50 ปี กรมส่งเสรมิ การเกษตร (พ.ศ. 2510 - 2560) ความหมายของตราสัญลกั ษณ์ l ตัวเลข 50 พร้อมข้อความ “50 ปี กรมสง่ เสรมิ การเกษตร” และ ตราสัญลกั ษณก์ รมส่งเสรมิ การเกษตร แทนวาระครบรอบ 50 ปี สถาปนากรมสง่ เสรมิ การเกษตร ออกแบบให้ตวั เลข 50 เก่ยี วพันกนั เหมอื นสญั ลักษณ์ infinity ซึ่งหมายถงึ ความไมม่ ที ส่ี ิน้ สดุ l ใบไม้ แสดงถึงสญั ลักษณ์ทางการเกษตร มาจากตราสญั ลักษณป์ ระยกุ ต์ ของกรมสง่ เสริมการเกษตร ความหมายเป็น 50 ปีท่ีมุ่งม่ันปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรมาอย่างต่อเนื่อง ดว้ ยความสามคั คีและเป็นน�้ำหนง่ึ ใจเดยี วกนั เปน็ ผสู้ ง่ เสริมนำ� ความสำ� เร็จ ความกา้ วหนา้ มาสู่กิจการเกษตรกรรมด้านต่างๆ และมีการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรเพ่ือประโยชน์ แก่เกษตรกรตลอดไป
เอกสารค�ำแนะน�ำที่ 2/2561ระบบการให้นำ�้ พชืพิมพค์ รัง้ ท่ี 1 : จำ� นวน 5,000 เล่ม เมษายน พ.ศ. 2561จัดพิมพ ์ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิมพ์ท ี่ : บริษัท นวิ ธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
คำ�นำ� ระบบการให้น�้ำพืช เป็นวิวัฒนาการทาง เทคโนโลยวี ศิ วกรรมเกษตรประเภทหนงึ่ ทม่ี กี ารพฒั นาขน้ึ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่เกษตรกร ทั้งในด้านการลดภาระ ในการใช้แรงงานรดน้�ำพืช การลดความเส่ียงจากความเสียหายของพืช อันเน่ืองมาจากการขาดน้�ำ ปัจจุบันการให้น้�ำโดยระบบการให้น�้ำพืช มไิ ดเ้ ปน็ เพยี งแตก่ ารลดภาระหรอื ลดความเสย่ี งเทา่ นนั้ แตย่ งั เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การทำ� งานได้ โดยการคำ� นวณการใหน้ ำ�้ แกพ่ ชื ไดอ้ ยา่ งเพยี งพอเทา่ ทพ่ี ชื ตอ้ งการ สำ� หรบั ในประเทศไทย เกษตรกรนยิ มใชร้ ะบบใหน้ ำ้� พชื เพอ่ื ลดภาระงานและลดความเสี่ยงจากภัยแล้งกันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสวนผลไม้สวนผัก และพืชไร่ นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ระบบการให้น�้ำพืชจ�ำหน่ายโดยท่ัวไปทง้ั ทม่ี คี ณุ ภาพสงู และคณุ ภาพตำ�่ มที ง้ั ทผี่ ลติ ในประเทศและตา่ งประเทศ ซง่ึ เกษตรกรหรือแม้แต่นักวิชาการด้านการเกษตรส่วนมากยังมีความรู้ในด้านนี้อย่างแท้จริงไม่มากนัก กรมส่งเสริมการเกษตร จึงได้จัดท�ำเอกสารค�ำแนะน�ำเร่ือง “ระบบการให้น้�ำพืช” เพ่ือเป็นการเผยแพร่ความรู้เร่ืองระบบการให้น้�ำพืช โดยจะเน้นถึงการเลอื กใช้ระบบใหน้ ำ้� พชื ให้ถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับความต้องการน�้ำของพชื กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 2561
สารบัญ 15 8 21ระบบการใหน้ ้ำ� พืช 1 การเลือกระบบการให้น�ำ้ 21 ทเ่ี หมาะสมกบั ชนิดของพชื การให้นำ้� แบบฉีดฝอย 5 พชื ไร ่ 21(Sprinkler Irrigation) 6 ● ระบบน้�ำหยด 21● สปริงเกลอร์ (Sprinkler) ● ระบบสปริงเกลอร์ 23การให้น้ำ� แบบเฉพาะจุด 8 พชื ผัก 24(Loaclize Irrigation) ● ระบบนำ้� หยด 24● มนิ สิ ปริงเกลอร์ (Mini Sprinkler) 9 ● ระบบมนิ ิสปริงเกลอร์ 24● ไมโครสเปรย์ และเจ็ท 11 ไม้ผล 25 (Micro Spray & Jet) ● ระบบมินิสปริงเกลอร์ 25● น�้ำหยด (Drip) 14 ● ระบบไมโครสเปรย์และเจท็ 27
ระบบการใหน้ �ำ้ พืช พืชทุกชนิดมีความต้องการน�้ำ โดยน�้ำเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งของขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชเป็นตัวละลายธาตุอาหารในดินเพื่อให้รากดูดข้ึนไปสร้างการเจริญเติบโต และคายน�้ำเพื่อระบายความร้อน นอกจากนี้ ยังเป็นตัวท่ีส�ำคัญในการก�ำหนดปริมาณและผลผลิตของพืชด้วย ซึ่งพืชแต่ละชนิดมีความต้องการน�้ำต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิด พันธุ์ และอายุของพืชน้ันๆ การให้น้�ำน้อยไปท�ำให้พืชเจริญเติบโตช้า ผลผลิตต�่ำ ฯลฯ แต่ถ้ามากไปก็จะท�ำให้สิ้นเปลืองน้�ำและค่าใช้จ่ายดงั นัน้ จึงจ�ำเปน็ ตอ้ งใหน้ ้�ำอยา่ งเหมาะสมกับความตอ้ งการน�้ำของพชื นน้ั ๆ 1ระบบการใหน้ �้ำพืช
ระบบการให้น้�ำพืชเป็นกลไกที่สามารถจัดการควบคุมปริมาณการให้น้�ำพืช ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม และสะดวก อนั จะเกดิ ผลดี ดงั นี้ 1. พืชเจรญิ เติบโตอยา่ งเต็มท่ี 2. พชื ไม่ชะงักการเจรญิ เตบิ โต 3. เพ่ิมปรมิ าณและคุณภาพผลผลติ 4. กำ�หนดเวลาเกบ็ ผลผลติ ได้ 5. การใชป้ ยุ๋ มีประสทิ ธิภาพสงู ข้ึน 6. สะดวกและประหยัดเวลาการให้น้ำ� 7. ลดความเสีย่ งในอาชีพเกษตรกรรม2 กรมสง่ เสริมการเกษตร
ระบบการให้น้�ำท่ีดีจะต้องสนองความต้องการน�้ำของพืชได้อย่างเพียงพออีกทั้งยังต้องเป็นระบบท่ีเหมาะสมกับปัจจัยอ่ืนๆ ท่ีเป็นความสะดวกของผใู้ ชร้ ะบบด้วย เชน่ ชนิดของแหลง่ น้�ำ ขอ้ จำ� กดั ของเครอ่ื ง สบู น�ำ้ เวลาในการใหน้ ำ�้ เป็นต้น ซึ่งในการเลือกระบบท่ีจะมาใช้กับพืชชนิดต่างๆ ผู้เลือกจะต้องรู้จักและท�ำความเข้าใจกับระบบการให้น้�ำน้ันๆ ก่อน ซึ่งระบบให้น�้ำที่ใช้อยู่ในปัจจุบันแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ ● การใหน้ �้ำแบบฉีดฝอย ● การให้นำ้� แบบเฉพาะจุด 3ระบบการใหน้ ำ�้ พชื
องค์ประกอบของระบบการให้ ้�นำ4 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
การใหน้ ้�ำแบบฉีดฝอย (Sprinkler Irrigation) เป็นการให้น้�ำโดยฉีดน�้ำข้ึนไปบนอากาศเหนือต้นพืชกระจายเป็นฝอยแล้วให้เม็ดน้�ำตกลงมา บนพ้ืนท่ีเพาะปลูก โดยมีเคร่ืองสูบน้�ำเป็นอุปกรณ์ส่งน�้ำผ่านระบบทอ่ ดว้ ยแรงดนั ท่ีสงู เพอื่ ใหน้ �้ำฉดี เป็นฝอยออกทางหัวปลอ่ ยนำ้� หัวปล่อยนำ�้ เปน็ อปุ กรณซ์ ง่ึ ทำ� หนา้ ทร่ี บั นำ้� มาจากทอ่ ยอ่ ย และจา่ ยใหก้ บั ตน้ พชื ตามปรมิ าณทก่ี ำ� หนด หวั จา่ ยนำ้� มีมากมายหลายแบบซงึ่ ผใู้ ช้จะตอ้ งเลอื กใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของพชื สิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะตอ้ งพจิ ารณา คือ ● อตั ราการจา่ ยนำ้� หมายถึง ปรมิ าณน้ำ� ตอ่ หนว่ ยเวลา ● แรงดนั ทีใ่ ชข้ องหัวปล่อยนำ้� ● รปู แบบการกระจายน�้ำ 5ระบบการให้น�้ำพชื
1. สปรงิ เกลอร์ (Sprinkler) เป็นระบบที่ใช้แรงดันตั้งแต่ 20 เมตรข้ึนไป และมีอัตราการไหลของ หัวปล่อยน้�ำต้งั แต่ 250 ลิตรต่อช่วั โมงขึน้ ไป เหมาะสำ� หรับการให้น้�ำในบรเิ วณกวา้ ง ครอบคลุมพ้นื ทีไ่ ดม้ าก เช่น พชื ไร่ และพชื ผกั ระบบสปริงเกลอร์ เหมาะกับสภาพแหล่งน�้ำที่มีปริมาณน้�ำมากเพียงพอ คุณภาพน้�ำปานกลาง การดูแลง่าย ปัญหาการอุดตันน้อย จึงไม่ต้องการระบบ การกรอง แต่ถ้าคุณภาพน้�ำต�่ำและมีส่ิงเจือปนมาก ก็จ�ำเป็นต้องมีระบบการกรอง แรงดันที่ต้องใช้ในระบบค่อนข้างสูงท�ำให้การลงทุนด้านเคร่ืองสูบน้�ำและค่าใช้จ่าย ดา้ นพลังงานสูงท่สี ุด หัวสปริงเกลอร์ ท�ำหน้าท่ีจ่ายน�้ำโดยฉีดน้�ำจากหัวฉีดไปในอากาศ แตกใหก้ ระจายเปน็ เมด็ นำ�้ เลก็ ๆ ตกลงมายงั พนื้ ทเ่ี พาะปลกู การกระจายนำ้� มรี ปู แบบ เป็นวงกลม หรือแบบท่อมีรูเล็กๆ ให้น้�ำฉีดออกมาตลอดความยาวของท่อ ระบบสปริงเกลอร์ต้องการ 2 สิ่งคือ อัตราการไหลของน้�ำและแรงดัน หากแรงดัน ไม่พอระบบจะใช้งานไม่ได้ดี แรงดันเหมือนพลังงานในการผลักดันให้สปริงเกลอร์ ทำ� งาน จึงจะไดอ้ ัตราการไหลของน�ำ้ ออกมาอย่างถูกตอ้ ง แตก่ ่อนทน่ี ำ้� จะไหลมาถงึ บริเวณหัวสปริงเกลอร์จะเสียแรงดันไปในเส้นทางท่ีผ่าน เช่น มิเตอร์วัดน�้ำ ทอ่ วาลว์ กนั นำ้� กลบั ขอ้ ตอ่ และประตนู ำ้� ตา่ งๆ แลว้ จงึ ผา่ นถงึ หวั สปรงิ เกลอร์ และตอ้ ง มีแรงดันเหลือพอให้หัวสปริงเกลอร์ท�ำงานได้ แรงดันมีผลต่อการกระจายของน้�ำ ให้โปรยทั่วพ้ืนที่อย่างสม�่ำเสมอ ส�ำหรับต้นกล้าหรือพืชที่เพ่ิงปลูกควรใช้แรงดัน ที่สูงกว่าก�ำหนดเพื่อให้การแตกตัวของน�้ำเป็นละอองมากข้ึน จะได้ละอองน้�ำ ทลี่ ะเอียด ระบบสปรงิ เกลอร์นิยมใชก้ บั พืชไรแ่ ละพืชผัก6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
หัวปลอ่ ยน้ำ� แบบสปรงิ เกลอร์แสดงการใหน้ ้ำ� แบบสปริงเกลอร์ 7ระบบการให้น้�ำพชื
การใหน้ ำ�้ แบบเฉพาะจุด (Localize Irrigation) เป็นการให้น้�ำบริเวณรากพืชโดยตรง น�้ำจะถูกปล่อยจากหัวปล่อยน�้ำสู่ดิน ใหน้ ำ้� ซมึ ไปในดินบรเิ วณเขตรากพืช ระบบนีเ้ ป็นระบบท่ปี ระหยัดน้ำ� ได้อยา่ งแท้จรงิ เน่ืองจากจะเกิดการสูญเสียน้�ำจากปัจจัยอ่ืนน้อยมากและแรงดันท่ีใช้กับระบบต่�ำ ประมาณ 5 - 20 เมตร ท�ำใหป้ ระหยดั คา่ ใช้จา่ ยในดา้ นตน้ ก�ำลงั สูบน�ำ้ จำ� แนกได้ดังน้ี ● มินิสปรงิ เกลอร์ ● ไมโครสเปรย์และเจท็ ● นำ้� หยด8 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
1. มินสิ ปรงิ เกลอร์ (Mini Sprinkler) เป็นระบบที่ใชแ้ รงดัน 10 - 20 เมตร และมีอัตราการไหลของหวั ปลอ่ ยน้�ำ 20 - 300 ลิตร ต่อชั่วโมง เหมาะส�ำหรับไม้ผลที่มีระยะปลูกตั้งแต่ 5 เมตรข้ึนไปและพชื ผกั หัวมินิสปริงเกลอร์ จะต่อไว้ยังจุดท่ีเลือกบนท่อย่อย วางไว้เหนือผิวดินกระจายน้ำ� ด้วยใบหมุนลงสู่ดนิ ในบริเวณเขตรากพชื รศั มี 3 - 4 เมตร ให้ปรมิ าณน้ำ�ทีละน้อยเพียงพอแก่การเจริญเติบโต เหมาะส�ำหรับพืชท่ีปลูกท้ังระยะชิดและระยะหา่ งใช้ได้ดกี บั พืชผักได้ด้วยหัวปล่อยนำ�้ แบบมินสิ ปริงเกลอร์ 9ระบบการให้น�ำ้ พืช
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: