ อาสาพระราชทานได้ ขนั้ ตอนการฝกึ อบรม ให้ลกู เสือผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม ฝึกและปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการท่กี ำหนด สำหรับรายวิชา การดำเนินงานกิจกรรมลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษามีข้ันตอนการฝึกอบรม ดงั ต่อไปนี้ ข้ันตอนการจัดกจิ กรรม ขั้นท่ี ๑. ข้นั นำเขา้ สู่บทเรยี น - ช้ีแจงวตั ถุประสงค์ ขัน้ ที่ ๒ การนำเสนอบทเรียน วิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับ - การจัดตง้ั “หนว่ ยลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน” ในสถานศกึ ษา - บทบาทหน้าทีข่ องลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานในหนว่ ยลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน - ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานกับการวางแผนจัดทำโครงการ การปฏิบัติกิจกรรม และรายงานผล การจดั ทำ “จิตอาสาพระราชทานของลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน” จำนวนอย่างนอ้ ย ๓ ครั้ง - การขอรบั พระราชทาน “แบดจ์” เชดิ ชูเกียรตขิ องลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ขั้นท่ี ๓. กจิ กรรมการเรียนรู้ - ให้ลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรมแบ่งหมู่ ร่วมกันวางแผนจัดทำโครงการ และทำกิจกรรม จิตอาสาในชุมชน หรือในพื้นที่ใกล้เคียง อย่างน้อย ๓ กิจกรรม โดยมีการกำหนดเวลา (เพื่อให้สามารถปฏิบัติ กิจกรรมตามเกณฑท์ ี่กำหนด ) - นำเสนอผลงานการวางแผนของแตล่ ะหมู่ ขั้นท่ี ๔ สรุปการเรยี นรู้ - วิทยากรให้ข้อเสนอแนะ แก้ไขหรือปรับปรุงแผนกิจกรรมจิตอาสาที่แต่ละหมู่ร่วมกันนำเสนอ เพือ่ นำไปสู่การปฏิบตั ิจริง - วิทยากรและลกู เสือผู้เข้ารับการฝึกอบรมรว่ มกนั สรปุ การเรยี นรู้
69 ส่อื การฝกึ อบรม - แบบบันทึก แผนโครงการปฏิบัติกิจกรรม “จิตอาสาพระราชทานของหน่วยลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน..................” สถานศึกษา.................. ตำบล.................. อำเภอ.................. จังหวัด.................. ขั้นการประเมินผล ๑. ประเมนิ จากการมีสว่ นรว่ มและการสะทอ้ นความคดิ เหน็ ของลูกเสือรายบคุ คล ๒. ประเมินจากการรายงานผลงานหมู่ ๓. ประเมินจากผลการปฏิบตั ิกิจกรรม
70 พระราชทาน กระบวนการฝกึ อบรม : หมวดท่ี ๓ สมรรถนะวิทยากรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน รายวชิ าท่ี ๓.๑ การประยกุ ตใ์ ช้ทกั ษะลูกเสือของวิทยากรลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน รายวิชาที่ ๓.๒ เทคนคิ การเป็นวิทยากรและการสอ่ื สารประชาสัมพันธ์ลูกเสือจติ อาสา มีกระบวนการฝึกอบรมดงั ต่อไปนี้
71 หมวดที่ ๓ สมรรถนะวิทยากรลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน รายวชิ าท่ี ๓.๑ การประยุกต์ใช้ทักษะลูกเสือของวิทยากรลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน เวลา ๔๕ นาที .................................................. ขอบขา่ ยวิชา ๑. หลกั การประยุกต์ใชท้ กั ษะลูกเสือ ๒. การประยกุ ตใ์ ช้ทักษะลกู เสอื สำหรบั ลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน วัตถปุ ระสงค์ เมือ่ จบบทเรียนนี้แล้ว ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมควรจะสามารถ ๑. อธบิ ายหลกั การประยุกต์ใช้ทักษะลูกเสอื ได้ ๒. สามารถออกแบบกิจกรรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานท่ีประยกุ ต์มาจากทักษะลกู เสอื ได้ ขั้นตอนการจัดกจิ กรรม ให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม ฝึกและปฏิบตั ิตามกระบวนการท่กี ำหนด สำหรับรายวิชา การประยุกต์ใช้ทักษะลูกเสือของวิทยากรลูกเสือจิตอาสาพระราชทานมีขั้นตอน การฝกึ อบรม ดงั น้ี ขั้นตอนการเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๑. ขั้นนำเข้าสูบ่ ทเรียน - วิทยากรช้แี จงวตั ถปุ ระสงค์ ขัน้ ท่ี ๒. การนำเสนอบทเรียน ๒.๑ วทิ ยากรบรรยาย - นายเขมชาติ อมาตยกุล L.T. ผตู้ รวจการลกู เสอื ประจำสำนักงานลกู เสอื แห่งชาติ - นายอดุลย์รตั น์ นมิ่ เจรญิ L.T., 5A-267 นักวชิ าการศึกษาชำนาญการ ส่วนพฒั นาลูกเสือ และบุคลากรทางการลูกเสือ สำนกั งานลกู เสือแห่งชาติ, ผ้ตู รวจการลกู เสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ วิทยากรรับเชิญ จากหน่วยบรรเทาสาธารณภัย อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สาธิต การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติต่าง ๆ ด้วยการประยุกต์ใช้ทักษะลูกเสือพ้ืนฐาน” เช่น การใช้เงื่อนเก้าอี้ เงื่อนบุกเบิกการโรยตัวด้วยเชือกจากชั้นสองของอาคารกรณีไฟไหม้ การเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ การสาธติ การดบั เพลิง เป็นต้น ๒.๒ สรปุ การเรยี นรู้ ๓. ข้นั สรุปและแลกเปลยี่ นการเรียนรู้ - ใหผ้ ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับ “การประยกุ ต์ใชท้ กั ษะลูกเสอื ของวิทยากร ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน” คนละไม่เกิน ๑ หน้ากระดาษ A4 และส่งความคิดเห็นให้ผู้อำนวยการฝึก หรือวิทยากรประจำกลุ่ม โดยผู้อำนวยการฝึกหรอื วิทยากรประจำกลุ่มจะสรปุ ความคดิ เหน็ ของทุกคน จำนวน ๑ หน้า รวบรวมสง่ ไปยงั สำนกั งานลูกเสือแห่งชาตเิ ม่อื เสรจ็ ส้ินการฝกึ อบรมตอ่ ไป - ทั้งนี้ หลังจบการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ผู้บริหารจัดการฝึกอบรมได้จัดให้มีระบบ ZOOM หรอื อ่ืน ๆ เพือ่ เปิดโอกาสใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรมไดแ้ ลกเปล่ียนเรยี นรู้ด้วยกัน
72 สื่อและโสตทศั นปู กรณ์ - สอ่ื บุคคล - วดิ ีทัศน์ เร่ือง “ทกั ษะลกู เสือพืน้ ฐานท่ีสำคญั เพอ่ื ประยุกตใ์ ช้กรณีภยั พบิ ตั ิ” - เครื่องคอมพวิ เตอรพ์ ีซี หรอื เครื่องคอมพิวเตอรโ์ นต๊ บุค - เครอ่ื งรับโทรทัศน์ หรือ เครอ่ื งฉายโปรเจคเตอร์/ จอโปรเจคเตอร์ - ชุดเคร่อื งเสียงและลำโพง ข้ันตอนการวัดและประเมินผล ๑. การมีส่วนร่วม การรายงานผลรายบคุ คล และกลมุ่ ๒. ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิกิจกรรม
73 รายวชิ าที่ ๓.๒ เทคนคิ การเป็นวิทยากรและการสือ่ สารประชาสัมพันธ์ลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน เวลา ๔๕ นาที .............................................................. ขอบขา่ ยวิชา ๑. เทคนิคการเปน็ วิทยากร ๒. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม รายวิชาเทคนิคการเป็นวิทยากรและการสื่อสารประชาสัมพันธ์กิจกรรม ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน วตั ถุประสงค์ เม่ือจบบทเรียนนแ้ี ล้ว ผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมควรจะสามารถ ๑. อธบิ ายเทคนคิ การเป็นวิทยากรได้ ๒. จดั กจิ กรรม รายวชิ าเทคนคิ การเป็นวิทยากรและการสื่อสารประชาสัมพันธก์ ิจกรรมลูกเสือจิตอาสา พระราชทานได้ ข้ันตอนการฝกึ อบรม ให้ผู้เข้ารับการฝกึ อบรม ฝึกและปฏบิ ัติตามกระบวนการทีก่ ำหนด สำหรับรายวิชา เทคนิคการเป็นวิทยากรและการสื่อสารประชาสัมพันธ์กิจกรรมลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน มีขั้นตอนการฝกึ อบรม ดังต่อไปนี้ ข้นั ตอนการจัดกจิ กรรม ขน้ั ที่ ๑ ข้นั นำเข้าสู่บทเรียน - ชีแ้ จงวัตถปุ ระสงค์รายวชิ า ขนั้ ท่ี ๒ การนำเสนอบทเรียน วิทยากร : ดร. วีระกุล อรัณยะนาค ที่ปรึกษาสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ นำเสนอ การสร้างส่ือ เพ่อื การประชาสมั พันธ์ ๘ ขัน้ ตอน โดยอาจเลอื กใชว้ ธิ ี ๑) Online ๒) Onsite ๓) Online ผสมกบั Onsite ทั้งนี้โดยเลือกใชส้ ื่อตามที่กำหนดไว้ในคู่มอื การฝกึ อบรม หรือพิจารณาเลือกใช้สื่ออื่น ๆ ได้ตาม ความเหมาะสม ขัน้ ท่ี ๓ สรุปกิจกรรมการเรยี นรู้ วิทยากรสรุป ขัน้ แลกเปลยี่ นการเรียนรู้ - ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “เทคนิคการเป็นวิทยากรและการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์กิจกรรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน” คนละไม่เกิน ๑ หน้ากระดาษ A4 และส่งความคิดเห็น ให้ผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่ม โดยผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่มจะสรุปความคิดเห็น ของทุกคน จำนวน ๑ หน้า รวบรวมส่งไปยงั สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติเมอ่ื เสร็จสนิ้ การฝกึ อบรมตอ่ ไป
74 - ทั้งนี้ หลังจบการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ผู้บริหารจัดการฝึกอบรมได้จัดให้มีระบบ ZOOM หรอื อ่ืน ๆ เพอ่ื เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมไดแ้ ลกเปล่ยี นเรียนรู้ด้วยกัน ส่อื และโสตทศั นปู กรณ์ ๑. คอมพวิ เตอร์ พร้อมระบบ Internet ๒. VDO Clip เร่ือง “การสรา้ งสอ่ื เพอ่ื การประชาสัมพนั ธ์” ๓. เอกสารใบความรู้ ๔. เอกสารใบกิจกรรม การวัดและประเมินผล ๑. ประเมินจากการมสี ว่ นร่วมและการสะทอ้ นความคดิ เหน็ ของลกู เสือรายบคุ คล ๒. ประเมนิ จากการรายงานผลงานหมู่ ๓. ประเมนิ จากผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม สำนักงานลูกเสือแห่งชาติขอสงวนลิขสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา ส่วนหนึ่งส่วนใดในเอกสารฉบับนี้ หากท่านใดตอ้ งการคดั ลอก ทำซ้ำ เผยแพร่ ตอ้ งดำเนนิ การขออนญุ าตจากสำนักงานลกู เสือแหง่ ชาติ
75 ส่วนที่ ๓ การประเมนิ ผลการดำเนินงานตามโครงการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ................................................. การดำเนินงานโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการลูกเสือ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและวิธีการของโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน เพื่อพัฒนาบุคลากร ทางการลูกเสือให้สามารถฝึกอบรมลูกเสือและตั้งหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษาได้ รวมท้ัง เพื่อส่งเสริมให้ลูกเสือน้อมนำหลักการและวิธีการของโครงการจิตอาสาพระราชทานไปจัดกิจกรรมจิตอาสา ในสถานศึกษาและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเพื่อให้ทราบถึงผลการดำเนินโครงการดังกล่าว จงึ กำหนดให้มีการประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ โดยมรี ายละเอยี ดการประเมนิ ผล ดงั น้ี การประเมนิ และรายงานผลโครงการลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ๓.๑. วตั ถุประสงคก์ ารประเมิน วตั ถปุ ระสงค์การประเมนิ จำแนกตามหลกั สูตรในการฝกึ อบรมตามโครงการ ดงั นี้ ๓.๑.๑ หลักสตู รการฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน ๑) เพอ่ื ประเมินกระบวนการจัดการฝกึ อบรมบุคลากรทางการลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน ๒) เพื่อประเมินผลการดำเนินงานจัดการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน ๓.๑.๒ หลักสตู รการฝกึ อบรมลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ๑) เพอื่ ประเมินกระบวนการจดั การฝกึ อบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ๒) เพ่ือประเมินผลการดำเนินงานการฝกึ อบรม ในแต่ละดา้ น ดังน้ี ๒.๑) ด้านการดำเนินการจดั การฝกึ อบรมตามโครงการลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน ๒.๒) ด้านพฤติกรรมของลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ๒.๓) ดา้ นผลการจัดกิจกรรมจติ อาสาในชมุ ชนของลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน
76 ๓.๒ กรอบการประเมิน กรอบการประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ปงี บประมาณ ๒๕๖๔ วตั ถุประสงค์ ข้อมูลที่ตอ้ งการ ผใู้ หข้ อ้ มูล วิธกี าร/ การ เกณฑ์ เครือ่ งมอื วิเคราะห์ ๑. หลักสตู รการฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ก. ฝึกอบรมวิทยากรแกนนำลกู เสือจติ อาสาพระราชทานประจำจังหวดั ๑.๑ เพ่อื ประเมินผล ๑. ด้านความพรอ้ ม - ผเู้ ขา้ รบั การสอบถาม/ - ค่าเฉลี่ย ไดค้ ่าเฉล่ียมากกวา่ กระบวนการ ๒. ด้านเน้ือหา/ การฝึกอบรม แบบสอบถาม - ค่า หรือเทา่ กับ ๓.๕๑ จดั การฝึกอบรม กระบวนการ มาตราสว่ น ๕ เบ่ยี งเบน ขึ้นไป ๓. ดา้ นความรกั และ ระดับ มาตรฐาน ศรทั ธาตอ่ กจิ กรรม ลูกเสอื จติ อาสา พระราชทาน ๔. ด้านความพงึ พอใจ ในการเขา้ รับการ ฝกึ อบรมในภาพรวม ๑.๒ เพอ่ื ประเมนิ ผล - จำนวนผู้เข้ารับการ - สลช. แบบลงทะเบียน คา่ ร้อยละ มจี ำนวนผู้เขา้ รบั การดำเนนิ งาน ฝกึ อบรม การฝกึ อบรมไมน่ ้อย การฝกึ อบรม กว่าร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมาย ที่กำหนด ข. ฝึกอบรมผูบ้ ังคับบญั ชาหนว่ ยลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา ๑.๑ เพื่อประเมนิ ๑. ดา้ นความพรอ้ ม - ผูเ้ ขา้ รบั การ การสอบถาม/ - ค่าเฉล่ยี ได้ค่าเฉลยี่ มากกวา่ กระบวนการ ๒. ดา้ นเนอ้ื หา/ ฝึกอบรม แบบสอบถาม - ค่า หรือเท่ากับ ๓.๕๑ จดั การฝกึ อบรม กระบวนการ มาตราส่วน ๕ เบ่ยี งเบน ขน้ึ ไป ๓. ด้านความรักและ ระดบั มาตรฐาน ศรัทธาต่อกิจกรรม ลูกเสือจติ อาสา พระราชทาน ๔. ด้านความพงึ พอใจ ในการเขา้ ร่วม ฝึกอบรมในภาพรวม ๑.๒ เพ่ือประเมินผล ๑. จำนวนกลมุ่ - ผจู้ ดั การ แบบ ค่ารอ้ ยละ มีจำนวนผูเ้ ข้ารับ การดำเนินงานการ ๒. จำนวนผเู้ ขา้ รบั การ ฝกึ อบรม ลงทะเบยี น การฝึกอบรมไมน่ อ้ ย ฝึกอบรม ฝกึ อบรม กว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเปา้ หมายที่ กำหนด ๒. หลกั สตู รลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา ๒.๑ เพื่อประเมิน ๑. ด้านความพร้อม ผเู้ ขา้ รบั การ การสอบถาม/ - คา่ เฉลยี่ ไดค้ า่ เฉลย่ี มากกวา่ กระบวนการจดั การ ๒. ด้านเนอื้ หา/ ฝึกอบรม แบบสอบถาม - ค่า หรือเทา่ กบั ๓.๕๑ ฝึกอบรม กระบวนการ มาตราส่วน ๕ เบีย่ งเบน ขึ้นไป ๓. ดา้ นวทิ ยากร ระดบั มาตรฐาน
77 วตั ถุประสงค์ ข้อมูลท่ีตอ้ งการ ผูใ้ หข้ ้อมูล วธิ กี าร/ การ เกณฑ์ เครอื่ งมอื วิเคราะห์ ๔. ความรลั ะศรัทธา แบบรายงาน ตอ่ กจิ กรรมลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ๕. ความพึงพอใจในการ เข้ารับการฝกึ อบรมใน ภาพรวม ๒.๒ เพ่ือประเมินผลการดำเนนิ งานการฝึกอบรม ๑) การดำเนินงาน ๑. จำนวนกลมุ่ ผู้บังคับบญั ชา คา่ ร้อยละ รอ้ ยละ ๘๐ ของวิทยากรแกนนำ จัดการฝึกอบรมตาม ๒. จำนวนผเู้ ขา้ รับการ หน่วยลกู เสอื สามารถจดั การ ฝึกอบรม โครงการลูกเสือจิต ฝึกอบรม จติ อาสา ไดต้ ามเกณฑ์ อาสาพระราชทาน ๓. การตัง้ หน่วยลูกเสอื พระราชทาน จิตอาสาพระราชทานใน สถานศึกษา ๒) พฤตกิ รรมลกู เสือ พฤติกรรมของลูกเสอื จติ - ผู้บังคบั แบบสงั เกต - ค่าเฉลยี่ ได้คา่ เฉลย่ี มากกวา่ พฤติกรรม - ค่า หรือเทา่ กับ ๓.๕๑ จติ อาสาพระราชทาน อาสาพระราชทาน บญั ชาหน่วย เบ่ียงเบน ข้นึ ไป แบบรายงาน มาตรฐาน โครงการ - มเี หตุผล ยอมรับฟัง ลกู เสือจติ ร้อยละ ๘๐ คา่ รอ้ ยละ ของผเู้ ข้ารับ ความคิดเหน็ ของผอู้ น่ื อาสา การฝึกอบรม สามารถจัดกิจกรรม - มคี วามเออื้ เฟือ้ เผอื่ แผ่ พระราชทาน จิตอาสาในชุมชน ได้ตามเกณฑ์ - มกี ริ ิยา มารยาท วาจา - วทิ ยากร สุภาพ ประจำหมู่ - สามารถปฏบิ ัติงานกับ ผู้อ่นื ได้ - ปฏบิ ตั ิตนเป็นผ้นู ำและ ผตู้ ามทด่ี ี - มคี วามรับผดิ ชอบต่อ ตนเอง และชมุ ชน - ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผูอ้ ื่น โดยไมต่ อ้ งร้องขอ - มรี ะเบียบวินยั เคารพ กฎกติกา ๓) ผลการจดั จำนวนกจิ กรรมจติ อาสา ผบู้ งั คบั บัญชา กจิ กรรมลกู เสอื จิตอาสา ในชมุ ชนทจ่ี ดั ตาม หนว่ ยลูกเสือ ขอ้ กำหนดในโครงการ จติ อาสา (๓ ครัง้ เปน็ อยา่ งนอ้ ย) พระราชทาน
78 ๓.๓ เครื่องมอื และการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานมเี ครอ่ื งมอื และวธิ ีการ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดังนี้ ชอื่ เคร่อื งมือ ข้อมูลท่ีเก็บ ระยะเวลาในการ หมายเหตุ เก็บข้อมลู ฉบับที่ ๑ แบบสอบถาม ๑. ด้านความพร้อม ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ความคดิ เหน็ ตอ่ การฝึกอบรม ๒. ดา้ นเนื้อหา/กระบวนการ วันสุดท้ายของการ - วิทยากรแกนนำลูกเสอื หลักสตู รการฝึกอบรมบุคลากร ๓. ความรักและศรัทธาตอ่ จดั การฝกึ อบรม จติ อาสาพระราชทาน ทางการลูกเสอื จติ อาสา กจิ กรรมลกู เสือจติ อาสา - ผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสอื จติ พระราชทาน : วิทยากรแกนนำ พระราชทาน เมื่อเสรจ็ สิ้นการ อาสาพระราชทานใน ลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน ๔. ความพึงพอใจในการเขา้ รับ จดั การฝกึ อบรม สถานศกึ ษา และผบู้ งั คบั บัญชาลกู เสอื การฝกึ อบรมในภาพรวม จติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา เสรจ็ สิน้ การจัดการ ในภาคผนวก ฉบบั ท่ี ๒ แบบรายงาน รายงานการจดั การฝึกอบรม ฝกึ อบรมและการเป็น สำนักงานลกู เสอื จังหวัด การดำเนนิ งานจดั การฝกึ อบรม ผ้บู ังคบั บัญชาลกู เสือจติ อาสา วทิ ยากรตามโครงการ เป็นผ้กู รอกแบบรายงาน ตามโครงการลกู เสือจติ อาสา พระราชทานในสถานศึกษา ลกู เสอื จติ อาสา และรวบรวมสรปุ พระราชทานของ พระราชทานของ สำนักงานลกู เสือจังหวัด - การเป็นวทิ ยากรตาม วิทยากรแกนนำ ในภาคผนวก ฉบบั ที่ ๓ แบบรายงานการเป็น โครงการลกู เสือจิตอาสา หลงั เสร็จสน้ิ การ ผผู้ ่านการฝกึ อบรม วิทยากรโครงการลกู เสอื จติ อาสา พระราชทาน จัดการฝึกอบรมและ วิทยากรแกนนำลกู เสอื จติ พระราชทาน การจดั กจิ กรรมจติ อาสาพระราชทาน : วิทยากรแกนนำลกู เสอื จิตอาสา - จำนวนกลมุ่ อาสาในชมุ ชน พระราชทาน - จำนวนผูเ้ ข้ารบั การ ในภาคผนวก ฝึกอบรม วนั สดุ ทา้ ยของการ ฉบับท่ี ๔ แบบรายงานการฝึกอบรม - การต้งั หนว่ ยลูกเสือจิตอาสา จดั การฝกึ อบรม ผทู้ ีผ่ า่ นการฝกึ อบรม ลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน พระราชทานในสถานศึกษา ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื จติ ในสถานศกึ ษา - จำนวนกจิ กรรมจติ อาสาใน อาสาพระราชทานใน ชุมชนทจี่ ดั ตามกำหนดใน สถานศึกษาเปน็ ผู้กรอก ฉบับที่ ๕ แบบสอบถาม โครงการ รายงาน และจัดส่งให้ ความคิดเห็นของลูกเสือจติ อาสา ๑. ดา้ นความพร้อม สำนกั งานลกู เสอื จงั หวดั พระราชทาน ๒. ดา้ นเนอ้ื หา/กระบวนการ ตอ่ หลกั สตู รลกู เสือจิตอาสา ๓. ความรกั และศรัทธาตอ่ ในภาคผนวก พระราชทาน กจิ กรรมลูกเสอื จติ อาสา ลกู เสือจติ อาสา พระราชทาน พระราชทานใน ๔. ความพงึ พอใจในการเขา้ รับ สถานศกึ ษา เป็นผตู้ อบ การฝึกอบรมในภาพรวม แบบสอบถาม และ สถานศกึ ษารวบรวมสรุป เป็นรายงานการจดั การ ฝึกอบรมของสถานศกึ ษา ส่งสำนกั งานลูกเสือจังหวดั ในภาคผนวก
