เอกสารค�ำแนะน�ำที่ 1/2560ไร่นาสวนผสมพิมพค์ ร้ังท่ี 3 : (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2543) จำ� นวน 5,000 เล่ม กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2560จดั พมิ พ ์ : กรมสง่ เสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิมพ์ที่ : บริษทั นิวธรรมดาการพมิ พ์ (ประเทศไทย) จ�ำกดั
คำ� นำ� เอกสารคำ� แนะนำ� ความรทู้ างการเกษตร เรอื่ ง ไรน่ าสวนผสมจัดท�ำขึ้นมีวัตถุประสงค์เพ่ือสนับสนุนส่งเสริมการท�ำไร่นาสวนผสมและเป็นแนวทางในการขยายผลแนวความคิดไปสู่ภาคปฏิบัติในไร่นาของเกษตรกร ดังนั้น เน้ือหาในเอกสารค�ำแนะน�ำเล่มน้ีจึงประกอบด้วยวัตถุประสงค์ของการท�ำไร่นาสวนผสม ปัจจัยในการพจิ ารณารปู แบบการทำ� ไรน่ าสวนผสม การปรบั เปล่ยี นสภาพพื้นท่ีนามาเป็นไร่นาสวนผสมในสภาพพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พ้ืนท่ีลุ่มพื้นที่ดอน ตัวอย่างของเกษตรกรที่ท�ำไร่นาสวนผสมประสบความส�ำเร็จ ทั้งน้ีเพื่อเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการประกอบการตัดสินใจของเกษตรกรในการทำ� ไร่นาสวนผสมใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้นึ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร หวงั เปน็ อย่างย่งิ วา่ เอกสารเล่มน้ีคงเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย หากได้น�ำไปศึกษาและปฏิบัติให้บังเกิดผลในไร่นา นอกจากนี้หากมีปัญหาและข้อเสนอแนะประการใดสามารถขอค�ำแนะน�ำได้ท่ีศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอส�ำนักงานเกษตรจังหวัดทุกจังหวัด และกรมส่งเสริมการเกษตรถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900โทรศัพท์ 0 2940 6055 กรมส่งเสรมิ การเกษตร 2560
ด้านแหลง่ นำ้� 1. ควรมีสระน้ำ� คูคลอง ร่องน้ำ� หรือแหล่งน้�ำ ระดับไร่นาเสริมในฤดูแล้ง ประมาณ 30% ของพื้นที่ โดยประมาณการ ไว้ว่าพื้นท่ีการเกษตร 1 ไร่ มีความ ต้องการน้�ำ 1,000 ลูกบาศก์เมตร เช่น พื้นท่ีการเกษตร 10 ไร่ ควรมีแหล่งน้�ำ ซึ่งสามารถมีความจุของน้ําประมาณ 10,000 ลกู บาศกเ์ มตร 2. บอ่ นำ้� บาดาล เพ่ือใช้ในฤดแู ล้งโดยเฉพาะพชื ไร่ พชื ผัก ไมด้ อกไมป้ ระดับ 3. บ่อปลาเป็นแหล่งอาหารโปรตีนและเพิ่มรายได้ ในฤดูแล้งสามารถ อาศยั นำ้� ในบ่อใช้กับพืชบรเิ วณขอบบ่อปลา พืชผกั สวนครัว เป็นตน้ 4. อาศัยน้�ำชลประทาน การสบู น�ำ้ ดว้ ยพลงั งานไฟฟา้ เปน็ ต้น10 กรมส่งเสริมการเกษตร
ด้านการผลติ 1. ในการผลิตทางการเกษตรควรพิจารณากิจกรรมการเกษตร (พืช สัตว์ประมง) ในเชงิ กจิ กรรม n กิจกรรมท่ีท�ำรายได้ (ด้านเศรษฐกิจ) เช่น ไม้ผล พืชผักเศรษฐกิจไม้ดอกไมป้ ระดับ พชื ไร่ สัตว์และประมง n กิจกรรมด้านอาหาร เช่น ข้าว พืชไร่ พืชผักสวนครัว พืชผักสมุนไพรไม้ผลบางชนิด (มะพร้าว กล้วย มะละกอ ไผ่ตง) การเล้ียงปลา และการลยี้ งสตั ว์ปกี เปน็ ต้น n กิจกรรมดา้ นใช้สอย เช่น ไผร่ วก ไผส่ สี กุ สะเดาเทียม กระถนิ เทพา ยคู าลิปตัส สกั เปน็ ต้น n กิจกรรมด้านอื่น ๆ ตามความเหมาะสมของแต่ละฟาร์ม แต่ละพ้ืนท่ี 2. กรณีปลูกไม้ผลในชว่ งระยะ 1 – 3 ปแี รก ยงั ไมใ่ ห้ผลผลติ และรายได้เกษตรกรควรปลูกพืชแซมระหว่างแถวในสวนไม้ผล เช่น พืชผัก พืชไร่ ไม้ดอกไม้ประดบั หรอื ไม้ผลบางชนิด เช่น มะละกอ กลว้ ย เปน็ ต้น 3. กรณีแปลงไม้ผลพื้นที่ลุ่มจะต้องจัดท�ำคันดินล้อมรอบแปลงไม้ผลพ้ืนท่ีบริเวณดังกล่าวสามารถปลูกมะพร้าวอ่อน กล้วย มะละกอ ไผ่ตง พืชผักไมด้ อกไม้ประดบั เป็นต้น 4. การปลูกไม้ผลบางคร้ังสามารถปลูกแบบผสมผสานกันได้ในแปลงเดียวกัน เช่น มะม่วงกับขนุน กระท้อนกับส้มโอ หรือพืชผัก เช่น มะเขือ พริกแตงกวา ถว่ั ฝักยาว เป็นต้น ไรน่ าสวนผสม 11
5. เกษตรกรควรมีพ้ืนท่ีส่วนหนึ่งส�ำหรับปรับเปล่ียนหรือหมุนเวียนเพ่ือ ท�ำรายได้ ซ่ึงเราอาจจะเรียกได้ว่าพื้นท่ีท�ำเงิน หรือพื้นท่ีฉกฉวยโอกาส ในการ ปลูกพืชผักเศรษฐกิจระดับท้องถ่ิน และระดับประเทศ การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ กจิ กรรมปลกู พืชไร่ กจิ กรรมเหลา่ นี้ควรเปน็ กิจกรรมอายุส้นั ให้ผลตอบแทนสงู 6. ในระบบการผลิตทางเกษตรที่เกิดขึ้นจริงในไร่นาของเกษตรกร เกษตรกรจะมีพื้นท่ีผลิตข้าวไว้บริโภคและจ�ำหน่ายบางส่วนถึงแม้ว่าจะมีกิจกรรม อื่น ๆ ก็ตาม นอกจากน้ี กิจกรรมหนึ่งท่ีควรได้รับการพิจารณา คือเล้ียงปลาในนาข้าว จุดประสงค์เพื่อเสริมรายได้และมีแหล่งอาหารโปรตีนไว้บริโภค สภาพพ้ืนที่ ทจ่ี ะทำ� การผลิตควรควบคุมระดับนำ้� ไดแ้ ละอยู่ใกล้บ้าน 7. บ่อปลาท่ีจะประกอบเป็นกิจกรรมหน่ึงในไร่นาสวนผสมควรอยู่ใกล้บ้าน การคมนาคมสะดวกสามารถจัดการเรื่องน�้ำได้ ลักษณะดินควรเป็นดินเหนียว หรือ ดนิ เหนยี วปนทราย และสามารถเก็บกักน�้ำไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 6 – 8 เดือน 8. กิจกรรมด้านการผลิตพืชผักและไม้ดอกไม้ประดับ ตลอดจนการ เล้ียงสัตว์และประมงกิจกรรมเหล่าน้ีค่อนข้างจะอาศัยแรงงานมาก และการดูแล เป็นพิเศษจะท�ำการผลิตมากไม่ได้ เน่ืองจากข้อจ�ำกัดด้านแรงงาน การเน่าเสีย การตลาด การเจริญเติบโตถึงขีดจ�ำกัดแต่ยังคงต้องมีค่าใช้จ่ายในการผลิต เช่น ค่าอาหาร ค่ายาเคมแี ละค่าจา้ งแรงงาน เปน็ ตน้ ดงั นน้ั ควรมกี ารวางแผนการผลิต และการตลาดเปน็ อยา่ งดีโดยท�ำการผลิตเป็นร่นุ ๆ12 กรมส่งเสริมการเกษตร
