Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกถั่วเขียว

การปลูกถั่วเขียว

Published by nongbualumphulibrary, 2018-12-05 12:20:26

Description: การปลูกถั่วเขียว

Search

Read the Text Version

2. ถัว่ เขยี วผวิ ด�ำ พันธ์ุอู่ทอง 2 2.1 พันธุ์อทู่ อง 2 อายุประมาณ 90 วนั ผลผลิตเฉล่ยี 180 กิโลกรัมต่อไร่น้�ำหนกั 1,000 เมล็ด ประมาณ 44 กรมั เมลด็ สีนำ้� ตาลหรือสีแดง ขนาดเมลด็ เลก็สมำ�่ เสมอ พันธุพ์ ิษณุโลก 2 2.2 พันธ์ุพษิ ณโุ ลก 2 มที รงพมุ่ เตยี้ แคบและโปร่งกวา่ พันธอ์ุ ทู่ อง 2 อายุประมาณ 77 วนั ผลผลติ เฉลย่ี 190 กิโลกรัมตอ่ ไร่ นำ�้ หนัก 1,000 เมลด็ ประมาณ50 กรมั การปลกู ถัว่ เขยี วในฤดูแล้ง 7

วธิ ปี ลูก การปลกู ถวั่ เขยี วฤดูแลง้ เป็นการปลกู ถัว่ เขยี วหลงั การเก็บเก่ียวข้าวนาปี 1. ช่วงเวลาปลูก การปลกู ถวั่ เขยี วฤดแู ลง้ นยิ มปลกู ในพนื้ ทนี่ าหลงั จากเกบ็ เกยี่ วขาวนาปแี ลวในช่วงเดือนธันวาคมถึงมกราคม ถ้าต้องการผลผลิตสูงไม่ควรปลูกเกินปลายเดอื นมกราคม แตถ่ า้ อากาศหนาวอณุ หภมู ติ ำ�่ กวา่ 15 องศาเซลเซยี ส ควรเลอ่ื นการปลูกออกไปโดยให้เก็บเกี่ยวในช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมก่อนฝนตกชุกควรปลกู ถว่ั เขยี วทนั ทที เ่ี กบ็ เกย่ี วขา้ วแลว เพราะจะไดอ าศยั ปริมาณนาํ้ ในดนิ สําหรบัการเจริญเตบิ โตของถว่ั เขยี วแทนการใหนา้ํ ชลประทาน8 กรมส่งเสริมการเกษตร

การเตรียมดนิ 2. การเตรียมดิน การเตรียมดินให้เหมาะสมในการปลูกถั่วเขียวเป็นส่ิงส�ำคัญมาก วิธีการเตรียมดนิ ขึน้ อยกู่ บั สภาพพื้นท่ี และลกั ษณะดินจะสัมพนั ธก์ ับวธิ กี ารปลูก กรณีที่เป็นดินร่วนปนทรายหลังเก็บเกี่ยวข้าว เกษตรกรตัดตอซังเม่ือดินหมาดหรือความชื้นพอเหมาะจึงหว่านเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว แล้วใช้ผาน 7 ไถกลบในคราวเดียวกัน บางแห่งที่มีปัญหาเรื่องวัชพืชจะไถดะด้วยผาน 3 ตากดินทิ้งไว้และเม่อื เกบ็ เศษวัชพืชออก จึงไถดว้ ยผาน 7 อีกครัง้ กอ่ นหวา่ นเมลด็ ถวั่ เขียว แลว้คราดกลบเมล็ด กรณีเป็นดินเหนียวจัด ให้ท�ำร่องระบายน้�ำรอบแปลง และท�ำการปลูกโดยไมไ่ ถเตรยี มดนิ กลา่ วคอื หลงั เกบ็ เกย่ี วขา้ ว พอดนิ หมาดใหต้ ดั ตอซงั ทำ� รอ่ งระบายนำ�้ รอบกระทงนาแลว้ หวา่ นเมลด็ ถัว่ เขยี ว โดยไม่มีการไถเตรียมดินและไถคราดกลบหลังหว่านเมล็ด วิธีนีเ้ ปน็ การปลูกโดยไม่ให้นำ้� จะท�ำไดใ้ นบรเิ วณทม่ี ีระดบั นำ�้ ใต้ดินคอ่ นข้างสูง แต่การใช้วธิ ีนีใ้ ชอ้ ตั ราเมล็ดพนั ธ์ุปลูก 8 - 10 กิโลกรมั ต่อไร่ (เผื่อเมล็ดไม่งอกและนกมาจิกกินเมล็ดถ่ัวเขยี วหลังปลูก) กรณีปลูกในเขตชลประทานที่เป็นดินเหนียวจัด ต้องท้ิงไว้ให้ดินแห้งกอ่ น แลว้ ปลอ่ ยนำ�้ เขา้ ใหท้ ว่ มแลว้ ระบายนำ้� ออกทนั ที ทงิ้ ใหด้ นิ หมาดจงึ คอ่ ยไถพรวนวิธีนี้ดินจะแตกออกเป็นก้อนเล็กได้ง่าย เพราะหากไถพรวนทันทีหลังเกี่ยวข้าวดนิ ยงั มคี วามชนื้ สงู เมอื่ ไถดนิ จะจบั เปน็ กอ้ นโตทำ� ใหก้ ลบเมลด็ พนั ธไ์ุ มด่ ี ความชมุ่ ชน้ืในดินจะสูญหายไปเร็วมาก การปลูกถ่ัวเขียวฤดูแล้งจะต้องรักษาความช้ืนในดินให้มกี ารสญู เสียน้อยทีส่ ดุ การปลกู ถ่วั เขยี วในฤดูแลง้ 9