79 ชื่อเครอื่ งมือ ขอ้ มูลที่เกบ็ ระยะเวลาในการ หมายเหตุ เกบ็ ข้อมูล ฉบบั ท่ี ๖ แบบสังเกตพฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรมของลูกเสอื วิทยากรประจำหมเู่ ปน็ ผู้ ลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานใน ที่เข้ารับการฝึกอบรมตาม ระหว่างการฝึกอบรม กรอกใหค้ ะแนน และ สถานศึกษา โครงการ สถานศกึ ษารวบรวมสรุป เป็นรายงานการจดั การ ฝกึ อบรมของสถานศึกษา สง่ สำนกั งานลูกเสือจงั หวดั ในภาคผนวก ๓.๔ การสรปุ ผลการประเมิน การสรุปผลการประเมนิ ให้ผู้รับผิดชอบจัดการฝกึ อบรมในแต่ละหลักสตู ร จัดทำสรุปรายงานผล การประเมนิ การจัดการฝึกอบรม ดงั น้ี ๑. สำนักงานลกู เสอื แห่งชาติ ดำเนนิ การจดั ทำรายงาน ดงั นี้ ๑.๑ รายงานผลการประเมินการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน : วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ และวทิ ยากรแกนนำลกู เสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด ๑.๒ รายงานผลการดำเนินงานโครงการลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน เพ่ือสรุปเป็นภาพรวม ของโครงการเมื่อสนิ้ สดุ การดำเนนิ งานโครงการ ๒. สำนักงานลูกเสือจังหวัด โดยบุคลากรสำนักงานลูกเสือจังหวัดร่วมกับวิทยากรแกนนำ ลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน จัดทำรายงานผลการประเมิน ดังนี้ ๒.๑ รายงานผลการจัดการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษาเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกอบรมและจัดส่งเอกสารรายงานพร้อมไฟล์รายงาน ไปยังสำนักงานลูกเสือ แหง่ ชาตติ ามระยะเวลาท่กี ำหนด ๒.๒ รายงานผลการสังเคราะห์การจัดการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ของสถานศึกษาและการจัดกิจกรรมจิตอาสาพระราชทานในชุมชนของหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ของสถานศึกษา โดยการรวบรวมผลการดำเนินงานทั้งหมดของทุกสถานศึกษาในจังหวัด เพื่อเป็นข้อมูล ในภาพรวมของสำนักงานลูกเสอื จงั หวดั และจัดสง่ ไปยงั สำนกั งานลูกเสอื แห่งชาติ ตามระยะเวลาทก่ี ำหนด ๓. สถานศกึ ษาท่ีรว่ มโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน โดยผูบ้ งั คับบัญชาหน่วยลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา จัดทำรายงานผลการประเมินผลการจัดการฝึกอบรมและจัดกิจกรรม ลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในชมุ ชน และจัดสง่ เอกสารรายงาน จำนวน ๑ ชุด และไฟล์รายงานไปยงั สำนักงาน ลกู เสอื จังหวดั ตามระยะเวลาทีก่ ำหนด ๓.๕ แนวทางการจดั ทำรายงาน การจัดทำรายงานการประเมินตามโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประจำปี ๒๕๖๔ เพอ่ื ใหก้ ารรายงานผลการประเมินตามโครงการดังกล่าวเปน็ ไปในแนวทางเดียวกนั และสามารถนำมาสงั เคราะห์ เป็นภาพรวมของผลการดำเนินงานตามโครงการได้อย่างครบถ้วน จึงกำหนดให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ตามโครงการลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน แต่ละกลุม่ เป้าหมาย จัดทำสรปุ ผลการประเมนิ ดังน้ี
80 สำนักงานลูกเสือจังหวัด ดำเนินการรวบรวมข้อมูลการผู้บังคับบัญชาลูก เสือ จติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษาและผลการประเมินของวทิ ยากรแกนนำลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานประจำ จังหวัดและสรุปเป็นรายงาน และรวบรวมผลการดำเนินงานของผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศกึ ษาทกุ สถานศกึ ษาในจงั หวดั พร้อมสังเคราะห์ให้เปน็ ภาพรวมของจังหวดั ดงั น้ี (ก) จัดทำสรุปรายงานผลการจัดการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสา พระราชทานในสถานศกึ ษา และการร่วมเป็นวิทยากรในการฝกึ อบรม ซ่งึ มกี รอบการจัดทำรายงาน ดังน้ี ๑. บทนำ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๓. การเก็บรวบรวมข้อมลู ๔. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และการแปลผล การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน วิเคราะห์โดยใช้ความถี่ รอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และแบบสอบถามปลายเปิด ใช้การวิเคราะห์เน้ือหา การแปลผลความหมาย แปลผลค่าเฉลีย่ ส่วนที่เป็นมาตราสว่ นประมาณคา่ ๕ ระดบั ดงั นี้ ค่าเฉล่ียระหวา่ ง ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ /ความพงึ พอใจ ระดบั มากทีส่ ดุ คา่ เฉลย่ี ระหวา่ ง ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถึง มีความคิดเหน็ /ความพึงพอใจ ระดบั มาก ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถงึ มคี วามคดิ เหน็ /ความพึงพอใจ ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยระหว่าง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ มีความคดิ เหน็ /ความพงึ พอใจ ระดบั นอ้ ย คา่ เฉลย่ี ระหว่าง ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ มีความคดิ เห็น/ความพึงพอใจ ระดับน้อยท่ีสุด ๕. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ๕.๑ ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม ตารางที่ ... จำนวนและร้อยละคุณวุฒิทางการลูกเสือของผู้ตอบแบบสอบถาม (ใช้ข้อมูลจากแบบสอบถาม ฉบับท่ี ๑ ขอ้ มูลทั่วไป) รายการ จำนวน ร้อยละ ๑. กลุ่มเปา้ หมาย ๑.๑ ผู้บริหาร ๑.๒ ผ้กู ำกับ ๑.๓ รองผูก้ ำกับ ๒. คณุ วุฒิทางการลกู เสือ ๒.๑ B.T.C. ๒.๒ A.T.C. ๒.๓ W.B. ๒.๔ A.L.T.C. ๒.๕ A.L.T. ๒.๖ L.T.C. ๒.๗ L.T. รวม
81 ๕.๒ ขอ้ มูลความคิดเห็นต่อกระบวนการจัดการฝกึ อบรม ตารางที่ ... ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นต่อกระบวนการจัดการฝึกอบรม (ใช้ข้อมูล จากแบบสอบถามฉบับที่ ๑ ขอ้ มลู ความคิดเห็นต่อการฝึกอบรม ด้าน ๑ ดา้ น ๒ และ ด้าน ๓) รายการ ค่าเฉล่ีย คา่ เบ่ียงเบน แปล มาตรฐาน ความหมาย ๑. ความพร้อมในการเข้ารบั การฝกึ อบรม (ใส่ค่าเฉลย่ี และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานรายด้าน) ๑.๑ มีความเข้าใจในวตั ถุประสงคก์ ารฝกึ อบรมของโครงการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ๑.๒ มคี วามพร้อมในการเขา้ รับการฝกึ อบรมตามโครงการลูกเสือ จติ อาสาพระราชทาน ๑.๓ มคี วามมุ่งมนั่ ในการเข้าร่วมโครงการลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ๒. เนื้อหาและกระบวนการฝึกอบรม (ใส่คา่ เฉล่ยี และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานรายดา้ น) ๒.๑ เนอ้ื หารายวชิ าครอบคลุมตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการลกู เสือ จติ อาสาพระราชทาน ๒.๒ แพลตฟอรม์ DEEP ทำใหก้ ระบวนการฝกึ อบรมเปน็ ไป ตามวตั ถุประสงค์ของโครงการ ๒.๓ การฝึกอบรมครั้งนีท้ ำให้ได้รบั ความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ๒.๔ ความเหมาะสมของส่อื Online ในการฝกึ อบรม ๒.๕ การฝึกอบรมคร้ังน้ีกระต้นุ ใหเ้ กดิ พลังความเปน็ จิตอาสา ๒.๖ สามารถนำความรู้ ความเข้าใจจากการฝึกอบรมครัง้ นี้ ไปใชใ้ นการฝึกอบรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานได้ ๓. ความรักและศรัทธาตอ่ กิจกรรมลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน (ใสค่ ่าเฉลย่ี และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานรายดา้ น) ๓.๑ การเขา้ รบั การฝึกอบรมครั้งน้ที ำให้เกิดความรกั และศรทั ธาตอ่ งาน จติ อาสาพระราชทาน ๓.๒ ความม่ันใจในความรู้ ความเข้าใจและทักษะดา้ นลูกเสอื จิตอาสา พระราชทาน ๓.๓ ความมั่นใจวา่ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานทผี่ า่ นการฝึกอบรม สามารถทำคณุ ประโยชน์ให้แกช่ ุมชนและสังคม ค่าเฉลยี่ รวมทุกดา้ น หมายเหตุ ใส่ค่าเฉลีย่ และคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานรวมแตล่ ะดา้ นดว้ ย
82 ตารางท่ี ... ค่าเฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจตอ่ การเขา้ รับการฝึกอบรมในภาพรวม (ใช้ขอ้ มลู จากแบบสอบถามฉบบั ที่ ๑ ขอ้ ๕ ความพงึ พอใจ) ระดับความพงึ พอใจ จำนวน ค่าเฉลี่ย คา่ เบี่ยงเบน แปลความหมาย มาตรฐาน มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ดุ รวม ๕.๓ ขอ้ มลู ผลการดำเนินงาน ๑) ข้อมูลการจัดการฝึกอบรมผู้บังคับบญั ชาลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา จำนวน ............... ครั้ง จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม ............... คน จำแนกเป็น (ใช้ข้อมูลจากแบบสอบถาม ฉบับที่ ๒ ข้อ ๑) - ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา .......................................... คน - ผู้กำกบั ลกู เสือ ........................................... คน - รองผูก้ ำกับลูกเสือ ............................................ คน ๒) การเป็นวิทยากร ร่วมเป็นวิทยากรในการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราขทาน ดงั น้ี (ใช้ขอ้ มลู จากแบบสอบถามฉบบั ท่ี ๓ ข้อ ๑) ตารางท่ี ... การปฏบิ ตั ิหน้าที่วทิ ยากรของวทิ ยากรแกนนำลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน รายชอื่ วทิ ยากร จำนวนคร้งั การ หัวข้อ/รายวิชา สถานท/ี่ วนั เดือนปี เปน็ วทิ ยากร การฝกึ อบรม ๑. ๒. .... ๒๐. ๓) ปญั หา อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ .............................................................. .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ๖. ภาคผนวก (ภาพประกอบ คณะทำงาน และอน่ื ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง)
83 (ข) แนวทางการรายงานและการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของหน่วยลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา โดยนำผลการรายงานจากสถานศึกษา/หน่วยลูกเสือจิตอาสา พระราชทานในสถานศึกษาทั้งหมดที่จัดส่งรายงาน มารวบรวมและสังเคราะห์ให้เป็นเล่มรายงาน จังหวัดละ ๑ เลม่ โดยมีกรอบการรายงาน ดังน้ี ๑. บทนำ ๒. วตั ถุประสงค์ ๓. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ๔. การวิเคราะหข์ ้อมลู และการแปลผล การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน วิเคราะห์โดยใช้ความถี่ รอ้ ยละ คา่ เฉล่ีย ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน และแบบสอบถามปลายเปดิ ใชก้ ารวิเคราะห์เนือ้ หา การแปลผลความหมาย แปลผลค่าเฉล่ยี สว่ นทเี่ ป็นมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับ ดงั น้ี คา่ เฉลย่ี ระหว่าง ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ มคี วามคดิ เหน็ /ความพึงพอใจ ระดับมากทส่ี ดุ คา่ เฉลีย่ ระหวา่ ง ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถงึ มีความคิดเห็น/ความพงึ พอใจ ระดับมาก คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง มีความคิดเหน็ /ความพึงพอใจ ระดับปานกลาง ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ มีความคดิ เหน็ /ความพงึ พอใจ ระดับนอ้ ย ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ มีความคิดเห็น/ความพึงพอใจ ระดบั น้อยทส่ี ุด ๕. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ตอนท่ี ๑ ผลการประเมินกระบวนการฝกึ อบรม ตารางที่ ผลการวิเคราะหค์ วามคดิ เห็นต่อกระบวนการฝึกอบรมรายสถานศึกษา คา่ เฉลีย่ (ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน) สถานศึกษา ความพรอ้ ม เนื้อหา/ วิทยากร ความรักและ รวมเฉลย่ี กระบวนการ ศรทั ธาฯ ๔.๔๔ (๐.๔๘) ตวั อย่าง ๑. ๔.๐๐ ๔.๕๐ ๔.๖๗ ๔.๖๗ (๐.๒๓) (๐.๕๖) (๐.๕๖) (๐.๕๖) ๒. ๓. … ๖๐. เฉลย่ี รวม
84 ตารางท่ี ... ผลการวิเคราะหค์ วามพึงพอใจตอ่ การเขา้ รับการฝกึ อบรมรายสถานศึกษา สถานศกึ ษา คา่ เฉลยี่ คา่ เบย่ี งเบน แปลความหมาย มาตรฐาน ตวั อย่าง ๑. ๔.๐๐ (๐.๒๓) ๓.๔๐ (๐.๔๕) ๒. ๓. … ๖๐. เฉล่ียรวม ตอนท่ี ๒ ผลการดำเนินงาน ๒.๑ พฤตกิ รรมของลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา ตารางที่ ... ผลการวเิ คราะห์พฤติกรรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา สถานศึกษา คา่ เฉลย่ี ค่าเบ่ียงเบน แปลความหมาย มาตรฐาน ๑. ๒. ๓. … ๖๐. เฉลย่ี รวม ๒.๒ ผลการจัดต้ังหนว่ ยลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา ตารางท่ี ... จำนวนคร้งั และจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานรายสถานศึกษา รูปแบบการ สถานศกึ ษา จัดการ จำนวนผู้เข้ารับการฝกึ อบรม หมายเหตุ ฝกึ อบรม ๓ วนั ๔ วนั สามญั สามัญ วสิ ามัญ ๒ คนื ร่นุ ใหญ่ ๑. ๒. ๓. … ๖๐. รวม
85 ตารางที่ ... จำนวนหนว่ ยลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานรายสถานศึกษา สถานศกึ ษา จำนวนหนว่ ย/ จำนวนลูกเสือ หมายเหตุ กอง ๑. ๒. ๓. … ๖๐. รวม ตารางที่ ... จำนวนการจดั กจิ กรรมจติ อาสาในชมุ ชนของลกู เสือจิตอาสาพระราชทานรายสถานศึกษา สถานศกึ ษา จำนวนกิจกรรม จำนวนผ้เู ขา้ รว่ ม หมายเหตุ กิจกรรม ๑. ๒. ๓. … ๖๐. รวม ตารางท่ี ... การจัดกิจกรรมจิตอาสาพระราชทานในชุมชนของผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศกึ ษา สถานศึกษา ผ้บู ริหาร ผกู้ ำกบั รองผกู้ ำกับ กจิ กรรม จติ อาสา พระราชทาน ๑. ๒. ๓. … ๖๐. รวม หมายเหตุ ให้ระบุชอ่ื กิจกรรมจติ อาสาพระราชทานในชมุ ชน ตอนที่ ๓ ปัญหาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................
86 ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา : จดั ทำสรปุ รายงานผล การฝกึ อบรมลกู เสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา และการนำลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา ไปทำกิจกรรมจิตอาสาพระราชทานในชมุ ชน ซงึ่ มีกรอบการจดั ทำรายงานสรปุ ผล ดังนี้ ๑. บทนำ ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๓. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๔. การวเิ คราะห์ข้อมลู และการแปลผล การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน โดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ยี คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน และแบบสอบถามปลายเปดิ ใชใ้ นการวิเคราะหเ์ นอ้ื หา การแปลผลความหมาย แปลผลค่าเฉลี่ยส่วนที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดบั ดังน้ี คา่ เฉลย่ี ระหว่าง ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ มคี วามคดิ เหน็ /ความพงึ พอใจ ระดบั มากท่สี ดุ คา่ เฉลีย่ ระหว่าง ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถงึ มีความคิดเหน็ /ความพงึ พอใจ ระดับมาก คา่ เฉล่ยี ระหว่าง ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง มีความคดิ เหน็ /ความพึงพอใจ ระดับปานกลาง คา่ เฉลยี่ ระหว่าง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง มคี วามคิดเหน็ /ความพึงพอใจ ระดับนอ้ ย คา่ เฉลย่ี ระหว่าง ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ มีความคิดเห็น/ความพงึ พอใจ ระดับน้อยท่สี ุด ๕. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ๕.๑ ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ตารางท่ี ... จำนวนและร้อยละขอ้ มลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม (ข้อมูลจากแบบสอบถามฉบบั ที่ ๕ ขอ้ มลู ทว่ั ไป) รายการ จำนวน ร้อยละ ๑. เพศ ๑.๑ ชาย ๑.๒ หญงิ ๒. คุณวุฒทิ างการลกู เสือ ๒.๑ สามัญ ๒.๒ สามัญรนุ่ ใหญ่ ๒.๓ วิสามัญ
87 ๕.๒ ขอ้ มูลความคิดเหน็ ตอ่ กระบวนการฝกึ อบรม ตารางที่ ... ค่าเฉลย่ี และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานความคิดเหน็ ต่อกระบวนการฝึกอบรม (ข้อมลู จากแบบสอบถามฉบบั ที่ ๕ ดา้ นที่ ๑ ๒ ๓ และ ๔) รายการ คา่ เฉล่ีย ค่าเบ่ยี งเบน แปล มาตรฐาน ความหมาย ๑. ด้านความพร้อม (ใส่ค่าเฉลยี่ และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานรายดา้ น) ๑.๑ มคี วามเขา้ ใจในวตั ถปุ ระสงค์ในการเปน็ ลูกเสอื จิตอาสา พระราชทาน ๑.๒ มีความต้องการเป็นลกู เสือจิตอาสาพระราชทานจึงสมัครเข้าร่วม โครงการ ๑.๓ มีความมุ่งมั่นในการเปน็ ลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ๒. เนือ้ หาและการฝกึ อบรมลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน (ใส่ค่าเฉลีย่ และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานรายดา้ น) ๒.๑ รายวชิ าและเนอ้ื หาท่ีได้รบั จากการฝกึ อบรมทำให้เกดิ การเรียนรู้ เรอ่ื งจิตอาสาพระราชทาน ๒.๒ การฝกึ อบรมครั้งน้ีทำให้ไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ลกู เสือ จติ อาสาพระราชทาน ๒.๓ กระบวนการฝกึ อบรมจติ อาสาพระราชทานมีความเหมาะสมต่อ การให้เกดิ ทกั ษะจิตอาสา ๒.๔ การฝึกอบรมลูกเสือจติ อาสาพระราชทานกระตนุ้ ใหเ้ กิดพลัง ความเปน็ จิตอาสา ๒.๕ ส่ือการฝกึ อบรมมคี วามเหมาะสม ๒.๖ การนำความรู้และทักษะไปใชใ้ นกิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน ๓. วทิ ยากร (ใสค่ ่าเฉลี่ยและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานรายด้าน) ๓.๑ สามารถฝึกอบรมใหล้ ูกเสือจติ อาสาพระราชทานเกดิ การเรยี นรู้ เรื่อง จิตอาสาพระราชทาน ๓.๒ สามารถฝกึ อบรมให้ลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานมที ักษะการทำ กจิ กรรมจิตอาสาให้กบั ชมุ ชน ๔. ความรกั ความศรัทธาตอ่ จติ อาสาพระราชทาน (ใสค่ า่ เฉล่ยี และ ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐานรายด้าน) ๔.๑ เกดิ ความรกั ความศรัทธาตอ่ งานจิตอาสาพระราชทาน ๔.๒ มคี วามม่นั ใจในความสามารถและทกั ษะจติ อาสาพระราชทานของ ตนเอง ๔.๓ มคี วามพรอ้ มช่วยเหลืองานจิตอาสาพระราชทาน เฉลี่ยรวม หมายเหตุ ใสค่ า่ เฉลีย่ และคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานรวมแต่ละดา้ นดว้ ย
88 ๕.๓ ขอ้ มลู ผลการดำเนินงาน ๑) พฤตกิ รรมของลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา ตารางท่ี.... ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา (ใชข้ ้อมูลจากฉบบั ท่ี ๖ แบบสงั เกตพฤติกรรม โดยวเิ คราะห์เปน็ ภาพรวมของการฝึกอบรม) พฤติกรรม คา่ เฉลยี่ ค่าเบีย่ งเบน แปล มาตรฐาน ความหมาย ๑. มเี หตุผล ยอมรับฟังความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน ๒. มคี วามเออ้ื เฟื้อเผ่อื แผ่ ๓. มกี ิริยา มารยาท วาจาสุภาพ ๔. สามารถปฏิบัติงานกับผู้อ่ืนได้ ๕. ปฏบิ ัตติ นเป็นผู้นำและผตู้ ามท่ีดี ๖. มคี วามรบั ผิดชอบต่อตนเอง และชุมชน ๗. ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ โดยไมต่ ้องร้องขอ ๘. มีระเบียบวินัย เคารพกฎกติกา รวมเฉลีย่ ๒) ผลการดำเนินงาน ๒.๑) รูปแบบการจัดการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานใน สถานศกึ ษา ❑ ๓ วนั ๒ คนื ❑ ๔ วนั มจี ำนวนผู้เข้ารับการฝกึ อบรม .................................. คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................ ของเปา้ หมาย จำแนกเปน็ - ลกู เสือสามัญ ................................ คน - ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ .................... คน - ลูกเสอื วสิ ามญั .............................. คน ๒.๒) การจัดตั้งหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา จำนวน .................. หน่วย จำนวนลูกเสือ .............................. คน/หนว่ ย
89 (๓) การจัดกิจกรรมจิตอาสาในชุมชน โดยสถานศึกษาได้นำลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษาเขา้ รว่ มกจิ กรรมจติ อาสาในชมุ ชน ดงั น้ี ตารางท่ี .... การจัดกจิ กรรมจิตอาสาในชมุ ชนของหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของสถานศึกษา กิจกรรมทจ่ี ัด/สถานที่ วัน ดอื น จำนวน ผลการจดั กจิ กรรม ผ้รู บั ผดิ ชอบ จัด ปี ที่จัด ผเู้ ข้าร่วม (ใหร้ ะบุวา่ เป็นผู้บรหิ าร หรือ ผู้กำกับ หรอื (ระบุช่ือกิจกรรมที่จัดและ รองผกู้ ำกบั โดยทำเครอ่ื งหมาย / ลงในชอ่ ง) สถานที่จดั ) ผู้บริหาร ผกู้ ำกบั รองผกู้ ำกบั ๓) ปัญหา อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ ................................................. ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... (รายงานผลการจดั ใหใ้ ชข้ อ้ มูลจากแบบรายงาน ฉบบั ท่ี ๔) ๖.ภาคผนวก (ภาพประกอบ คณะทำงาน และอ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง) ๓.๖ การจัดสง่ รายงานผลการดำเนนิ งาน การจัดส่งเล่มรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ใหด้ ำเนนิ การดงั นี้ ๑) สำนักงานลูกเสือจังหวัดและวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวดั ให้จดั ส่งรายงานผลการดำเนินงานดงั น้ี (๑) รายงานผลการดำเนินงานจดั การฝกึ อบรมผูบ้ งั คบั บัญชาลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา จำนวน ๑ ชุด พร้อมไฟล์รายงาน ไปยัง สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ภายใน ๑๕ วัน หลงั เสร็จสน้ิ ภารกิจ (๒) รายงานการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสา พระราชทานในสถานศึกษาของแตล่ ะสถานศกึ ษาในจังหวดั จำนวน ๑ ชดุ พรอ้ มไฟล์รายงาน ไปยงั สำนักงาน ลูกเสือแหง่ ชาต.ิ ภายใน ๑๕ วนั หลังเสร็จสน้ิ ภารกิจ ๒) ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา จัดการฝึกอบรมลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา รวมทั้งการนำหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของสถานศึกษา ไปจัด กิจกรรมจิตอาสาตามที่กำหนดแล้ว ให้จัดส่งรายงานผลการดำเนินงาน ทั้งเอกสารรายงาน จำนวน ๑ ชุด และไฟล์รายงาน ไปสำนกั งานลกู เสอื จังหวัด ภายใน ๑๕ วันหลงั เสรจ็ สน้ิ ภารกิจ
90 การตดิ ตามผลการดำเนนิ งานการฝึกอบรมตามโครงการลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน การดำเนินงานจัดการฝึกอบรมตามโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในพื้นที่ ทางสำนักงาน ลูกเสือแห่งชาติ กำหนดให้มีการติดตามผลทั้งระหว่างการดำเนินงานและเมื่อเสร็จสิ้นโครงการเพื่อให้ทราบ ความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น ตลอดทั้งผลสำเร็จในการดำเนินงาน เพื่อให้คำปรึกษาและร่วมแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อการความสำเร็จในการดำเนินงานตามโครงการ โดยสำนักงานลูกเสือ แห่งชาติ และคณะนิเทศตดิ ตามผล ได้รว่ มดำเนินการติดตามผลตอ่ ไป บทบาทหนา้ ทข่ี องผู้เก่ียวข้องในการประเมนิ ผลการโครงการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน สำนักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ สำนกั งานลกู เสอื จงั หวัด ผูบ้ ังคับบัญชาลกู เสือจิตอาสา (สลช.) และวทิ ยากรแกนนำลกู เสือ พระราชทานในสถานศึกษา จิตอาสาพระราชทานประจำจงั หวดั ๑. กำหนดกรอบการประเมนิ ๑. ศกึ ษารายละเอียดกรอบ วิธีการ ๑. ศึกษารายละเอยี ด โครงการในภาพรวม ประเมินใหช้ ดั เจน รวมท้งั ภารกิจ กรอบ วิธีการประเมนิ ทไี่ ด้รับมอบหมาย ใหช้ ดั เจน รวมท้งั ภารกิจ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ๒. สรา้ งเครอื่ งมือในการเก็บ ๒. วางแผนการดำเนนิ การจัดการ ๒. วางแผนการดำเนนิ การ รวบรวมขอ้ มลู ฝกึ อบรมและการประเมนิ จัดการฝกึ อบรม การฝกึ อบรมร่วมกับผู้ทเี่ กย่ี วขอ้ ง และการประเมนิ การ ฝึกอบรมร่วมกบั ผทู้ ี่เก่ยี วข้อง ๓. ประสานงานและช้แี จง ๓. รวบรวมผลการเรยี นรขู้ องวทิ ยากร ๓. เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล สรุปผล หนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง แกนนำจิตอาสาพระราชทาน และจัดทำรายงาน ๔. จัดเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทกุ รายวิชา (๓ หมวด ๙ รายวชิ า) การฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสา การฝึกอบรมวทิ ยากรแกนนำ โดยให้ผอู้ ำนวยการฝกึ และวทิ ยากร พระราชทานในสถานศึกษา ลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน กลมุ่ สรุปผลการเรียนร้แู ตล่ ะรายวิชา ไม่เกนิ ๑ หน้ากระดาษ A4 ประจำจงั หวัด และรวบรวมจดั ทำเป็น ๑ เล่ม และจัดส่งใหแ้ ก่ สลช. หลังเสร็จสน้ิ การฝึกอบรม ๕. สรปุ ผลการฝึกอบรม ๔. รวบรวมผลการเรยี นรขู้ องผู้บังคบั ๔. จัดส่งรายงาน ไปยัง วิทยากรแกนนำลูกเสือจติ อาสาพระราชทานประจำ บัญชาลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน สำนักงานลกู เสือจงั หวดั จงั หวดั ในสถานศกึ ษาทุกรายวิชา ตามระยะเวลาทก่ี ำหนด ๖. ตดิ ตามผลการดำเนินงาน ของหน่วยงานในพน้ื ท่ี (๓ หมวด ๙ รายวิชา) โดยให้ สรุปผลการเรยี นรูแ้ ต่ละรายวชิ า ไมเ่ กนิ ๑ หนา้ กระดาษเอ ๔ และรวบรวมจัดทำเป็น ๑ เลม่ และจดั สง่ ใหส้ ำนักงานลูกเสือจงั หวัด
91 สำนกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ สำนักงานลูกเสือจังหวดั ผ้บู งั คับบัญชาลูกเสือจติ อาสา (สลช.) และวทิ ยากรแกนนำลกู เสือ พระราชทานในสถานศกึ ษา จิตอาสาพระราชทานประจำจงั หวัด ๗. รวบรวมรายงานผล ๕. เก็บรวบรวมข้อมลู สรุปผล การดำเนินงาน และจดั ทำรายงานการฝกึ อบรม ๗.๑ รายงานผลการฝกึ อบรม ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือจติ อาสา ผู้บังคับบญั ชาลกู เสือจิตอาสา พระราชทานในสถานศึกษา พระราชทานในสถานศึกษา ๖. ร่วมติดตามผลการดำเนนิ งาน ในสถานศกึ ษา ๗.๒ รายงานการสังเคราะห์ ๗. รวบรวมรายงานจากหนว่ ยลูกเสอื ผลการดำเนินงานของลกู เสือ จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา จติ อาสาพระราชทาน ของแต่ละสถานศกึ ษาในจังหวดั ในสถานศกึ ษา เพื่อสงั เคราะห์เป็นรายงานผล การดำเนนิ งานตามโครงการลูกเสือ จิตอาสาพระราชทาน ให้เป็น ภาพรวมของจงั หวัด ๘. สรปุ ผลการดำเนนิ งานตาม ๘. จดั ส่งรายงาน ไปยัง สลช. โครงการในภาพรวมทงั้ ตามระยะเวลาทกี่ ำหนด ดังน้ี โครงการ ๘.๑ รายงานผลการดำเนนิ งาน จดั การฝกึ อบรมผู้บังคับบัญชา ลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ในสถานศกึ ษา ๘.๒ รายงานการสงั เคราะห์ผล การดำเนินงานของผบู้ ังคบั บัญชา หนว่ ยลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษาของจงั หวัด สำนักงานลูกเสือแห่งชาติขอสงวนลิขสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา ส่วนหนึ่งส่วนใดในเอกสารฉบับนี้ หากทา่ นใดตอ้ งการคดั ลอก ทำซำ้ เผยแพร่ ตอ้ งดำเนนิ การขออนุญาตจากสำนกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ
92 ภาคผนวก ๑) โครงการลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน ๒) แบบประเมนิ ผลโครงการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน จำนวน ๖ ฉบบั ดังนี้ ฉบับที่ ๑ แบบสอบถามความคิดเห็นต่อการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ จิตอาสาพระราชทาน : วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน และผบู้ ังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา ฉบับที่ ๒ แบบรายงานการดำเนินงานจัดการฝึกอบรมตามโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ของสำนกั งานลกู เสอื จังหวัด ฉบับที่ ๓ แบบรายงานการเป็นวิทยากรโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน : วิทยากรแกนนำ ลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน ฉบับท่ี ๔ แบบรายงานการฝึกอบรมลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ฉบับที่ ๕ แบบสอบถามความคิดเห็นของลูกเสือจิตอาสาพระราชทานต่อหลักสูตรลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน ฉบบั ที่ ๖ แบบสงั เกตพฤติกรรมลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา ๓) QR Code แบบแสดงความคดิ เหน็ รายบคุ คล / รายวิชา
93 ๑. โครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ๑. หลกั การและเหตผุ ล เพื่อส่งเสริมให้ลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือน้อมนำโครงการจิตอาสาพระราชทานมาเสริมสร้าง จิตสำนึกความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง และบำเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยสำนักงาน ลูกเสือแห่งชาติ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานหลักสูตร และพระราชทานตราสัญลักษณล์ ูกเสือจติ อาสาพระราชทาน เมอ่ื วันท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๖๔ ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการลูกเสือให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและวิธีการของโครงการ จิตอาสาพระราชทาน ๒.๒ เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการลูกเสือให้สามารถฝึกอบรมลูกเสือและตั้งหน่วยลูกเสือจิตอาสา พระราชทานในสถานศึกษาได้ ๒.๓ เพื่อส่งเสริมให้ลูกเสือน้อมนำหลักการและวิธีการของโครงการจิตอาสาพระราชทานไปจัด กิจกรรมจติ อาสาในสถานศึกษาและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. กลมุ่ เป้าหมาย จำนวน ๑๙๕,๕๘๐ คน ๓.๑ วทิ ยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด จำนวน ๑,๕๔๐ คน (จงั หวัดละ ๒๐ คน/ ๗๗ จังหวดั ) ๓.๒ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจากสถานศึกษาทุกสังกัดเข้าร่วมโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน จังหวดั ละ ๖๐ สถานศึกษา ๆ ละ ๒ คน รวม ๑๒๐ คน / จงั หวัด/ ๗๗ จงั หวัด รวม ๙,๒๔๐ คน ๓.๓ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา จำนวน ๔,๖๒๐ สถานศึกษา สถานศึกษาละ ๔๐ คน รวม ๑๘๔,๘๐๐ คน ๔. วิธกี ารและข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ลำดบั กจิ กรรมการดำเนินงาน ระยะเวลา ผรู้ ับผิดชอบ ๑ ยกร่างโครงการและหลกั สตู รการฝกึ อบรม ธันวาคม ๒๕๖๓ สำนักงานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒ นำเสนอและประสานงานกับหน่วยงาน มกราคม ๒๕๖๔ สำนักงานลกู เสือแหง่ ชาติ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๓ นำเสนอโครงการเพอ่ื ขอความเห็นชอบ มกราคม ๒๕๖๔ สำนักงานลกู เสือแห่งชาติ ๔ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำหลักสูตร กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ คณะทำงานจดั ทำ และคู่มือการฝึกอบรมลูกเสือและบุคลากร หลกั สูตรและคมู่ ือ ทางการลกู เสือ (ฉบบั รา่ ง) ๕ ขอพระราชทานหลักสูตรและตราสัญลักษณ์ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ สำนักงานลกู เสือแห่งชาติ ลูกเสอื จติ อาสา ๖. พระราชทานหลักสูตรและตราสัญลักษณ์ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๔ สำนกั งานลกู เสือแห่งชาติ ลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ๗ ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคู่มือการฝึกอบรม เมษายน - มถิ นุ ายน คณะทำงานจัดทำ ลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือจิตอาสา ๒๕๖๔ หลักสูตรและค่มู ือ พระราชทาน (ฉบบั สมบูรณ)์
94 ลำดบั กิจกรรมการดำเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ ๘ ฝึกอบรมวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา กนั ยายน ๒๕๖๔ สำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ พระราชทานประจำสำนักงานลูกเสอื แห่งชาติ ๙ ฝึกอบรมวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา กันยายน ๒๕๖๔ สำนกั งานลกู เสือแห่งชาติ พระราชทานประจำจังหวัด โดย สำนักงาน ลูกเสือแห่งชาติ โอนงบประมาณสนับสนุน จังหวัดละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท เป็นค่าใช้จ่าย ในการดำเนินการฝึกอบรม ๑๐ ฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสา ตุลาคม ๒๕๖๔ สำนกั งานลูกเสือแห่งชาติ พระราชทานในสถานศึกษา จำนวน ๖๐ / สำนักงานลูกเสือ สถานศกึ ษา ๆ ละ ๒ คน รวม ๙,๒๔๐ คน จงั หวดั ทกุ จังหวดั ๑๑ ฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานใน พฤศจิกายน – สำนักงานลกู เสือจังหวัด/ สถานศึกษา จำนวน ๔,๖๒๐ สถานศึกษา ธนั วาคม ๒๕๖๔ กองลูกเสือใน สถานศกึ ษาละ ๔๐ คน รวม ๑๘๔,๘๐๐ คน สถานศึกษา ๑๒ สถานศึกษาดำเนินการขอจัดตั้งหน่วยลูกเสือ พฤศจิกายน – สำนักงานลูกเสือจังหวดั / จิตอาสาพระราชทาน สถานศึกษาละ ๑ หน่วย ธันวาคม ๒๕๖๔ กองลูกเสือใน รวม ๔,๖๒๐ หนว่ ย สถานศึกษา ๑๓ หน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานจัด พฤศจิกายน ๒๕๖๔ - ผู้บงั คับบญั ชาหน่วย กิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน หน่วยละ มกราคม ๒๕๖๕ ลกู เสือจิตอาสา ไมน่ ้อยกว่า ๓ ครงั้ พระราชทาน ๑๔ สรุป รายงานผลการดำเนนิ งาน กันยายน ๒๕๖๔ – สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ มกราคม ๒๕๖๕ /สำนักงานลูกเสือจงั หวัด ทกุ จังหวดั ๕. หลักเกณฑ์การดำเนินงานหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา โดยให้สำนักงาน ลูกเสอื จงั หวดั ดำเนนิ การฝึกอบรม ดงั น้ี ๕.๑ การฝึกอบรมวทิ ยากรแกนนำลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ประจำจงั หวัด คณุ สมบัตขิ องบคุ ลากรทางการลูกเสือท่จี ะเข้ารบั อบรมหลักสูตรวทิ ยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา ลูกเสอื พระราชทานประจำจังหวดั จงั หวัดละ ๒๐ คน ประกอบด้วยบคุ ลากรทางการลูกเสอื ท่สี ำนักงานลูกเสือ จังหวัดพิจารณาคัดเลือกจากผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาในเขตปกครอง ของจงั หวดั ทม่ี ีคุณวฒุ ทิ างลกู เสอื ดงั นี้ ๔.๓.๑ ผบู้ รหิ ารหนว่ ยงานทางการศึกษาทกุ หน่วยงาน มคี ณุ วุฒิลกู เสือข้ันต่ำ W.B. (๑) ศึกษาธิการจงั หวัดหรอื รองศกึ ษาธิการจงั หวัด (๒) ผ้อู ำนวยการสำนักงานหรือรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา (๓) ผอู้ ำนวยการหรอื รองผูอ้ ำนวยการ กศน.จงั หวัด หรือผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ ๔.๓.๒ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาทุกสังกัด มีคณุ วฒุ ิลูกเสอื ขนั้ ตำ่ A.L.T.
95 - ผู้อำนวยการหรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น ๕.๒ การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ระดับสถานศึกษา สถานศึกษาละ ๒ คน (ผ้บู ริหารสถานศึกษา ๑ คน ผ้กู ำกบั ลูกเสือ ๑ คน) จำนวน ๖๐ สถานศึกษา ของแต่ละ จงั หวัด ๑) เป็นบุคลากรทางการลูกเสือที่ผ่านการฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C.) เป็นอยา่ งตำ่ ๒) ดำรงตำแหนง่ เป็นผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสือในสถานศึกษา ๓) สำนกั งานลูกเสือจังหวัดเปน็ ผูพ้ ิจารณาคดั เลือกและส่งเข้ารับการฝึกอบรมหลกั สูตรบุคลากร ทางการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานตามทีส่ ำนักงานลูกเสอื แห่งชาติกำหนด ๕.๓ หน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา หน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ๑ หน่วย ประกอบดว้ ย ๑) ผบู้ งั คับบญั ชาลกู เสือของสถานศกึ ษา ๑ คน ๒) ลูกเสือ เนตรนารี ทุกเหล่า ทุกประเภทที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือจิตอาสา พระราชทานจำนวนหน่วยละ ๔๐ คน ๓) กอง/กลุ่มลูกเสือหนึ่ง ๆ อาจตั้งหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ได้มากกว่า ๑ หน่วย และแต่ละหน่วยสามารถจัดลูกเสือ เนตรนารีทุกเหล่า ประเภทลูกเสือสามัญรุ่ นใหญ่ และลกู เสอื วิสามญั รวมอยู่ในหน่วยเดียวกันได้ ๔) ผูอ้ ำนวยการลูกเสือสถานศึกษาและผู้กำกับลูกเสือเปน็ ผู้ดำเนินการจดั การฝึกอบรมหลักสูตร ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานตามหลกั สตู รท่ีสำนักงานลกู เสอื แห่งชาตกิ ำหนด หมายเหตุ สำหรับการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของแต่ละหลักสูตร จะใช้วิธีการฝึกอบรม Online และ Onsite ซึ่งสำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นแม่ข่ายในการฝึกอบรม โดยสำนักงานลูกเสือจังหวัด ต้องกำหนดให้มีศูนย์ประสานงานลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด เพื่อเป็นศูนย์ดำเนินงานกลาง ในการจัดการฝึกอบรม และผู้เข้ารับการอบรมทั้งสองประเภทจะต้องมาพบกลุ่มหรืออบรมที่ศูนย์ประสานงาน ของจังหวัด อย่างนอ้ ย ๓ ครั้ง ตามคมู่ อื การดำเนนิ โครงการลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน ๖. เข็มและแบดจ์ตราสัญลกั ษณล์ กู เสอื จติ อาสาพระราชทาน ๖.๑ เข็มลูกเสือจิตอาสา ทำด้วยโลหะเขียนสีลงยา ติดท่ีอกเส้ือข้างขวาเหนือปา้ ยชอื่ มอบให้แก่ ๖.๑.๑ วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัดที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้ให้ การฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ทั้งหลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสา พระราชทานในสถานศึกษา และหลักสูตรการฝึกอบรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา ไม่น้อยกวา่ ๓ ครัง้ ๖.๑.๒ ผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ได้รับการแต่งตั้งเป็น ผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน และมีผลการปฏิบัตหิ นา้ ที่เป็นวิทยากรหลกั สูตรการฝึกอบรม ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา และนำหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานไปปฏิบัติกิจกรรม จติ อาสา ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ ครั้ง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113