ด้านเงินทุน 1. งบประมาณการลงทุนในการท�ำไร่นาสวนผสมในระยะแรกจะมีค่าลงทุนค่อนข้างสูง เช่น การปรับสภาพพ้ืนท่ีปลูกพืช การขุดบ่อปลาเพื่อสร้างแหล่งน�้ำ การสร้างโรงเรือนและอุปกรณ์การเกษตร ตลอดจนค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนในระยะแรก ๆ ของการผลิตกิจกรรม (ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นก่อนกิจกรรมจะเริ่มให้ผลผลิต) ดังนน้ั ควรพจิ ารณากิจกรรมเสริมให้ผลเรว็ ในชว่ งแรก ๆ เพอ่ื ท่ีจะนำ� รายไดม้ าเพอื่ การดำ� รงชพี และดำ� เนนิ การผลิต 2. งบประมาณค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการผลิตไร่นาสวนผสม ต้องพิจารณาถึงชนิดและจ�ำนวนกิจกรรมเพื่อให้สอดคล้องกับงบประมาณเงินทุนที่มีอยู่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายด้านพันธุ์พืชและสัตว์ ค่าปุ๋ยเคมี อาหารสัตว์ค่าสารเคมี ค่าแรงงานจ้างและอื่น ๆ ซึ่งจะต้องหมุนเวียนเกิดข้ึนในฟาร์มอยู่ตลอดเวลาในชว่ งการผลติ นน้ั ๆ ไรน่ าสวนผสม 13
3. ในกรณีท่ีเกษตรกรกู้ยืมเงินจากแหล่งสถาบันการเงินควรตระหนัก ถึงการวางแผนการใช้จ่ายเงินและผลตอบแทนในลักษณะกระแสเงินสดของฟาร์ม (รายไดร้ ายจา่ ยในแต่ละเดอื นหรอื แต่ละป)ี n พิจารณารายจ่ายท่ีเกิดขึ้นในแต่ละช่วงและเวลาชนิดกิจกรรม ในด้านงบเงินค่าลงทนุ และเงนิ ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนนิ การผลิต n พจิ ารณาผลตอบแทน (รายได)้ จากกจิ กรรมแตล่ ะชนดิ และแต่ละ ชว่ งเวลาใหเ้ กดิ รายไดส้ งู กวา่ รายจ่ายและเพยี งพอตอ่ การดำ� รงชีพและการผลิต n การช�ำระเงินคืนแก่สถาบันการเงินว่า ควรจะเป็นเงินต้นและ ดอกเบ้ียเท่าไหร่นั้น ควรพิจารณาเงินทุนที่เกษตรกรจะต้องใช้จริงในชีวิตประจ�ำวัน เช่น 2 เงินทนุ ส�ำหรบั เพื่อการดำ� รงชีพในครวั เรอื นทัง้ ด้านอปุ โภค และบริโภค 2 เงินทุนส�ำหรับค่าใช้จ่ายทั่วไป เช่น ด้านสังคม ด้านการศึกษา ด้านศาสนา ด้านบันเทงิ 2 เงินทนุ สำ� หรบั ด้านการลงทนุ ในการผลิตกิจกรรมต่อไป 2 เงนิ ทุนส�ำหรับด้านประกันสงั คมการด�ำรงชีพ กล่าวคอื ความเส่ียงท้งั ด้านการดำ� รงชพี และดา้ นการผลิต 2 เงินทนุ สำ� รอง หรอื เกบ็ ออมเพอื่ อนาคต 2 อน่ื ๆ14 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
ดา้ นรายได้ การพิจารณาผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมในแง่ของผลตอบแทนทั้งด้านปริมาณและระยะเวลาตอบแทนความมั่นคงของผลตอบแทน ขนาดของกิจกรรม การเคลื่อนไหวของราคา ปริมาณการผลิตและคุณภาพของผลผลิตเปน็ ตน้ อย่างไรก็ตามจะต้องพจิ ารณาในประเด็นเหลา่ น้ีดว้ ย 1. ควรพิจารณาจากกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดมีรายได้หลายทางจากพืช สัตว์และประมง ในลกั ษณะรายได้รายวนั รายสปั ดาห์ รายเดือน และรายปี เปน็ ต้น 2. พิจารณาว่ากิจกรรมใดควรเป็นรายได้หลัก รายได้รอง และรายได้เสริมจากกิจกรรมท่ตี ้องการผลิตภายในฟาร์ม 3. กิจกรรมทใ่ี หผ้ ลตอบแทน (รายได้) ในระยะยาวในช่วงแรกยงั ไมม่ ผี ลผลติหรอื รายได้ ควรจะมกี ิจกรรมเสริมในระยะแรกเพอ่ื ให้เกิดรายไดใ้ นช่วงแรก ๆ 4. ควรพจิ ารณารายไดท้ เี่ กดิ ขน้ึ จากการปลกู พชื หมนุ เวยี นและกจิ กรรมทีจ่ ดั สรรโดยการทยอยปลูกพชื หรอื เลี้ยงสตั วเ์ ปน็ รุ่น ๆ 5. ควรพจิ ารณาถงึ ความเสย่ี งของกจิ กรรมทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ รายได้ โดยจะตอ้ งเสีย่ งกับภาวะความแปรปรวนของราคาผลผลิต การตลาดและภัยธรรมชาติ 6. พิจารณาด้านรายได้ของกิจกรรมที่ให้ผลตอบแทนเร็วในช่วงส้ัน ๆของการผลิตและให้รายได้สูง หรือพิจารณาด้านรายได้ระยะยาวท่ีมั่นคงหรือรายได้ท่ีไม่มีความแปรปรวนมากนักเช่น การเลี้ยงปลา ทั้งนี้ควรผสมผสานกนั และดคู วามตอ้ งการของเกษตรกรเปน็ หลกัด้วยในการพจิ ารณา ไร่นาสวนผสม 15
ด้านเกษตรกร 1. เกษตรกรควรเป็นคนขยันขันแข็ง กระตือรือร้น และมีความคิด สร้างสรรค์ ยอมรับในการเปล่ียนแปลงใหม่ ๆ มีแนวความคิดเชิงธุรกิจติดตาม ความเคลอื่ นไหว ดา้ นราคา ชนดิ ผลิตผลการเกษตรและการตลาดอยตู่ ลอดเวลา 2. มีแรงงานครอบครัวส�ำหรับท�ำการเกษตรอย่างน้อย 3 คน ต่อพ้ืนที่ ไร่นาสวนผสม 10 ไร่ 3. เกษตรกรควรมีความรู้ความสามารถ และทักษะในการวางแผน และการจัดการด้านทรัพยากรด้านแรงงาน ด้านเวลา และกิจกรรมการผลิต ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เปน็ ต้น16 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
การปรบั เปลย่ี นสภาพพ้นื ทีน่ ามาเปน็ ไรน่ าสวนผสม (สภาพพน้ื ทลี่ ่มุ ) เหตผุ ล 1. สภาพพื้นทไ่ี มเ่ หมาะสมต่อการท�ำนาปีและนาปรงั 2. ปรมิ าณน้ำ� ไม่เพยี งพอตอ่ การทำ� นาปรัง 3. รายไดห้ ลักจากอาชพี ทำ� นาหรอื กจิ กรรมอย่างเดยี วไม่เพียงพอ 4. การผลิตกิจกรรมการเกษตรเพียงชนิดเดียวอาจจะมีความเส่ียงจากราคาผลผลิตและภยั ธรรมชาติ 5. รายได้จากการท�ำไร่นาสวนผสมดีกว่าการท�ำนา และสามารถมีรายได้ตอ่ เนอ่ื งในลกั ษณะรายวนั รายสัปดาห์ รายเดอื น และรายปี จากกจิ กรรมหลากหลาย 6. มีการใช้ทรัพยากรหมุนเวียนและเกื้อกูลกันในระดับไร่นาเพ่ือให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสงู สดุ 7. เป็นแหลง่ อาหารและใช้สอยในครวั เรือน 8. เป็นการสร้างระบบนิเวศเกษตรภายในฟาร์มและชุมชนเพ่ือให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ ไร่นาสวนผสม 17