3. การคลกุ เมล็ดพนั ธุ์ด้วยเช้ือไรโซเบียม ไรโซเบียมถวั่ เขยี ว ปมรากถ่วั เกษตรกรควรคลุกเชื้อไรโซเบียมกับถ่ัวเขียวกอนปลูก โดยใชเช้ือไรโซเบียมท่ีใชสําหรับคลุกเมล็ดถ่ัวเขียวโดยเฉพาะ เช้ือไรโชเบียม 1 ถุง หนัก 200 กรัมสามารถคลุกกบั เมลด็ ถั่วเขยี วไดพอสําหรบั การปลูก 1 ไร่ ในแปลงท่ีเคยปลูกถั่วเขียวติดตอกันและถั่วเขียวมีการติดปมดีแลวอาจไมจําเปนตองคลุกเชื้อไรโซเบียมอีก มีงานทดลองยืนยันวาถั่วเขียวสามารถเกิดปมกับเชอ้ื ไรโซเบียมหลายชนดิ ในดินได การคลกุ เช้อื ไรโซเบียมจะทําใหถว่ั เขยี วตรงึ ไนโตรเจนจากอากาศเพอื่ การเจรญิ เตบิ โตของถว่ั เขยี ว ปรมิ าณไนโตรเจนทตี่ รงึ ได้จะเป็นอาหารของต้นถั่วเขียว ท�ำให้ดินอุดมสมบูรณ์ และเปนการประหยัดการใหปุย๋ ไนโตรเจนเปน็ การชว่ ยเพ่ิมผลผลติ ให้สูงขึน้ ข้อควรระวงั ในการคลุกเชือ้ ไรโซเบยี ม คอื v ใช้เช้ือไรโซเบียมสำ� หรบั ถ่ัวเขียวเทา่ น้นั v เมลด็ พันธ์ถุ วั่ เขียวทคี่ ลกุ ไรโซเบียมแลว้ ควรใช้ใหห้ มดทันที v ไม่ควรปลกู ถ่วั เขียวที่คลกุ เชื้อไรโซเบียมในดนิ ทแี่ ห้งมากๆ เพอื่ รอฝน v เมอื่ หยอดเมลด็ พันธุถ์ ว่ั เขยี วแลว้ ควรรีบกลบทันที เพอ่ื ไมใ่ หเ้ มล็ดถูก แดดเผา10 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

4. วิธกี ารปลกู และระยะปลกู การปลูกแบบหว่าน 4.1 การปลกู แบบหว่าน การปลูกถ่ัวเขียวหลังนาโดยอาศัยความชื้นในดิน หลังเก็บเก่ียวข้าวแล้วให้ไถดินขณะที่ดินยังมีความช้ืนเพียงพอส�ำหรับการงอกของเมล็ด ควรเตรียมดินให้ละเอียด ให้หว่านเมล็ดถั่วเขียวแล้วพรวนดินกลบทันทีเพื่อปิดผิวหน้าดินกันการระเหยของน�้ำใต้ดิน ในกรณีดินเหนียวที่แห้งเกินไป ความช้ืนไม่เพียงพอส�ำหรับการงอก ควรปล่อยให้ดินแห้งจนแตกระแหงแล้วจึงปล่อยน�้ำเข้าให้ท่วมและระบายออกทนั ที ทง้ิ ไวจ้ นดินหมาดหรือความชนื้ พอเหมาะ แล้วจงึ ไถพรวน การปลูกถ่วั เขยี วในฤดแู ลง้ 11

การปลกู เปน็ แถว 4.2 การปลกู เปน็ แถว ใชเ้ มล็ดพันธ์ุถ่ัวเขยี วอตั รา 4 - 5 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ปลูกแบบแถวคบู่ นสันร่อง ระยะระหวา่ งแถว 50 เซนตเิ มตร ระยะระหวา่ งตน้ 10 เซนตเิ มตร จำ� นวน 2 ตน้ ตอ่ หลมุ ไดจ้ �ำนวนตน้ 64,000 ต้นตอ่ ไร่ ปลูกเป็นแถวโดยใช้เคร่อื งปลกู 4.3 การใช้เครือ่ งปลกู ควรเตรียมดินให้ละเอียด และสม่�ำเสมอก่อนปลูก ใช้ระยะระหว่างแถว 50 เซนติเมตร จำ� นวน 20 - 25 ต้น ตอ่ แถวยาว 1 เมตร ได้จำ� นวนต้น 64,000 - 80,000 ต้นตอ่ ไร่12 กรมสง่ เสริมการเกษตร













ตารางท่ี 1 สารปอ้ งกันกำ� จดั วชั พืช (ตอ่ )วชั พืช สารปอ้ งกันก�ำจัด อตั ราการใช้/น้ำ� วธิ กี ารใช/้ ข้อควรระวงั วชั พชื 20 ลติ ร/ พื้นที่ 1 งานวัชพืชฤดูเดียว ฟลูอะซิฟอบ-พี-บิวทิล 40 มิลลลิ ติ ร พน่ คลมุ ไปบนตน้ ถวั่ เขยี ว และทเี่ กดิ จากเมลด็ (15%EC) 50 มิลลิลิตร วชั พชื ระยะทวี่ ชั พชื สว่ นใหญ่และเปน็ วชั พชื มี 3-5 ใบ หรือประมาณใบแคบมาก ควซิ าโลฟอบ-พี-เทฟิวรลิ 15-20 วนั หลงั งอก (25% EC)วัชพืชฤดูเดียว โฟมีซาเฟน (25% EC) 40 มิลลลิ ิตร พ่นคลุมไปบนต้นถ่ัวเขียวท่ีเกิดจากเมล็ด และวัชพืช ระยะท่ีวัชพืชแ ล ะ เ ป ็ น พื ช ส่วนใหญม่ ใี บ 3-5 ใบ หรือใบกว้างมาก ประมาณ15-20วนั หลงั งอก ห้ามใช้เกินอัตราที่ก�ำหนด เพราะอาจเป็นอันตรายต่อ ต้นถ่วั เขยี ววัชพืชฤดูเดียว อะลาคลอร์ (48% EC) 125+75 มิลลิลติ ร พ่นทันทีหลังปลูกก่อนถั่วทเ่ี กดิ จากเมลด็ + พาราควอท 125+100 มลิ ลลิ ติ ร เขียวและวัชพืชงอกขณะและตน้ วชั พชื ที่ (27.6% SL) พ่นดินควรมคี วามช้นื และงอกข้ึนมาก่อน มวี ชั พชื งอกขน้ึ มากอ่ นปลกูปลกู ถว่ั เขยี วทง้ั อะลาคลอร์ (48% EC) ถว่ั เขียววัชพืชใบแคบ + ไกลโฟเสทและใบกว้าง (48% SL)วัชพืชข้ามปีและต้นวัชพืชทง่ี อกขน้ึ มากอ่ นปลกู ถวั่ เขยี วทง้ัวัชพืชใบแคบและใบกวา้ ง1/ ในวงเล็บคอื เปอรเ์ ซน็ ต์สารออกฤทธิ์และรปู แบบของสารป้องกันกำ� จัดวชั พืช การปลกู ถ่ัวเขยี วในฤดแู ล้ง 19

2. โรคทีส่ ำ� คญั และการป้องกนั ก�ำจดั 2.1 โรคราแปง้ สาเหตุ เชอ้ื รา Oidium sp. ลักษณะอาการ พบเส้นใยสีขาวคล้ายผงแป้งโรยอยู่บนใบหรือส่วน ของพืชท่ีถูกเชื้อราเข้าท�ำลาย ต่อมาใบจะเปลี่ยนเป็นสีแดงและแห้งตายไป ถ้าเชื้อราเข้าท�ำลายในระยะกล้าอาจท�ำให้ต้นกล้าตาย แต่ถ้าเชื้อราเข้าท�ำลาย ในระยะออกดอกจะท�ำให้ต้นแคระแกร็น ติดฝักน้อย ฝักและเมล็ดมีขนาดเล็กลง ฝักที่มีเชื้อราสีขาวคล้ายผงแป้งขึ้นคลุม ฝักจะบิดเบ้ียวแคระแกร็น และเมล็ด ไม่สมบรู ณ์ ช่วงเวลาระบาด เป็นโรคท่ีพบระบาดในช่วงอากาศแห้งและเย็น ระหว่างเดือนพฤศจกิ ายน – กุมภาพันธ์ เชือ้ ราแพร่ระบาดโดยลม การป้องกันกำ� จดั • ก�ำจดั วัชพชื ทเี่ ปน็ พืชอาศยั ของโรค • พน่ สารเบโนมิลป้องกนั ก�ำจัดโรคพืช20 กรมส่งเสริมการเกษตร

2.1 โรครากเน่า โคนเนา่ สาเหตุ เชื้อรา Pythium aphanidermatum ลักษณะอาการ ผิวนอกของรากและโคนต้นส่วนท่ีติดดินมีสีน้�ำตาลถ้าในแปลงมีความชื้นสูงอาการของโรคจะลุกลามอย่างรวดเร็วและพบเส้นใยสีขาวละเอียดปกคลุมบริเวณแผล ต้นถ่ัวเขียวท่ีเป็นโรคจะเห่ียวและแห้งตายท�ำความเสียหายให้กับถ่ัวเขียวในทุกแหล่งปลูกในพ้ืนท่ีที่ดินมีน้�ำขัง และการระบายน้�ำไม่ดี เช้ือราสามารถเข้าท�ำลายต้นถั่วเขียวได้ทุกระยะการเจริญเติบโตถา้ เขา้ ทำ� ลายเมลด็ เมลด็ จะเนา่ กอ่ นงอก โดยทว่ั ไป ถา้ ตน้ ถว่ั เขยี ว อายุ 1 - 2 สปั ดาห์จะออ่ นแอต่อการเขา้ ทำ� ลายของเชอื้ รามาก ช่วงเวลาระบาด ช่วงฤดูฝนดินมคี วามชน้ื สงู การป้องกันก�ำจัด • เตรยี มแปลงให้มกี ารระบายน้�ำดีและไม่มีน้�ำขัง • ในแหล่งท่รี ะบาดประจ�ำ คลุกเมลด็ ดว้ ยสารเคมเี มทาแลกซลิกอ่ นปลกู • ถอนและเผาทำ� ลายต้นทเ่ี ปน็ โรค • ปลกู พชื หมนุ เวยี นสลบั กับการปลูกถ่ัวเขียว ไมค่ วรปลกู ถวั่ เขียวซ�้ำทเี่ ดมิ ตดิ ต่อกนั การปลูกถ่วั เขยี วในฤดูแล้ง 21

2.3 โรคใบจุดสนี ำ�้ ตาล สาเหตุ เชือ้ รา Cercospora canescens ลักษณะอาการ มักระบาดในฤดูฝน พบแผลบนใบจุดสีน้�ำตาล คอ่ นขา้ งกลม ขอบแผลไม่สม่ำ� เสมอตรงกลางแผลมสี ีเทา ขนาดแผล 1 - 5 มิลลเิ มตร ถา้ อาการรนุ แรงใบจะเปลย่ี นเปน็ สนี ำ�้ ตาลและแหง้ รว่ งหลน่ โรคนสี้ ามารถเขา้ ทำ� ลาย ได้ทุกระยะการเจริญเติบโต ท�ำให้ผลผลิตเสียหายมาก จะเป็นรุนแรงขึ้นในระยะท่ี ต้นถั่วเขียวแกใ่ กล้เก็บเกี่ยว ทำ� ใหส้ ามารถเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ไดเ้ พียงครง้ั เดยี ว ฝักจะ ลีบและขนาดของเมลด็ เล็กลง ช่วงเวลาระบาด ระบาดอยา่ งรนุ แรงในฤดฝู น การปอ้ งกนั ก�ำจดั • ปลกู ถัว่ เขียวพนั ธ์ตุ ้านทานโรค เชน่ พนั ธชุ์ ัยนาท 36 • หลกี เล่ยี งการปลูกถว่ั เขยี วในช่วงท่ีมกี ารระบาดของโรค • กำ� จดั วชั พชื บรเิ วณรอบแปลงปลกู เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ การสะสมของโรค • ถ้าพบระบาดมากควรพ่นสารเบโนมิล หรอื ไทโอฟาเนตเมทิล ปอ้ งกนั ก�ำจัดโรคพืช22 กรมสง่ เสริมการเกษตร

2.4 โรคไวรัสใบดา่ งเหลือง สาเหตุ เช้อื ไวรัส Mungbean Yellow Mosaic Virus (MYMV) ลักษณะอาการ ต้นทเี่ ปน็ โรคใบจะเปน็ จดุ สีเหลืองเลก็ ๆ กระจายอยู่ท่ัวไปบนใบท�ำให้ใบมีสีเหลืองปนเขียว ต่อมาอาการใบจุดสีเหลืองนี้จะกระจายแผ่ออกไปเป็นผืนใหญ่ และในท่ีสุดใบเปลี่ยนเป็นสีเหลืองจัด ต่อมาอาการลามข้ึนไปสู่ใบยอด ท�ำใหย้ อดท่ีแตกใหม่มอี าการด่างเหลอื ง ต้นแคระแกรน็ ไมอ่ อกดอกและไม่ตดิ ฝกั แตถ่ ้าโรคน้เี กิดในระยะท่ตี ดิ ฝักแลว้ ฝักจะเปลยี่ นเป็นสีเหลอื งจัด ขนาดเล็กและสนั้ ผิดปกติ สว่ นมากฝกั จะงอข้ึนไม่ติดเมล็ดหรือเมลด็ จะลีบเล็กกว่าตน้ ปกติ ช่วงเวลาระบาด โรคนี้พบระบาดท�ำความเสียหายกับถ่ัวเขียวได้ทุกระยะการเจรญิ เติบโต ตงั้ แต่ถ่วั เขียวอายุประมาณ 2 สัปดาห์ขึ้นไป การป้องกันกำ� จดั • หลกี เลย่ี งการปลกู ถว่ั เขยี วในบรเิ วณทม่ี กี ารระบาดของโรค ถา้ จำ� เปน็ให้ถอนต้นทเ่ี ป็นโรคเผาทำ� ลาย เวน้ ระยะ 2 - 3 เดือนจงึ คอ่ ยปลกู ใหม่ • ก�ำจัดพืชอาศัยท้ังในและนอกแปลงปลูก เช่น พืชตระกูลถั่วและวชั พชื ตา่ งๆ • พ่นสารก�ำจัดแมลงเม่ือพบแมลงหว่ีขาวระบาดมาก เช่นอมิ ดิ าโคลพรดิ 5% EC อตั รา 20 มลิ ลลิ ติ รตอ่ นำ้� 20 ลติ ร หรอื ไตรอะโซฟอส 40% ECอัตรา 40 มลิ ลลิ ิตรต่อนำ้� 20 ลติ ร หรือคาร์โบซลั แฟน 20% EC อัตรา 60 มิลลลิ ิตรตอ่ น้�ำ 20 ลติ ร โดยพน่ 2 - 3 ครัง้ ห่างกัน 7 - 10 วนั การปลูกถว่ั เขยี วในฤดแู ลง้ 23

2.5 อาการทีเ่ กิดจากการขาดธาตเุ หล็ก ลักษณะอาการ ส่วนใหญ่พบในดินดา่ งสีดำ� ชดุ ตาคลี อาการที่พบคือใบยอดท่ีแตกออกมาใหม่มีสีเหลืองซีดแต่เส้นกลางใบยังคงมีสีเขียว ถ้าขาดรุนแรงใบเปลย่ี นเปน็ สเี หลอื งซดี จนเกอื บขาว ตน้ แคระแกรน็ ผลผลติ ลดลงหรอื ไมไ่ ดผ้ ลผลติ การป้องกนั กำ� จดั • ใช้พันธุ์ทนทาน ไดแ้ ก่ พันธช์ุ ยั นาท 84 - 1 ชัยนาท 72 และชัยนาท 36 • พ่นเหล็กซัลเฟต ความเข้มข้น 0.5% อัตรา 3 กิโลกรัมต่อไร่เมอื่ ตน้ ถว่ั เขยี วอายุ 20, 30 และ 40 วนั หลังงอกตารางท่ี 2 สารป้องกนั กำ� จัดโรคถว่ั เขียว โรค สารปอ้ งกนั อตั ราการใช้/นำ�้ วิธีการใช้/ หยุดการใช้ กำ� จดั โรค 20 ลติ ร ขอ้ ควรระวัง สารก่อน 15-20 กรัม เก็บเกีย่ ว (วัน)ราแป้ง เบโนมลิ (50% DS) 5 กรมั /เมล็ดพันธ์ุ พน่ เมอ่ื ถว่ั เขยี วอายุ30วนั 14 1 กโิ ลกรัม และพน่ ซำ�้ อกี ทกุ 10 วนัรากเน่า เมทาแลกซิล 15-20 กรัม รวม 3 ครง้ัโคนเน่า (35% DS) 15-20 กรัมใบจุด เบโนมลิ 20 มิลลลิ ิตร คลกุ เมลด็ พันธ์กุ ่อนปลูก -สนี ำ้� ตาล (50% WP) 40 มลิ ลิลิตร 60 มลิ ลลิ ติ ร พน่ ถว่ั เขยี วเมอ่ื อายุ30วนั 14 ไทโอฟาเนตเมทลิ และพ่นซ้�ำอีก 1-2 ครั้ง - (70% WP) ทกุ ๆ 7-10 วนั ขน้ึ อยู่กับไ ว รั ส ใ บ อิมิดาโคลพริด ความรนุ แรงของโรคดา่ งเหลือง (5% EC) พน่ 2 - 3 ครั้ง ปอ้ งกนั ไตรอะโซฟอส แมลงปากดดู พาหะนำ� โรค (40% EC) หา่ งกัน 7 - 10 วนั คารโ์ บซัลแฟน (20% EC)1/ ในวงเล็บคือ เปอร์เซ็นต์ของสารออกฤทธ์ิและรูปแบบของสารป้องกันและกำ� จดั โรคพชื24 กรมสง่ เสริมการเกษตร

























เอกสารคำ� แนะน�ำที่ 6/2560การปลกู ถว่ั เขยี วในฤดแู ล้งทปี่ รึกษา อธิบดกี รมส่งเสรมิ การเกษตร www.doae.go.th รองอธิบดีกรมสง่ เสริมการเกษตรนายสมชาย ชาญณรงค์กลุ รองอธบิ ดีกรมส่งเสริมการเกษตรนายส�ำราญ สาราบรรณ์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั สง่ เสริมและจัดการสนิ คา้ เกษตรนายรตั นะ สวามชี ัย ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั พัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยีนางวลิ าวลั ย์ วงษ์เกษม ผู้อ�ำนวยการกล่มุ ส่งเสรมิ พชื น�้ำมนั และพชื ตระกลู ถว่ันางอญั ชลี สุวจติ ตานนท์ นางศรสี ุดา เตชะสาน เรียบเรยี งนางสกุ ญั ญา ตู้แกว้ นกั วชิ าการเกษตรชำ� นาญการกลุ่มสง่ เสรมิ พืชนำ�้ มันและพืชตระกลู ถว่ัสำ� นักสง่ เสริมและจดั การสนิ ค้าเกษตรกรมสง่ เสริมการเกษตรจัดทำ�นางอมรทิพย์ ภิรมย์บรู ณ์ ผอู้ �ำนวยการกลุม่ พฒั นาส่ือสง่ เสริมการเกษตรนางสาวอ�ำไพพงษ์ เกาะเทยี น นกั วชิ าการเผยแพรช่ �ำนาญการกลุ่มพัฒนาสื่อสง่ เสรมิ การเกษตรส�ำนกั พฒั นาการถา่ ยทอดเทคโนโลยีกรมสง่ เสรมิ การเกษตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook