Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สูจิบัตรรำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓

สูจิบัตรรำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓

Published by ลิขิต ใจดี, 2020-08-05 06:58:43

Description: สูจิบัตรรำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓
โดย นิสิตสาขาวิชาศิลปะการแสดง รุ่นที่ ๕
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยพะเยา

Keywords: รำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย,สาขาวิชาศิลปะการแสดง,มหาวิทยาลัยพะเยา

Search

Read the Text Version

รำเดี่ยว ๒๕๖๓มำตรฐำนทำงด้ำนนำฏศลิ ปไ์ ทย ประจำปกี ำรศกึ ษำ โดย นิสติ สาขาวิชาศิลปะการแสดง รุ่นที่ 5 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตรแ์ ละศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา วันศุกร์ที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๐.๐๐ น. เป็นต้นไป ณ อาคารปฏิบัติการสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ LIVE สด เพจ สาขาวชิ าศลิ ปะการแสดง เพจ สาขาดนตรีนาฏศลิ ป์ ม.พะเยา สจู บิ ตั รออนไลน์



ปรัชญำของหลักสตู ร ศลิ ปะการแสดง เป็นวฒั นธรรมแหง่ การสอ่ื สารของมนุษยชาติ ที่เกิดจากการบรู ณาการศลิ ปะและศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ ขน้ึ เป็นวชิ าการและวชิ าชพี เพอ่ื สรา้ งสรรคอ์ รรถรสทมี่ คี วามหมายต่อ การดารงชีวติ มอี ตั ลักษณแ์ ละภมู ปิ ญั ญา

กำรสอบรำเดีย่ วมำตรฐำนทำงด้ำนนำฏศลิ ป์ไทย มหาวิทยาลัยพะยา เป็นสถาบันการศึกษระดับอุดมศึกษาท่ีมีการส่งเสริมคุณค่าท้ังศาสตร์ และศิลป์ บนพ้ืนฐานวถิ ชี วี ติ ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ตามปณิธานของมหาวิทยาลัย คือ \"ปัญญาเพื่อความเข้มแข็ง ของชุมชน\" สาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย พะเยา ได้ปฏิบัติหน้าท่ีในการอนุรักษ์ และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และให้สอดคล้องกับปรัชญาหลักสูตรของ สาขาวิชา คือ ศิลปะการแสดงเป็นวัฒนธรรมแหง่ การสื่อสาของมนุษชาติ ท่ีเกิดอากการบูรณาการศิลปะและ ศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ ข้นึ เป็นวิชาการและวิชาชีพ เพ่ือสรา้ งสรรค์อรรถรสทีม่ ีความหมายต่อการดารงชวี ิตอย่าง มอี ัตลักษณแ์ ละภมู ปิ ัญญา การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฎศิลป์ไทย ของนิสิตสาขาวิชาศิลปะการแสดง เป็นส่วน หนึง่ ของ กระบวนการอนุรกั ษ์ศิลปะการแสดงนาฏศิลป์ไทย ในรายวิชาศิลปะการแสดงนิพนธ์เพ่ือบูรณาการ องค์ความรู้ และแสดงศักยภาพของนิสิตท่ีได้ทาการศึกษามาตลอดระยะเวลา ๔ ปีโดยนิสิตจะทาการ คัดเลอื กชดุ การแสดงทีเ่ หมาะสมกับตน แลว้ เขา้ รับการถา่ ยทอดกระบวนทา่ ราจากผู้ทรงคณุ วุฒิ และนาเสนอ การแสดงใหผ้ ้เู ชยี่ วชาญ ในการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตลอดหลกั สตู รทผ่ี า่ นมา

สารวัฒนธรรมจังหวดั พะเยา สาขาวิชาศิลปะการแสดงเป็นสาขาวิชาที่มุ่งผลิตบัณฑิตเป็นศิลปินทางด้านการแสดงที่มี คุณภาพสามารถอนุรักษ์พัฒนาและสร้างสรรค์ผลงานทางด้านศิลปะการแสดงนาฏศิลป์ไทย ศลิ ปะการแสดงพืน้ เมืองล้านนา และศิลปะการแสดงรว่ มสมยั ร่วมกับองค์ความรทู้ างด้านทฤษฎีที่ได้รับ มาบูรณาการรว่ มกันใหเ้ ปน็ ผลงานทางด้านศิลปะการแสดง และดาเนินงานเพื่อสังคมร่วมกับสานักงาน วัฒนธรรมในจังหวัดพะเยามาอย่างตอ่ เนอ่ื ง การสอบราเดีย่ วมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยจึงเป็นการวัดและประเมินผลคุณภาพของ นิสิตจากองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอด ฝึกฝน จนมีความชานาญเฉพาะทางในศาสตร์ทางด้านการ แสดงดังกล่าว ทาให้นิสิตได้เรียนกระบวนการคิดการปฏิบัติการจัดการในการทางานของตนเอง การทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างเป็นระบบเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และเกิดคุณภาพของศิลปะการแสดงที่ นาเสนอสู่สายตาสาธารณะชนด้วยความอตุ สาหะและพากเพียร สุดท้ายนี้ ขอให้นิสิตทุกคนประสบความสาเร็จดั่งใจหวัง เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพคุณค่า คุณธรรมสสู่ งั คมและมคี วามสุขในการสร้างสรรค์งานศิลปะแก่สังคมใหเ้ จรญิ งอกงามสบื ไป (นางสายรุ้ง ธาดาจันทน์) วฒั นธรรมจังหวัดพะเยา

สารรองอธกิ ารบดฝี า่ ยคุณภาพนิสิต มหาวิยาลัยพะเยา ให้ความสาคัญ และสนับสนุนให้มีการส่งเสริมการเรียนการสอนที่มี จุดเด่นเฉพาะตามศาสตร์ของตนเอง โดยมุ่งเน้นให้นิสิตเรียนอย่างมีความสุขเพื่อพัฒนาตนและสังคม รวมถึงทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม การพัฒนาคุณภาพชีวิต คุณภาพจิตใจ ในการดารงตนอยู่ ท่ามกลางสังคมที่เปลี่ยนแปลง การสอบราเดี่ยวมาตฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย เป็นการสอบทางด้านวิชาการเชิงปฏิบัติ เพือ่ ประเมินความรู้ และความสามารถที่ได้ศึกษาตามหลักสูตร ของสาขาวิชาศิลปะการแสดง ทั้งนี้การ สอบราเดีย่ วมาตฐานทางด้านนาฏศลิ ป์ไทย จะเป็นผลงานวิชาการชิ้นหนึ่งที่บ่งบอกถึงคุณภาพของนิสิต ที่จะก้าวสสู่ ายงานในอนาคตต่อไป ผมขอแสดงความชื่นชมและยืนดีกับนิสิตผู้สอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้นนาฏศิลป์ไทยใน คร้ังนี้ขอให้การดาเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของสาขาวิชาศิลปะการแสดง และเป็นบรรทัดฐาน การเรียนการสอนตอ่ ไป (ดร.วุฒิชยั ไชยรินคา) รองอธิการบดีฝ่ายคุณภาพนิสิต

สารผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถทางดา้ นนาฏศลิ ป์ไทย ส า ข า วิ ช า ศิ ล ป ะ ก า ร แ ส ด ง ไ ด้ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต เ ป็ น ผู้ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ด้ า น ศิลปะการแสดง นาฏศิลป์ไทยศิลปะการแสดงร่วมสมัยศิลปะการแสดงพื้นเมืองล้านนาและสามารถ บูรณาการความรู้ เป็นศาสตร์แขนงต่าง ๆเพื่อประโยชน์ในทางศิลปกรรมศาสตร์และสามารถนาไป ประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นโดยการจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา จะเป็นการช่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นผู้ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจ และมีความสามารถในการ อนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม รวมทั้ง แสวงหาองค์ความรู้ใหม่ ได้อย่างเป็นระบบและ มีประสิทธิภาพ ควบคู่กับนาความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ตลอดจนเป็นบุคคล ที่มภี าวะผู้นา ภายใต้สานึกในคุณธรรม จรยิ ธรรมในการนาความรู้ การสอบราเดี่ยวมาตรฐานในครั้งนี้ นับเป็นบททดสอบหนึ่งที่สาคัญและจาเป็นในการก้าว ข้ามเข้าสู่ความเป็นศิลปินอย่างเต็มตัว ทั้งยังเป็นบทพิสูจน์คุณสมบัติที่กล่าวข้างต้นเพื่อประกาศความ พร้อมในทกุ ด้านสาหรับการเป็นศลิ ปินในอนาคตอนั ใกล้น้ี ครขู อชน่ื ชมกบั ความพยายาม มานะ อตุ สาหะ ขยันและอดทนของนสิ ิตทุกคนที่ร่วมแรงร่วม ใจกันสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ไทยในการเป็น ศิลปิน ที่ดี มีคุณภาพ ท้ายสุดนี้ขอให้นิสิตทุกคน ประสบผลสาเร็จในชวี ิตทางการศกึ ษาและหน้าทีก่ ารงานสมดังใจปรารถนา (รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดีเจรญิ ) ผมู้ ีความรคู้ วามสามารถทางด้านนาฏศลิ ป์ไทย

คณะกรรมการ การสอบราเด่ยี วมาตรฐานทางดา้ นนาฏศิลป์ไทย ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ อาจารย์ดร.พชั รา บัวทอง นาฏศิลปินอาวโุ ส รองศาสตราจารย์นุชนาฏ ดีเจริญ อาจารยร์ ัตนะ ตาแปง ผู้มีความร้คู วามสามารถ ประธานหลกั สูตร ว่าท่รี ้อยตรวี ิรยิ ะ สวสั ดิ์จีน อาจารย์ลิขิต ใจดี อาจารยป์ ระจาสาขาดนตรีและนาฏศิลป์ อาจารยป์ ระจาสาขาดนตรีและนาฏศิลป์

กำหนดกำรสอบรำเด่ยี วมำตรฐำนทำงดำ้ นนำฏศิลป์ไทย ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ ณ อำคำรปฏิบตั ิกำรสำขำวิชำศลิ ปะกำรแสดง คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์และศลิ ปกรรมศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยพะเยำ เวลา ๑๐.๐๐-๑๐.๓๐ น. พิธีเปิดการสอบราเด่ยี วมาตรฐานทางดา้ นนาฏศิลปไ์ ทย เวลา ๑๐.๓๐ น. การแสดงชุด จินตะหราทรงเครื่อง การแสดงชุด ฉุยฉายฤาษีแดง เวลา ๑๑.๕๐-๑๓.๐๐ น. การแสดงชุด ฉยุ ฉายนางวิฬา เวลา ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น. การแสดงชุด ฉยุ ฉายพงั คี การแสดงชุด ฉุยฉายศรู ปณขา เวลา ๑๔.๒๕ น. เวลา ๑๕.๐๐ น. พักรบั ประทานอาหาร การแสดงชดุ พระสธุ นเดินปา่ การแสดงชุด ฉยุ ฉายพันธรุ ัต การแสดงชุด นางพญาคาปนิ ขอฝน การแสดงชดุ ฉุยฉายสมิงพระรราม รับฟงั คาแนะนาจากทา่ นคณะกรรมการ ถ่ายรปู รว่ มกบั คณะกรรมการและแขกผู้มีเกียรติ

จนิ ตะหราทรงเคร่อื ง

การสอบราเดยี่ วมาตรฐาน ชุด จินตะหราทรงเครอื่ ง ผู้รับการถ่ายทอดท่ารา นางสาวณัฐพร รุ่งเรอื ง อาจารย์ผถู้ า่ ยทอดทา่ รา ศาสตรตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรกั ษ์ ผู้ช่วยศาสตรตราจารย์ ดร. มณศี า วศินารมณ์ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา รองศาสตรตราจารย์ นุชนาฏ ดเี จริญ ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดง การแสดงราเดีย่ วมาตรฐานชุด จนิ ตะหราทรงเครอ่ื งเปน็ การแสดงท่ีได้ตัดตอนมา จากบทละครในเร่ืองอิเหนา ตอน อิเหนาพบนางจินตะหรา เมื่อครั้งท่ีพระอัยกาของอิเหนา ซึ่งอยู่ท่ีเมืองหมันหยาได้เสียชีวิต เมืองท้ัง ๔ ได้ให้อิเหนาเป็นผู้ช่วยงานศพแทน จึงทาให้ อิเหนาพบกับนางจินตะหรา แต่ครั้นเมื่อเสด็จงานแล้วอิเหนาไม่ยอมกลับเมืองเพราะด้วย หลงรักนางจนิ ตะหรา ราเด่ียวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเคร่ือง สร้างสรรค์ข้ึนโดย ศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ มีแรงบันดาลใจมาจากการท่ีได้เรียน ได้แสดง และได้ชมการแสดง บทบาทนางจินตะหราหลายคร้ัง และมีความเห็นว่านางจินตะหรานับว่าเป็นตัวเอกสาคัญ ของเร่ืองอิเหนา แต่กลับพบว่านางจินตะหราไม่มีบทบาทราแต่งตัวท้ังท่ีบทพระราชนิพนธ์ รชั กาลที่ ๒ จะมีบทอาบน้าแต่งตัวของนางจินตะหรา ซึ่งเป็นบทท่ีใช้ร่วมกันกับประไหมสุหรี ซึ่งเหตุการณ์ตอนนั้นเป็นตอนท่ีนางจินตะหราแต่งองค์ทรงเคร่ือง เพ่ือท่ีจะเตรียมตัวไปเผา ศพพระอัยกา

บทรอ้ งและทานองเพลง -ป่พี าทย์ทาเพลงเสมอ- องค์กษตั ริย์ขัดสีฉวีวรรณ ผวิ พรรณงามดจุ ดง่ั เดือนฉาย ทรงอุหรับจบั กลิ่นอบอาย น้ากุหลาบละลายกรายกรีดน้วิ กวดเกล้าเปลาปรายพระฉายส่อง ผัดพกั ตร์นวลละอองผ่องผวิ ทรงภูษายกแย่งแพลงพริว้ ห่มรวิ้ ทองทบั ซบั ใน -ร้องเพลงสีนวล- สร้อยสะอิ้งสังวาลบานพบั ตาบประดับมรกตสดใส ทองกรแก้วมณเี จียระไน สอดใส่เนาวรัตน์ธามรงค์ ทรงมงกุฎสาหรับพระธิดา ห้อยอุบะบหุ งาตันหยง งามสะพรั่งพรอ้ มสรรพบรรจ พระโฉมยงเสดจ็ ไคลคลา -ป่พี าทย์ทาเพลงฉิง่ -

ฉยุ ฉายฤาษแี ดง

การสอบราเดย่ี วมาตรฐาน ชดุ ฉุยฉายฤาษแี ดง ผ้รู ับการถ่ายทอดทา่ รา นายวสพุ ล รกั ษช์ น อาจารย์ผูถ้ า่ ยทอดทา่ รา อาจารย์สุดจติ ต์ พันสังข์ ขา้ ราชการบานาญ สานักการสังคตี กรมศิลปากร อาจารย์ฉตั รช์ ัย ฉิมประสทิ ธ์ิ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา ว่าทร่ี ้อยตรี วิรยิ ะ สวัสดิ์จนี ประวตั คิ วามเป็นมาของการแสดง การสอบราเด่ียวมาตรฐานชุด ฉุยฉายฤาษีแดง เป็นการประพันธ์บทและ ประดิษฐ์ท่ารา โดย อาจารย์สุดจติ ต์ พันธ์สังข์ กล่าวถึง ฤๅษีแดง ตัวละครที่ปรากฏในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ทศกัณฐ์ลักนางสีดา กล่าวว่า เมื่อสวามีของนางสามนักขาส้ินชีวิตลง วันหนึ่งนาง จึงออกท่องเที่ยวไปในป่าระหว่างนั้นได้พบกับพระรามพระลักษมณ์และนางสีดา เกิดความปฏิพัทธ์รักใคร่พระรามนางเข้าย่ัวยวนเล้าโลมแล้วตบตีทาร้ายนางสีดา ทาให้ถูกพระลักษมณ์ลงโทษ นางโกรธแค้นเป็นอย่างมากไปทูนฟ้องทศกัณ ฐ์ กล่าวถงึ ความงามของนางสีดา ทศกัณฐ์เมื่อได้ฟังก็ให้มีใจคิดปรารถนาที่จะได้นาง สีดามาเป็นพระมเหสีจงออกอุบายให้พระยามารีสแปลงกายเป็นกวางทองไปลวง นางสีดา ส่วนทศกัณฐ์เมื่อสบโอกาสจึงแปลงเป็นพระฤๅษีแดงเพื่อลักตัวนางสีดา ไปไวใ้ นสวนกรงุ ลงกา

บทรอ้ งและทานองเพลง -ร้องเพลงฉยุ ฉาย- ฉยุ ฉายเอย จาแลงแปลงร่างวางจริตกริ ิยา แผงเพศทศพกั ตร์พญายักษ์สิบหน้า ผกเพยี้ นเปลี่ยนมาเป็นมหานกั สิทธิ์ สวมทรงสุหร่าสร้อยประคาพรรณราย แดงเพริศเฉิดฉายงดงามเม่อื ยามพศิ งามนกั เอย จะไปไหนหน่อยเจา้ ก็ลอยชาย ค่อยเยื้องค่อยยาตรวาดกรกราย ไปหาโฉมฉายสีดาเยาวมิตร หมายลกั อนงค์นาฏแรมนิวาสรามา นิวัตรลงการ่วมอรุ าเชยชิด -ปี่พาทย์รับ- -ร้องเพลงแม่ศรี- แม่ศรีเอย แม่ศรีทศศรี นวยนาดวาดที ไปสู่ทีส่ ีดา วนั นีล้ ะอนงค์ จะจากดงสู่ลงกา ใหล้ กั ษณ์รามตามหา เวทนาถงึ เอย แม่ศรีเอย แม่ศรีนิรมติ เยือ้ งย่างวางจรติ เหมือนนกั สิทธิ์เจ้าครู จติ ด่วนควรหา แต่สีดาตราตรู เร่งร้อนจรจู่ ไปสู่กุฎีเอย -ปี่พาทย์รบั - -ปี่พาทย์ทาเพลงเสมอเถร-

ฉยุ ฉายนางวฬิ าร์

การสอบราเด่ยี วมาตรฐาน ชุด ฉุยฉายนางวฬิ าร์ ผรู้ ับการถ่ายทอดท่ารา นางสาวกญั ญาณัฐ วงคค์ ม อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา อาจารย์ ดร.ชวลิต สุนทรานนท์ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา รองศาสตรตราจารย์ นุชนาฏ ดเี จริญ ประวตั ิความเป็นมาของการแสดง ราฉุยฉายนางวิฬาร์ เป็นการราเด่ียวท่ีอยู่ในการแสดงละครนอก เร่ืองไชยเชษฐ์ บทพระราชนิพนธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัยราฉุยฉายนางวิฬาร์เป็นการรา ของตัวละครนางวิฬาร์ หรอื นางแมว ซึง่ เป็นแมวทน่ี างจาปาทองหรือนางสุวิญชาเล้ียงไว้ รา ถวายเทพยดาเพอ่ื แก้บนทช่ี ่วยให้ขดุ เจอพระโอรส ถ่ายทอดกระบวนท่าราในโครงการสืบทอดนาฏศิลป์ไทยจากศิลปินแห่งชาติหรือ ผู้เชี่ยวชาญ คร้ังท่ี ๑๐ โดยอาจารย์ ดร.ชวลิต สุนทรานนท์นักวิชาการละครและดนตรี ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการถ่ายทอดท่าราจากดร.รจนา พวงประยงค์ ศิลปินแห่งชาติ ท่ีได้รับ การถ่ายทอดท่าราจากครูเจริญจิต ภัทรเสวีและมีนางพัฒนี พร้อมสมบัติ อดีตนักวิชาการ ละครและดนตรีเป็นผู้ประพันธ์บทร้อง

บทรอ้ งและทานองเพลง - ป่พี าทย์ทาเพลงฉยุ ฉาย - - ร้องเพลงฉุยฉาย - ฉุยฉายเอย นบกรราร่ายถวายพระไทรเทวา สองแขนแอ่นอ่อนทา่ กินนรลีลา ตระเวนเวหาขีม่ ้าตคี ลี่ ประเทา้ ก้าวยาตรนาดกรกราย ราฉยุ ฉายถวายเทพนารี - ร้องเพลงแม่ศรี - แม่ศรีเอย แม่ศรีวิฬารัตน์ ราฉยุ ฉายถวายหัตถ์ โสมนสั ยินดี เทพไทเทวา ทั่วปา่ วนาศรี โปรดรับไมตรี ตวั ข้าน้ถี วายเอย - ป่พี าทย์ทาเพลงเรว็ -ลา -

ฉยุ ฉายพงั คี

การสอบราเดีย่ วมาตรฐาน ชดุ ฉุยฉายพงั คี ผรู้ บั การถา่ ยทอดท่ารา นายอษั ฎาวธุ สงิ ห์ทอง อาจารย์ผู้ถา่ ยทอดทา่ รา รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย จนั ทร์สวุ รรณ์ ศิลปินแหง่ ชาติ อาจารย์ทีป่ รกึ ษา อาจารย์ลิขิต ใจดี ประวัตคิ วามเป็นมาของการแสดง การแสดงชุดฉุยฉายพังคี เป็นการแสดงราเดี่ยวของท้าวพังคีจากนิทาน พื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อีสาน) เรื่อง ท้าวผาแดง-นางไอ่ เนื้อเรื่อง กล่าวถึง ท้าวพังคีพญานาคหนุ่มลูกชาย พญาศรีสุทโธ ผู้ครองเมืองศรีสัตตนาค นหุต ได้ยินคาล่าลือเรื่องความงดงามของนางไอ่คา ธิดาของพระยาขอมผู้ครอง เมืองเอกธีตาคิดอยากยลโฉมนาง เมื่อรู้ว่าพระยาขอมจัดงาน บุญบั้งไฟจึงแปลง กายเป็นชายหนุ่มเพื่อไปเข้าร่วมพิธี การแสดงชุดนี้เป็นการชื่นชมความ งามของ พังคี ที่สามารถแปลงกายเป็นชายหนุ่มได้อย่างงดงามน่าหลงไหล ก่อนที่จะไป ร่วมงานบุญบั้งไฟ โดยมีกระบวนการร่ายราลีลาที่สง่างาม กิริยาท่าทางอย่าง มนุษย์แต่ยังคงเอกลักษณ์ที่สื่อถึงความเป็นพญานาค ซึ่งการแสดงดังกล่าวนี้เป็น ผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ ศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้ควบคุมและ ขัดเกลากระบวนท่าราให้เปน็ การแสดงราเดย่ี วมาตราฐานชุดใหม่สู่วงการนาฏศิลป์ ไทย

บทร้องและทานองเพลง - ปพี่ าทย์ทาเพลงรวั - - ร้องฉุยฉาย (พวง) - ฉยุ ฉายเอย เสร็จจาแลงแปลงกายเปน็ ยอดชายงามสง่า งามโพดล้าเหลอื หมดเชือ้ นาคา จริตกิรยิ าตาฮกั ตาแพง หน้าถั่งดังคมปอ่ นหลอ่ นงามหลาย เจา้ ชา่ งแปลงกาย งามละม้ายพญาแถน - ปพี่ าทย์รบั - โฉมเฉิดเอย คงิ เหลาพร้ิงเพรดิ เลศิ ทง้ั ดินแดน ไผเบิง่ ไผชมชอบอารมณ์ฮกั แก่น ผู้สาวหมื่นแสนงวยงงเสน่หา อาภรณ์สบุ ใส่งามละมัยวิจติ ร เคร่อื งประดับโสภิตลว้ นสุวรรณลงยา - ปพี่ าทย์รบั - - ร้องแม่ศรี - แม่ศรเี อย แม่ศรจี าแลง อนิ แปลงแถนแตง่ แมนสนั ขาคม คาเวา้ คาจา สือ่ ภาษาสง่าสม ยวนเย้าเร้าอารมณ์ จริงนะแม่ศรีเอย

พงั คเี อย - ปี่พาทย์รับ - ยามย่างวางทา่ พงั คีนาคา จิตใจแกร่งกล้า ปานเทวาลลี าศ แล้วรบี ยรุ ยาตร กิรยิ าหาญอาจ มุ่งหาอรทยั - ปี่พาทย์รบั - - ปพี่ าทย์ทาเพลงเร็ว – ลา -

ฉยุ ฉายศรู ปนขา

การสอบราเดย่ี วมาตรฐาน ชดุ ฉยุ ฉายศรู ปนขา ผรู้ ับการถา่ ยทอดท่ารา นางสาวนสุ รา ธนานุศกั ด์ิ อาจารย์ผถู้ ่ายทอดท่ารา ดร. นพรัตน์ ศภุ การ หวงั ในธรรม ศิลปินแหง่ จฬุ าลงกรณ์ อาจารย์ทีป่ รกึ ษา รองศาสตรตราจารย์ นชุ นาฏ ดีเจรญิ ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดง ราฉยุ ฉายศรู ปนขา เปน็ การราเดี่ยวทีอ่ ยใู่ นการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศูรปนขาหึง ซึ่งเป็นการราอวดฝีมือด้วยกิริยาท่าทีของนางแปลง อันมีจริต อ่อนช้อยปนแขง็ กร้าวตามลักษณะของนางยักษ์ เนื้อเรื่องกล่าวถึงนางศูรปนขาหรือสามะนักขา น้องสาวทศกัณฐ์ เมื่อชิวหาพระสวามี ต้องส้ินชีพลงด้วยความเข้าใจผิดของทศกัณฐ์ นางบังเกิด ความเปล่าเปล่ียวใจ จึงได้เที่ยวเตร่หาคู่ในเกาะลงกา แต่ไม่พบผู้ที่น่าพอใจ จึงเหาะข้ามมหาสมทุ ร ตระเวนเรื่อยไปจนถึงรมิ ฝ่ังแม่น้าโคทาวารี เช้าวันหนึ่งได้เห็นพระรามมาสรงน้าก็หลงรัก วันรุ่งขึ้นจึงแปลงกายไป คอยดักพบอยู่ริมทางแนะนาตนขอถวายตัวเป็นชายา แม้พระรามปฏิเสธนางก็ไม่ ย่อท้อเฝ้าติดตามไปจนถึงบรรณศาลา ได้พบนางสีดาจึงรู้ว่าพระรามไม่ใยดีกับ นาง เพราะมีชายาโฉมงามอยู่แล้ว ด้วยความริษยาจึงกลับรูปเป็นยักษ์ตรงเข้าทา ร้ายนางสดี า พระรามและพระลักษมณ์เข้าช่วยไว้ได้ จึงทาโทษนางสามนกั ขาด้วย การตดั แขน ขา จมูก หจู นแหว่งวิ่น แล้วไลไ่ ป

บทร้องและทานองเพลง - ปี่พาทยท์ าเพลงรวั - - รอ้ งฉยุ ฉาย - ฉุยฉายเอย เสร็จจาแลงแปลงกายจะตามชายไปให้ทนั นกั พรตช่างงามวไิ ล แต่งตัวเราไซรไ้ ปให้คมสนั ผา้ นุ่งใหม่สไบหอมใหพ้ รงิ้ พร้อมทกุ สิง่ อนั อีกท้ังเพชรพรายพรรณเหน็ กระน้ันคงติดใจ (รบั ) เสียดายเอย อยากจะส่องพระฉายหัดแยม้ พรายให้ย่วั ยวน กระจกในไพรหาทีไ่ หนมา ช่างเถอะเจรจาและแยม้ สรวล ด้วยเสียงอ่อนหวานกระบดิ กระบวน คงตามลามลวนมาชวนเราเอย (รับ) -รอ้ งเพลงแมศ่ รี- แม่ศรเี อย แม่ศรีโฉมเฉลา แต่งจริตใหพ้ รงิ้ เพรา เจ้าหนุ่มจะได้หลง ต้องทาแสนงอน ควกั ค้อนให้งวยงง แม้นมาต้ององค์ จะสลัดปดั กรเอย (รับ) แม่เล่นตวั เอย แม่จะแกล้งเลน่ ตวั แม้มากอดพวั พัน เราจะหยิกจะตี อยากมาหลงทาไม จะยว่ั ให้สิ้นดี แทบเป็นบ้าครานี้ ที่ในกุฎีเจียวเอย (รับ) - ปี่พาทยท์ าเพลงเร็วลา -

พระสธุ นเดนิ ป่า

การสอบราเด่ียวมาตรฐาน ชดุ พระสธุ นเดนิ ป่า ผ้รู บั การถ่ายทอดทา่ รา นายพฒั นพงษ์ อักษร อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา อาจารย์ดร. ไพฑรู ย์ เข้มแข็ง ผู้เช่ยี วชาญการสอนนาฎศิลปไ์ ทย วิทยาลัยนาฎศิลป อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา อาจารย์ลิขิต ใจดี ประวัติความเปน็ มาของการแสดง การแสดงราเด่ียวมาตรฐานชุด พระสุธนเดินป่า จัดอยู่ในประเภท ราเด่ียวมาตรฐานประเภทอื่น ๆ ซึ่งแทรกอยู่ในการแสดงละครเรื่องมโนห์ราของ กรมศิลปากร ปรากฏอยู่ในการแสดงฉากที่ ๗ ตอนที่พระสุธนเดินทางตามไปหา นางมโนห์รา เนื้อเรือ่ งกล่าวถงึ พระสุธนผู้เป็นพระสวามีของมโนห์ราที่ออกติดตาม นางผู้เป็นที่รัก ในระหว่างทางได้พบกับอุปสรรคมากมาย แต่ก็ทรงไม่ย่อท้อต่อ อุปสรรค และด้ันด้นเดินทางต่อไปจนถึงป่าหิมพานต์ โดยใช้เวลาเดินทางทั้งหมด ๗ ปี ๗ เดือน ๗ วัน นอกจากน้ียังมลี ิงป่าเป็นเพือ่ นร่วมเดินทาง การแสดงชุดนี้ถือ เป็นการแสดงราเด่ียวมาตราฐานอีกชุดหนึ่งที่มีลีลากระบวนท่าราที่แสดงถึงความ เข็มแข็งควบคู่ไปกับความอ่อนช้อยกันอย่างลงตัวซึ่งการแสดงชุดดังกล่าวนี้ อาจารย์ดร . ไพฑูรย์ เข้มแข็ง ได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่าราจาก นางจาเรียง พุธประดับ ศิลปินแห่งชาติและดร. นพรัตน์ ศุภการ หวังในธรรม ศิลปินแหง่ จุฬาลงกรณ์

บทรอ้ งและทานองเพลง -รอ้ งเพลงต่อยรปู - เมือ่ นั้น องค์พระสธุ นหมน่ หมองศรี ติดตามมโนราหน์ ารี ภมู มี ิไดพ้ กั วรกาย ท้ังโศกท้ังละเหี่ยท้ังเสียใจ ทง้ั อาลยั ราพงึ ถงึ โฉมฉาย น้อยจิตปิ้มชีวติ จะวางวาย ฟูมฟายชลนาโศกาลัย -ปี่พาทยท์ าเพลงมา้ ย่อง- -ร้องเพลงมา้ ย่อง- แวว่ เสยี งปักษาร่าร้อง ละเมอจิตคิดว่าน้องรา่ ไห้ เมียงมองตามก่งิ ม่งิ ไม้ แอบพ่อี ยู่ใยเยาวมาลย์

-ร้องเพลงรา่ ยชาตรี- พระเสด็จโดยเดียวในดงดอน มวี านรเปน็ เพือ่ นในไพรสาณฑ์ ดน้ั ด้นล่วงแดนแสนกันดาร ภบู าลหวิ โหยโรยแรง พระเหลียวซา้ ยแลขวาอรุ าสะทอ้ น ทินกรจะด่วนดับลงลบั แสง ท่ัวไพรพฤกษ์ปฐพสี าดสีแดง หวาดระแวงหว่นั องค์ทรงโศกี -ร้องเพลงรา่ ยชาตรี- แล้วหวนนึกมานะหฤทยั จะตามไปกว่าจะพบมารศรี ตามคาซ่งึ พระมุนี พาทีบอกทางให้ไคลคลา

ฉยุ ฉายพันธรุ ตั

การสอบราเดีย่ วมาตรฐาน ชดุ ฉุยฉายพันธุรัต ผ้รู ับการถ่ายทอดท่ารา นายธนัชพร ไทโท อาจารยผ์ ู้ถา่ ยทอดทา่ รา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พสิ ษิ ฐ์ บวั งาม ผู้ชว่ ยคณบดี อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา ว่าทีร่ อ้ ยตรี วิริยะ สวสั ดิจ์ ีน ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดง ฉยุ ฉายพนั ธุรัต เป็นการราฉุยฉายที่บ่งบอกถึงอัตลักษณ์ของนางพันธุรัต ตามในละครนอกเรือ่ งสงั ขท์ องตามบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธ- เลิศหล้านภาลัย พบว่าว่านางพันธุรัตเป็นนางยักษ์ใจดี เล้ียงดูพระสังข์และ รักเหมือนลูก แต่ความรักของนางกลับทาลายตัวนางเอง เพราะเท่ากับว่าเมื่อ พระสังข์ “ปีกกล้าขาแข็ง” แล้วก็หนีจากนางไป ซึ่งตั้งแต่แรกจะเห็นความขัดแย้ง ระหว่างนางพันธุรัตกับพระสังข์ ที่ท้าวภุชงค์ส่งพระสังข์มาเป็นลูกแต่โหร ไม่เห็นด้วยนางพันธุรัตก็ไม่ฟังคาทักท้วงเพราะรักใคร่เอ็นดูพระสังข์เสียแล้ว แต่วิตกว่าตนเป็นยักษ์ พระสังข์เป็นมนุษย์จะกลัวยักษ์ จึงสั่งให้พวกยักษ์จาแลง กายเป็นมนุษย์ทั้งหมด นางพันธุรัตแปลงกายอาพรางไม่ให้พระสังข์รู้จนเวลาผ่าน ไปรว่ มสิบปี แต่นางกก็ ลวั วา่ พระสงั ข์จะหนีไป จึงคอยระวงั อยู่ตลอดเวลา

แม้เวลาที่จะไปป่าก็ยังหลอกพระสังข์จนพระสังข์สงสัย ถึงแม้นางพันธุ รัตจะเป็นยักษ์ นางพันธุรัตก็เป็นแม่ที่อุ้มชูพระสังข์มาเป็นเวลานานให้ความห่วงใย เสมอต้น เสมอปลาย พระสังข์เองก็อดที่จะโศกเศร้าอาลัยอาวรณ์ไม่ได้ คร้ันนาง พนั ธุรตั เห็นพระสังข์ไม่ยอมลงมาหาแน่แลว้ นางกเ็ ขียนมหาจินดามนตร์ไว้ให้ เพื่อ เป็นการเตรียมการให้พระสังข์ไปผจญกับอุปสรรคและแก้ไขอุปสรรคได้ การกระทาของนางคือการเสียสละเพื่อลูกอย่างแท้จริง การแสดงชุดดังกล่าวนี้ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พสิ ษิ ฐ์ บัวงามเปน็ ผู้ประพันธ์บทร้องและประดิษฐ์ท่ารา

บทร้องและทานองเพลง - ปี่พาทย์ทาเพลงรัว - - ร้องเพลงฉยุ ฉาย - ฉยุ ฉายเอย พนั ธรุ ตั ยกั ษิณี ชีวนี ่าเวทนา รา้ งผัวรกั ลกู เลีย้ ง ยอมเสี่ยงชีวา อดทนกายา รักษาความลับไว้ ของวิเศษคูนคร ต้องแอบซ่อน ให้หา่ งไกล เกรงเจา้ สุดหทัย ตกใจหวาดกลัว เจ็ดวนั เอย เปน็ มนุษย์สดุ สวาท ไม่ยอมคลาดพระลกู รกั เจด็ วนั หาเสบียง มาหล่อเลยี้ งชวี ิตหลัก เหน่อื ยอ่อนไม่ผ่อนพัก สุดเยือ้ งยกั เจยี นจะตาย กล้ากลืนฝนื ปกปิด กลวั มิ่งมิตรคิดหา่ งกาย มิคงอยู่สู้วอดวาย ถ้าฤาสายไปจากจร

- ร้องเพลงแม่ศรี - ความรกั เอย ความรกั บริสุทธิ์ แมย่ ักกบั ลกู มนุษย์ ยากยดุ ร้างลา กรรมเวรพันผูก แมล่ กู สองอรุ า สรา้ งสรรค์กนั มา ใชเ้ วราให้ส้นิ เอย แมศ่ รเี อย แมศ่ รพี นั ธุรัต ขอเทิดอวยสวสั ดิ์ นอ้ มนมัสสดุดี ยอมตายถวายชนม์ ด้วยรกั ล้นท้นทวี สดุ ยอดนารี ในวรรณคดีเรอ่ื งสังขท์ อง - ปี่พาทย์ทาเพลงเร็ว-ลา -

นางพญาคาปินขอฝน

การสอบราเด่ียวมาตรฐาน ชุด นางพญาคาปนิ ขอฝน ผ้รู บั การถา่ ยทอดทา่ รา นางสาวอปั สร ชานาญ อาจารยผ์ ู้ถา่ ยทอดทา่ รา อาจารย์ธนนั ดา มณีฉาย นาฎศิลปินอาวุโส สานักการสงั คีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม อาจารย์ทีป่ รกึ ษา รองศาสตรตราจารย์ นชุ นาฏ ดีเจรญิ ประวัติความเป็นมาของการแสดง นางพญาคาปิ่นขอฝน เป็นการแสดงราเด่ียวของนางพญาคาปิ่น ตัดตอนมาจากการแสดงละครพันทางเรื่อง พญาผานอง ตอน ศึกรบศึกรัก กล่าวถึง นางพญาคาปินผู้เป็นภรรยาของพญาเก้าเกื่อนเจ้าเมืองวรนครหลบหนี จากเมือง หลังจากที่พญางาเมืองได้บุกเข้าตีเมือง นางจึงพากันหลบหนีและมา คลอดพระกุมารที่กระท่อมกลางป่า พร้อมกับนางคายวงพี่เล้ียงคนสนิท นางพญา คาปินโศกเศรา้ เสียใจทีจ่ าต้องจากบา้ นเมืองมาและไม่สามารถดูแลพระกุมารให้สุข สบายได้ ซึ่งในขณะน้ันหมู่บ้านเกิดความแห้งแล้งฝนไม่ตกต้องตามฤดูนางจึง วิงวอนขอพรจากพระวรุณ หากพระกุมารมีบุญญาธิการจะได้เป็นเจ้าเมือง ขอให้ ฝนตกลงมา หลังจากน้ันนางจึงฟ้อนราขอพรจากพระวรณุ

บทร้องและทานองเพลง - ปี่พาทยท์ าเพลงโอล้ าวครวญ – เมือ่ น้ัน คาปิน เยาวยอด เสน่หา ต้องพลดั พรากจากญาติจากพารา อยู่เอกา กลางไร่ ให้อาวรณ์ ครุ่นคะนึงคิดถึงพระจอมราช สุดอนาถ หมน่ ไหม้ หทยั ถอน คงจะเปน็ เวรกรรมมาตามรอน ดวงสมร สะอื้นโอ้ โศกี - ปี่พาทยท์ าเพลงโอด – (คายวงอุ้มกุมารออกจากกระทอ่ มเข้าเฝ้านางพญา) - เจรจา – คายวง - แมเ่ จ้าอยา่ รา่ ร้องเสียใจ ฉวยไมท่ รงสบายไป เจ้าน้อยจะพลอยได้รบั ทกุ ข์ ลาบาก คาปิน – ขอบใจคายวงมากท่พี ดู เตือนใจ โถ....เจ้าน้อยของแม่เปน็ กรรมของเจ้า แท้ ๆ ที่ ต้องมารบั ทุกข์ถงึ เพยี งนี้ สุดรกั สุดชวี ิตของแม่นี่หนาเมื่อคร้ัง เจ้าน้อยยงั อยใู่ นท้อง ของข้า พระราชากห็ วังจะสร้างบ้านแปลงเมือง หื้อเจ้าน้อย แต่....เมื่อเกิดแล้วแม้แต่หลังคา ก็บ่มจี ะคุ้มหัว

- ขับเสภาลาว – สาวคายวงเหน็ นางบ่สร่างเศร้า จึงคลานเข่ากล่าวปลอบมารศรี อย่ากาสรดโศกศัลย์พนั ทวี พระฉวผี ดุ ผ่องจะหมองนวล เรื่องรา้ ยร้ายผา่ นไปให้ผ่านลับ ผิวา่ กลบั คิดถึงคนึงหวน ความเศร้าจะเข้ามาก่อกวน จงใคร่ครวญไตร่ตรองเถิดกญั ญา กับอนึ่งเวลานี้กม็ เี หตุ อาเพศวิปรติ ผิดหนกั หนา พระวรุณไม่โปรยโรยลงมา ธาราเหือดแหง้ แลง้ ไป แมเ้ ปน็ ดงั นี้ไม่กว่ี นั เราทั้งน้ันคงสนิ้ ชีพตกั ษัย พระนางจะคิดอา่ นประการใด เร่งตรองไวไวอยา่ เนิ่นนาน - เจรจา – คายวง – ถ้าแมเ่ จ้ายงั บ่กยึ ง้ั ไห้ เจ้าน้อยคงบ่รอดชวี ิต หากบญุ ญาธิการยงั มีต๊กั ละ คาปิน – แมน่ บ่ คายวง – แมน่ คะเจ้า ที่พง่ึ ท้ังหลายบ่มอง บ่หัน จะพ่งึ ไดก้ ็แต่ผสี างเทวดา ลองเสีย่ ง สจั จวาจาดูบ่ หากทรงเมตตา เจ้าน้อยทงั้ สามเฮาก็คงรอดตาย - ร้องเกร่นิ ลาว – - ฟงั ว่า นางพญา ตรองตาม ที่รา่ ขานเห็นจริง เชน่ ถ้อย ของนงคราญ เยาวมาลย์ เสีย่ งสจั จวาจา

- ร้องลาวเชิญผี – นบเอย๋ นบเกศ ไหว้เทเวศทกุ ทิศา ท่วั สวรรค์ชั้นฟ้า ทั้งเจ้าป่า ทกุ ตาบล ไหว้พระ วรุณราช ผู้ประสาท หลงั่ สายฝน หากโอรส จะยืนชนม์ ดารงรฐั สวัสดี โปรดเอย๋ โปรดประทาน ดลบันดาลด้วยฤทธี ทรงเมตตาโปรดปรานี แกข่ ้าน้อยและกมุ าร โปรดดลให้ฝนถัง่ ตกไหล่หลังด่งั ท่อธาร โปรยปรายให้สาราญ ได้อาบกนิ สนิ้ ทุกข์ภัย - ปี่พาทยท์ าเพลงลาวเชญิ ผีต่อไป – - ปี่พาทยท์ าเพลงรัวสามลา -

ฉยุ ฉายสมิงพระราม

การสอบราเดย่ี วมาตรฐาน ชดุ ฉุยฉายสมงิ พระราม ผ้รู บั การถา่ ยทอดทา่ รำ นายกรภทั ร์ กันวันนะ อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา ดร. วันทนีย์ ม่วงบุญ นกั วิชาการละครและดนตรีทรงคุณวฒุ ิ สานกั การสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม อาจารย์ทป่ี รึกษา อาจารย์ลิขิต ใจดี ประวัติความเป็นมาของการแสดง การแสดงราชดุ ฉุยฉายสมิงพระราม จัดอยู่ในราเดีย่ วมาตรฐานประเภท ราฉยุ ฉาย โดยเปน็ การราฉุยฉายของสมิงพระรามที่บรรยายถึงบุคลิกลักษณะนิสัย ของตัวละครที่มีความเป็นชายชาตินักรบ ซึ่งเป็นตัวละครที่ปรากฏในการแสดง ละครพันทางเรื่อง ราชาธิราช โดยกล่าวถึงสมิงพระรามทหารมอญแห่งกรุง หงสาวดีผู้มีความองอาจเข้มแข็งทั้งมีฝีมือในการรบเป็นเย่ียมในการทาศึกสงคราม ณ เมืองหงสาวดี โดยมีช้างพลายประกายมาศคู่ใจออกรบด้วยทุกครั้ง เมื่อเกิดศึก กบั อังวะช้างพลายประกายมาศเกิดตกหล่มจึงเป็นเหตุให้สมิงพระรามถูกมังรายกะ ยอชวาจับตัวไปยังกรุงอังวะในฐานะเชลยในเวลาต่อมาสมิงพระรามได้อาสารบ ด้วยเพลงทวนกับกามนีจนกรุงอังวะได้รับชัยชนะ ทาให้ได้รับการแต่งต้ังเป็น มหาอปุ ราชและได้อภิเษกกบั พระราชธิดาแหง่ กรุงอังวะ ก า ร แ ส ด ง ชุ ด ฉุ ย ฉ า ย ส มิ ง พ ร ะ ร า ม นี้ บ ร ร จุ เ พ ล ง โ ด ย อาจารย์ไชยยะ ทางมีศรี ดุริยางคศิลปิน สานักการสังคีต กรมศิลปากร และ ประพันธ์บทร้องและประดิษฐ์ท่าราโดย ดร. วันทนีย์ ม่วงบุญ นกั วชิ าการละครและ ดนตรีทรงคณุ วฒุ ิ สานักการสงั คีต กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม

บทรอ้ งและทานองเพลง ปี่พาทยท์ าเพลงสมิงพระราม -ร้องเพลงฉุยฉาย- ฉยุ ฉายเอย สมงิ พระรามงามลา้ เลิศชาย ทหารหงสาแมช้ วี ายอมวาย มอบใจกายเพือ่ ถวายองค์ราชา เมื่อเปน็ เชลยอังวะยงั รบั ปะทะสู้ศึก เกรงกามนีฮกึ ล้วงลกึ ถงึ พารา องอาจเอย ภิเษกธิดาพม่าได้เป็นมหาอปุ ราช ถูกเรยี กไอ้เชลยดั่งเยาะเย้ยฟนั ฟาด จาต้องนิราศตัดสวาทเมียรกั กลับเมืองรามญั ไมผ่ ินผนั ไยดี ขออยู่ใกล้ฝ่าธุลบี าทบงสพ์ุ ระทรงศกั ดิ์

แมศ่ รีเอย แม่ศรที หารเก่ง ฝีมือน่ากลวั เกรง ต้องยาเยงในราญรอน ขนผองสยองแสยง ใครกลา้ แกรงต้องม้วยมรณ์ ประดจุ เทพทินกร แผ่รอ้ นเผาผลาญเอย เขยพม่าสมงิ พระราม เขยพมา่ เอย มิครน่ั คร้ามรณรงค์ เลือ่ งชือ่ ลือนาม จิตน้ันเฝ้าซื่อตรง เมินข้าสองเจ้า องค์ราชาธิราชเอย ทูลเทิดธารง -ปี่พาทยท์ าเพลงสมิงพระราม-

ขอขอบคุณสาร ๑. นางสายรุ้ง ธาดาจันทน์ วฒั นธรรมจังหวดั พะเยา ๒. ดร.วฒุ ิชยั ไชยรินคา รองอธิการบดีฝ่ายคุณภาพนิสติ ๓. รองศาสตราจารย์ นุชนาฏ ดีเจริญ ผมู้ คี วามรู้ความสามารถทางดา้ นนาฏศลิ ปไ์ ทย ขอขอบคณุ คณะกรรมการการสอบราเด่ยี วมาตรฐานทางดา้ นนาฏศิลป์ ไทย ประจาปี ๒๕๖๓ ๑. อาจารย์ดร.พชั รา บัวทอง ๒. รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดีเจริญ ๓. อาจารย์รัตนะ ตาแปง ๔. ว่าที่รอ้ ยตรีวริ ิยะ สวัสดิ์จีน ๕. อาจารย์ลขิ ิต ใจดี

ขอขอบคณุ อาจารยผ์ ถู้ า่ ยทอดทา่ รา ๑. ดร.นพรตั น์ ศุภาการ หวงั ในธรรม ศลิ ปนิ แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และผู้เช่ยี วชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย ๒. อาจารย์สดุ จิตต์ พันสงั ข์ นาฏศิลปินอาวโุ ส ๓. ดร. ไพฑูรย์ เข้มแขง็ ผเู้ ชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย ๔. ดร. วันทนีย์ มว่ งบุญ นักวิชาการละครและดนตรที รงคณุ วฒุ ิ ๕. รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย จนั ทร์สุวรรณ์ ศลิ ปินแห่งชาติ ๖. อาจารย์ธนันดา มณีฉาย นาฏศลิ ปินอาวุโส ๗. ดร.ชวลติ สุนทรานนท์ นักวิชาการละครและดนตรีทรงคณุ วฒุ ิ ๘. ศาสตรตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ ๙. ผชู้ ว่ ยศาสตรตราจารย์ ดร. มณศี า วศนิ ารมณ์ ๑๐.ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์พิสษิ ฐ์ บัวงาม ผู้ช่วยคณบดี ๑๑.อาจารย์ฉตั ร์ชยั ฉิมประสทิ ธ์ิ ขอขอบฝ่ายเครอื่ งแต่งกายและแตง่ หนา้ ๑. อาจารย์ฉตั ร์ชยั ฉิมประสิทธิ์ ๒. นายพุฒินาท สกลุ แพทย์ ๓. นายธรรพ์ณกร เรืองอยู่

ขอขอบคุณอาจารยส์ าขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปัตยกรรมศาสตรแ์ ละศิลปกรรมศาสตร์ ๑. รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดีเจริญ ๒. อาจารย์รตั นะ ตาแปง ๓. ว่าท่รี ้อยตรีวริ ิยะ สวสั ดิ์จนี ๔. อาจารย์ธนันยวรรณ ศรที รพั โยทัย ๕. อาจารย์ลขิ ิต ใจดี ขอขอบคุณฝา่ ยออกแบบโปรเตอร์และภาพนง่ิ นายวสพุ ล รักษ์ชน ขอขอบคณุ ฝา่ ยจดั ทาวิดีทศั น์ นายชัชวาล นวลศรี ขอขอบคณุ ฝ่ายออกแบบสจู ิบัตร นายวสุพล รกั ษช์ น นายอัษฎาวฒุ ิ สิงห์ทอง ขอขอบคุณสถานทถี่ า่ ยสจู ิบัตรและสถานทสี่ อบ ณ อาคารปฏบิ ตั กิ ารสาขาวิชาศลิ ปะการแสดง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์

รายชอ่ื คณะผปู้ ฏิบตั ิงานการสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ ไทย ประจาปี ๒๕๖๓ ๑. นายพัฒนพงษ์ อกั ษร (ประธาน) ๒. นางสาวนสุ รา ธนานุศักด์ิ (รองประธานโครงการ , ฝ่ายพธิ ีการ) ๓. นายวสพุ ล รักษ์ชน (ฝ่ายสจู ิบตั ร , ฝ่ายประชาสัมพันธ์) ๔. นายอัษฏาวฒุ ิ สงิ ห์ทอง (ฝ่ายสจู บิ ตั ร , ฝ่ายประชาสมั พนั ธ์ , ฝ่ายสถานที่ , ฝ่ายแสง สี เสยี ง ) ๕. นางสาวณัฐพร รุ่งเรือง (ฝ่ายเอกสาร) ๖. นางสาวอปั สร ชานาญ (ฝ่ายเอกสาร , ฝ่ายสวัสดกิ าร) ๗.นายธนชั พร ไทโท (ฝ่ายเครือ่ งแต่งกาย) ๘.นายกรภัทร์ กนั วนั นะ (ฝ่ายเครื่องแต่งกาย , ฝ่ายการเงนิ ) ๙.นางสาวกณั ญาณฐั วงคค์ ม (ฝ่ายสวัสดิการ)

ขอขอบคณุ ผ้สนับสนนุ

ขอขอบคณุ ผ้สนับสนนุ

ขอขอบคุณผส้ นับสนุน นายแดนเนยี ล ดราเปอร์ นางนภิ าพร แฟงฟัก ดราเปอร์