ขอ้ ควรพจิ ารณา 1. เกษตรกรมีพน้ื ท่เี ปน็ ของตนเอง 2. มแี หล่งน้�ำเพียงพอตอ่ การเกษตรตลอดปี 3. แรงงานครัวเรือนอยา่ งนอ้ ย 3 คน 4. แบง่ พืน้ ที่เพือ่ การทำ� ไร่นาสวนผสมในระยะแรกประมาณ 5 - 10 ไร่ 5. หากสภาพพ้ืนท่ีลุ่มซึ่งมีระดับน�้ำใต้ดินสูงหรือสภาพพื้นท่ีมีน้�ำขัง จ�ำเป็นต้องยกร่องและท�ำคันล้อม ในกรณีท�ำไร่นาสวนผสมที่มีไม้ผลและการปลูก พชื แซมในไม้ผล 6. เกษตรกรเป็นคนขยันขันแข็งและมีความสนใจในกิจกรรมของไร่นา สวนผสม 7. ปลกู พชื แซมในไม้ผลและพื้นทีข่ อบบ่อปลาให้เกิดประโยชน์ 8. พื้นที่บ่อปลาและโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ควรอยู่ใกล้บ้านและสะดวกต่อ การถ่ายเทน�ำ้ และของเสยี 9. พื้นที่บ่อปลาควรเก็บกักน�้ำได้ประมาณ 6 - 8 เดือน ลักษณะดิน ควรเปน็ ดนิ เหนยี วหรือดนิ เหนียวปนทราย 10. ค่าใช้จ่ายในการลงทุนยกร่อง ขุดบ่อปลาและโรงเรือน โดยเฉลี่ย สามารถใชไ้ ด้ 3 - 5 ปี จงึ จะซอ่ มแซม หรือปรับปรุงใหม่ 11. รายละเอียดให้พิจารณาจากทางเลือกของพืช สัตว์และประมง แตล่ ะชนิดเพอื่ ประกอบการเลือกกิจกรรม เพอ่ื ท�ำการผลิตแบบไรน่ าสวนผสม 12. ชนิดของกิจกรรมในรูปแบบไร่นาสวนผสมสามารถปรับเปลี่ยนตาม ความเหมาะสมของพน้ื ที่ ความต้องการของตลาดและความพร้อมของเกษตรกร ในกรณีสภาพพื้นที่นาน้�ำลึก อาจจะท�ำนาบัว นาผักบุ้ง นาผักกระเฉด บ่อปลา เป็นต้น พ้ืนที่ขอบบ่อสามารถปลูกมะละกอ กล้วย มะพร้าวน้�ำหอม พืชผักสวนครัว ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสมุนไพร เป็นต้น นอกจากน้ียังสามารถ สรา้ งโรงเรอื นเลีย้ งไก่และสกุ รบนพน้ื ทขี่ อบบ่อปลาได้18 กรมสง่ เสริมการเกษตร
รูปแบบจำ�ลอง ไร่นาสวนผสมสภาพพน้ื ทีร่ าบและลุ่ม : ลกั ษณะดินเหนยี ว ดินเหนยี วปนทราย : อาศัยนำ�้ ชลประทาน และบอ่ บาดาลระดับน�้ำตื้น : แรงงานครัวเรือนอยา่ งน้อย 3 คน : พนื้ ทขี่ นาด 10 ไร่ ไร่นาสวนผสม 19
ท่ี ชนิดกจิ กรรม จำ�นวน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ระยะเวลาดำ�เนินการ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. หมายเหตุ พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค.16 ขา่17 ผักกางม้งุ 6 กอ18 ไม้พยงุ19 ไม้ยางนา 1 หลัง20 ไมม้ ะคา่ โมง21 ไม้แดง 100 ต้น22 สะเดา23 ขเ้ี หลก็ 100 ตน้24 ยางพารา25 เลี้ยงกบ 100 ตน้26 เลี้ยงหมูป่า27 เล้ยี งหมบู ้าน 100 ตน้28 เล้ียงไก่29 เลี้ยงเปด็ (ไข)่ 100 ตน้30 เลย้ี งปลานลิ 500 ตน้ 30 ต้น 5,000 ตวั 60 ตวั 4 ตัว 40 ตัว 40 ตัว 1,000 ตวั ไรน่ าสวนผสม 25
การเงินและบญั ชี ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557ที่ ชนิดกจิ กรรม จำ�นวน ลงทนุ รายได้ ลงทนุ รายได้ ลงทนุ รายได้ หมายเหตุ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)1 ทำ� นาข้าวหอม มะลิ 48 ไร่ 80,000 320,000 70,000 340,000 72,000 450,0002 ปลูกถ่วั พร้า 42 ไร่ ได้รบั - - - - - เปน็ ป๋ยุ พืชสด สนับสนนุ3 ปอเทือง 42 ไร่ ได้รบั - - - - - เป็นปุ๋ยพืชสด4 กลว้ ยน�ำ้ วา้ สนบั สนุน5 ไผ่หม่าจู 60 ตน้ เพาะเอง 4,000 - 5,000 - 6,0006 ไผ่ตงลมื แลง้ 4 กอ ได้รบั - - - - - ใชท้ �ำอาหาร7 มะนาวในวงบอ่ สนบั สนุน ซีเมนต์ 40 กอ ไดร้ บั - - - - - ยังไม่เกบ็8 ผกั หวานป่า สนบั สนนุ ผลผลิต9 ชะอม 60 ต้น 3,000 4,000 - 4,000 - 3,00010 หมอ่ น 40 ตน้ - - ได้รับ - - - ยงั ไม่เก็บ สนับสนุน ผลผลติ11 แคแดง 20 ต้น - - ไดร้ ับ - - - ใชท้ �ำอาหาร12 มะเขอื พวง สนับสนุน13 อ้อย 60 ต้น - - ไดร้ ับ - - - ทำ� ทอ่ นพันธ์ุ14 ตะไคร้ สนับสนุน15 ตะไครห้ อม 20 ตน้ - - ได้รับ - - 3,000 ขายเมล็ด สนบั สนนุ16 ขา่ 20 ตน้ เพาะเอง 2,000 - 2,000 - 500 20 ต้น ได้รับ - - - - - ใชผ้ ลติ น�ำ้ หมกั สนบั สนุน ชวี ภาพ 100 กอ - - ได้รับ - - - ใช้ทำ� อาหาร สนับสนุน 100 กอ ไดร้ บั - - - - - ใช้ผลติ สนบั สนนุ สารไลแ่ มลง 6 กอ - - ไดร้ ับ - - - ใช้ท�ำอาหาร สนับสนนุ26 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ลงทุน รายได้ที่ ชนิดกจิ กรรม จำ�นวน ลงทนุ รายได้ ลงทุน รายได้ (บาท) (บาท) หมายเหตุ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)17 ผกั กางมุ้ง 1 หลงั 2,000 5,000 ยังไม่จ�ำหน่าย18 ไม้พยุง 100 ตน้ - - 2,000 10,000 --19 ไม้ยางนา 100 ต้น - - ไดร้ บั - -- สนับสนนุ20 ไมม้ ะคา่ โมง 100 ต้น -- - - ได้รบั -21 ไมแ้ ดง 100 ตน้ สนับสนนุ --22 สะเดา 100 ตน้ - - ได้รับ - -- สนบั สนุน23 ข้ีเหลก็ 500 ต้น -- - - ไดร้ ับ -24 ยางพารา 30 ต้น สนับสนนุ --25 เลีย้ งกบ 5,000 ตวั - - ได้รับ - 5,000 20,00026 เลี้ยงหมูป่า 60 ตัว สนบั สนนุ 40,000 100,00027 เลี้ยงหมบู า้ น 4 ตัว - - ไดร้ ับ - --28 เล้ยี งไก่ 40 ตวั สนับสนนุ29 เลย้ี งเป็ด (ไข่) 40 ตัว 2,000 3,00030 เลี้ยงปลานิล 1,000 ตวั - - ได้รับ - 2,000 5,000 สนับสนุน 2,000 10,000 5,000 20,000 5,000 20,000 40,000 100,000 40,000 100,000 - - ได้รับ - สนบั สนนุ 2,000 5,000 2,000 5,000 2,000 5,000 2,000 5,000 - - ได้รับ - สนบั สนุน ไรน่ าสวนผสม 27
บรรณานุกรม กรมส่งเสริมการเกษตร. 2547. รูปแบบไร่นาสวนผสมดีเด่นระดับจังหวัด. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจ�ำกัด 79 ถนนงามวงศ์วาน ลาดยาว จตจุ กั ร กทม. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2543. ไร่นาสวนผสม. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทยจ�ำกัด 79 ถนนงามวงศ์วาน ลาดยาว จตจุ กั ร กทม.28 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
เอกสารคำ�แนะนำ�ท่ี 1/2560ไรน่ าสวนผสมทปี่ รึกษา อธิบดีกรมส่งเสรมิ การเกษตร www.doae.go.th รองอธบิ ดกี รมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายบรหิ ารนายสมชาย ชาญณรงค์กลุ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการนายสงกรานต์ ภักดคี ง รองอธิบดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝา่ ยส่งเสรมิ และฝึกอบรมนายประสงค์ ประไพตระกูล ผ้อู �ำนวยการส�ำนักพฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยีนายสดุ สาคร ภัทรกลุ นษิ ฐ์ ผอู้ �ำนวยการกองวจิ ยั และพัฒนางานสง่ เสรมิ การเกษตรนางอญั ชลี สุวจติ ตานนท ์นางจิระนุช ชาญณรงคก์ ุล เรียบเรียง ผู้อ�ำนวยการกล่มุ จัดการฟาร์มและเกษตรกรรมยงั่ ยืนนางคนึงนิตย์ ทองล่มิ นางสาวอรวรรณ คงอภิรกั ษ์ นกั วิชาการสง่ เสริมการเกษตรช�ำนาญการพิเศษนางสาวพิมประภา สินคำ้� คณู นักวิชาการสง่ เสริมการเกษตรช�ำนาญการนางสาวเสาวณติ เทพมงคล นกั วชิ าการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการนางสาวพรี ชา มณีชาต ิ นักวิชาการส่งเสรมิ การเกษตรปฏิบัตกิ ารนางสาวรตั นาภรณ์ นพพูน นกั วิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏบิ ตั กิ ารนางสาวอารยี ว์ รรณ เหลอื งทอง นกั วิชาการส่งเสรมิ การเกษตรกลุม่ จัดการฟาร์มและเกษตรกรรมย่ังยืนกองวจิ ัยและพัฒนางานส่งเสรมิ การเกษตรกรมส่งเสรมิ การเกษตรจดั ทำ� ผ้อู ำ� นวยการกลุม่ พฒั นาสอ่ื สง่ เสริมการเกษตรนางอมรทิพย์ ภริ มย์บูรณ ์นางสาวอ�ำไพพงษ์ เกาะเทยี น นักวชิ าการเผยแพร่ชำ� นาญการกลุ่มพฒั นาส่อื สง่ เสรมิ การเกษตรสำ� นักพฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยีกรมสง่ เสรมิ การเกษตร
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: