Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทางรถไฟสายมรณะ

ทางรถไฟสายมรณะ

Published by tam2003.tt, 2020-10-22 08:03:01

Description: ทางรถไฟสายมรณะ

Search

Read the Text Version

ทางรถไฟสายมรณะ หลกั ฐานชนั้ ต้นชนิ ้ ที่1 ทางรถไฟ ทางรถไฟสายมรณะ สายนสี ้ ร้างขนึ ้ ในช่วงสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 โดยใช้แรงงานเชลยศกึ ฝ่ายสมั พนั ธมิตรและ กรรมกรชาวเอเชีย ท่ีกองทพั ญ่ีป่นุ เกณฑ์ มาสร้าง เพอื่ ใช้เป็นเส้นทางยทุ ธศาสตร์ผา่ นประเทศพมา่ ปัจจบุ นั เส้นทางนไี ้ ปสดุ ปลายทางทีบ่ ้านท่าเสาหรือสถานี นา้ ตกระยะทางจาก สถานกี าญจนบุรีถึงสถานีนา้ ตกเป็น ระยะทางประมาณ 77 กิโลเมตร \"หากนบั หมอนหนุนรางรถไฟมเี ทา่ ไหร่ จานวนผู้คน-เชลยศึกที่ถูกเกณฑม์ า สร้าง ทางรถไฟ สายนกี ้ ็ตายไปเทา่ นนั้ \" น่คี อื คาเลา่ ขานถึงเส้นทางรถไฟสายประวตั ศิ าสตร์ ไทย-พม่า ระยะทางกว่า 415 กิโลเมตรนี ้คอื ความหฤโหด ทารุณ และยากลาบาก ของสิง่ ทเ่ี ชลยศกึ ได้รับ จนได้รบั การขนานนาม ว่า \"เส้นทางรถไฟสายมรณะ\" https://thailandtourismdirectory.go.th/th/info/attraction/detail/itemid/3546

หลกั ฐานชนั้ ต้นชนิ ้ ท่ี2 ภาพถ่าย การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนเี ้ต็มไปด้วยความยากลาบาก มีการใช้แรงงานเชลยศึกสมั พนั ธมิตร 61,811 ราย และแรงงานเอเชียท่เี กณฑ์มา รวมทงั้ ผู้ทีม่ าเพราะถกู โฆษณาว่าเป็นงานได้รบั ค่าตอบแทนทด่ี ี มแี รงงานทงั้ ทเี่ ป็นชาวจนี เวยี ดนาม อินโดนีเซยี มาเลเซีย พมา่ อนิ เดยี รวมทงั้ แรงงานไทยด้วย บางชว่ งมี แรงงานเอเชียทางานมากกวา่ 300,000 ราย โดยญ่ีป่นุ เรียกแรงงานจากเอเชยี รวมๆ กนั วา่ \"โรมฉู ะ\" (Romusha) หรือ \"แรงงาน\" เมื่อแปลเป็นภาษาไทยไทย ในช่วงการกอ่ สร้างมกี ารทารุณเชลย ความโหดร้ายของสงคราม โรคภยั และการขาดแคลนอาหาร ทาให้มี ผู้เสยี ชวี ติ จานวนมาก ในจานวนนเี ้ป็นเชลยศกึ สมั พนั ธมติ ร 12,621 คน และในบรรดาแรงงานเอเชยี ท่มี า ทางานทงั้ หมด 300,000 รายนนั้ ยงั มีข้อมลู บางแหล่งทป่ี ระเมนิ วา่ อาจมแี รงงานเอเชยี เสยี ชีวิตในชว่ งที่ ก่อสร้างทางรถไฟสงู ถงึ ร้อยละ 50 เมือ่ สงครามสิน้ สดุ การสญู เสียถูกจดจาและพูดถงึ ด้วยหลมุ ศพ พพิ ธิ ภณั ฑแ์ ละพธิ ีราลกึ แตน่ น่ั เป็นความ ทรงจาท่ีทหารฝ่ายสมั พนั ธมติ รได้รบั ในทางกลบั กัน “โรมฉู ะ” กลบั ไมไ่ ด้รบั การราลึกหรือจดจาในทาง เดียวกนั สิ่งทีพ่ อเป็นทจ่ี ดจาราลึกก็มีสสุ านของวดั ถาวรวราราม ที่มีสถปู บรรจุกระดกู ของแรงงานผู้เสียชีวติ ในชว่ งของการกอ่ สร้างทางรถไฟ โดยเป็นการรวบรวมซากกระดกู ของผ้เู สียชวี ิตซ่ึงเป็นแรงงานเอเชยี เมื่อ พ.ศ. 2491 โดยรวบรวมได้กวา่ 4,500 ราย โดยชมุ ชนรอบวดั ถาวรวรารามมีการจดั ทาบุญอทุ ศิ สว่ นกศุ ลเป็น ประจาทุกปีในชว่ งใกล้เคียงกบั เทศกาลเชงเม้ง และอนสุ รณ์สถานทีส่ ร้างโดยญ่ีป่นุ ใกล้กบั สะพานแมน่ า้ แคว เพือ่ ไว้อาลยั ดวงวญิ ญาณทหารสมั พนั ธมิตรและผู้เกี่ยวข้อง สร้างโดยกองทพั ญ่ีป่นุ ใกล้กับสะพานข้ามแม่นา้ แคว โดยในเดือนกุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2487 ระหวา่ ง สงครามโลกครงั้ ที่ 2 เพ่อื ไว้อาลยั ให้ดวงวญิ ญาณทหารสมั พันธมติ รและผู้ทเี่ กีย่ วข้อง ซ่งึ ได้เสยี ชีวติ ในการ กอ่ สร้างทางรถไฟไทย-พมา่ \" ในปา้ ยระบดุ ้วยว่าในเดือนมนี าคมของทุกๆ ปี จะมีชาวญ่ีป่นุ ในประเทศไทย มาร่วมชุมนมุ กันเพอ่ื ประกอบพิธีราลึกถงึ ผู้ที่ล่วงลบั ไปแล้ว

แม้รัฐบาลชาติต่างๆ เหมอื นจะพร้อมใจมองข้ามการสญู เสียไปพร้อมกบั ความขน่ื ขมของสงคราม แต่ ร่องรอยความทรงจาของครอบครวั และคนเก่ยี วข้องของผู้ท่เี คยมาก่อสร้างทางรถไฟยงั คงมอี ยู่ และใน โอกาสราลกึ การก่อสร้างทางรถไฟทีแ่ ล้วเสร็จปีนี ้พวกเขาเหลา่ นนั้ เดินทางมาท่ีประเทศไทย ไปตามสถานท่ี ก่อสร้างทางรถไฟเพื่อหาร่องรอยทีย่ งั หลงเหลือของญาตมิ ิตรที่ถกู รฐั หลงลืม https://prachatai.com/journal/2018/10/79172

หลกั ฐานชนั้ รองชนิ ้ ท่3ี ขา่ วออนไลน์ ย้อนกลบั ไปเม่อื ปี 2486 กองกาลงั ทหารจกั รวรรดิญี่ป่นุ ได้สร้างเส้นทางรถไฟไทย-พม่า ตงั้ แตเ่ มอื งธนั บยู ซายทั ประเทศพม่า และอาเภอบ้านโป่ง ผ่านจงั หวดั กาญจนบรุ ี ข้ามแมน่ า้ แควใหญ่ ชว่ งสะพานข้ามแม่นา้ แคว ไปทางทศิ ตะวนั ตกจนถงึ ดา่ นเจดยี ส์ ามองค์ ประเทศพม่า ระยะทางรวม 415 กิโลเมตร ภายใต้ งบประมาณ 4 ล้านบาท เพื่อใช้ในสงครามโลกครงั้ ที่ 2โดยระหวา่ งการกอ่ สร้างทางรถไฟเส้นทางช่วงไทย- พมา่ มีการใช้แรงงานจากพลเรือนชาวเอเชยี กว่า 2 แสนคน รวมทงั้ เชลยศกึ จากฝ่ายพนั ธมิตร ได้แก่ ทหาร องั กฤษ อเมริกนั ออสเตรเลีย ฮอลนั ดา และนวิ ซแี ลนด์ รวมถึงกรรมกรชาวจีน เวยี ดนาม ชวา มลายู พมา่ อนิ เดยี กว่า 6 หมืน่ คน มผี ้เู สยี ชวี ิตถึง 8 หม่นื คน และสญู หายไปกว่า 1.3 หม่นื คน (ไมม่ ีสถติ ิยนื ยนั แนน่ อน) จนถกู ขนานนามให้เป็น\"เส้นทางรถไฟสายมรณะ\" รถไฟสายมรณะ ถอื เป็นเส้นทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ในการเคล่อื นกาลงั และลาเลยี งอาวธุ ยุทโธปกรณ์ เพอ่ื จะไปโจมตพี ม่าและอนิ เดยี ต่อไป การสร้างสะพานข้ามแมน่ า้ แควและทางรถไฟไทย-พม่า ความยาว 415 กิโลเมตร เตม็ ไปด้วยความ ยากลาบาก ความทารุณของสงครามและโรคภยั ตลอดจนการขาดแคลนอาหาร ทาให้เชลยศึกจานวน หลายหม่ืนคนต้องเสียชวี ติ จนกลายเป็นอนุสรณ์ของโลกท่ีจารึกความโหดร้ายทารุณของสงครามโลกครงั้ ที่ 2 ปัจจุบนั เส้นทางรถไฟสายมรณะยงั พอมรี ่องรอยให้เหน็ อยู่บ้าง อยา่ งทบี่ ริเวณช่องเขาขาดหรือ \"ช่องคอน ย\"ู (KONYU CUTTING) ซ่งึ เป็นช่วงกิโลเมตรที่ 133 แม้จะเป็นเส้นทางสนั้ ๆ ของทางรถไฟ แต่เชลยศกึ ชาว ออสเตรเลยี และเชลยศกึ ฝ่ายสมั พนั ธมติ ร ต้องขดุ เจาะทางรถไฟผา่ นภเู ขา มลู ดนิ ขอบทางรถไฟ เน่อื งจาก ภมู ปิ ระเทศแถบนเี ้ป็นเทอื กเขาหินสงู ชัน ทางรถไฟระยะทาง 110 เมตร จะทอดตวั จากชนั้ หินด้านบนลงไป ยงั หุบเขาลกึ ที่ติดกบั ชนั้ หินถดั ไปใกล้กบั ฝั่งแมน่ า้ แควน้อยทางด้านทศิ เหนือ การกอ่ สร้างช่องเขาขาดในชว่ งแรกเหล่าเชลยศึกต้องขุดเจาะพนื ้ ดินลึก 17 เมตร เพ่อื สร้างทางรถไฟ และ การใช้กาลงั คนในการขนย้ายดนิ นนั้ ใช้เครื่องมือขนาดเลก็ โดยเหลา่ เชลยศึกจะใช้ค้อนหนกั 8 ปอนด์ สว่าน ระเบิด เสยี ม พลว่ั จอบ และตะกร้าหวายอนั เล็กๆ สว่ นเครื่องระบายอากาศและค้อนเจาะหนิ นนั้ ได้มกี าร นามาใช้ในภายหลงั รุจกิ าญจน์ เสตยี ร์ ผ้จู ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ าร พพิ ิธภณั ฑสถานชอ่ งเขาขาด เลา่ ถึงความโชคร้ายของเหล่า แรงงานเชลยศึกระหวา่ งสร้างทางรถไฟว่า ช่วงเดือนมิถนุ ายนถึงเดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2486 เหล่าเชลยศึก ต้องสร้างทางรถไฟทา่ มกลางฤดมู รสมุ และชุมไปด้วยโรคภยั ไข้เจบ็ ทาให้เกดิ การล้มตายจานวนมาก \"การเจ็บป่วยล้มตายในช่วงนนั้ ส่งผลให้การก่อสร้างทางรถไฟทีช่ อ่ งเขาขาดต้องเผชิญกบั ความกดดนั อย่าง สงู จากวิศวกรชาวญ่ีป่นุ และผู้คมุ ชาวเกาหลี ทีบ่ งั คบั ให้ทางานต่อเนื่องทงั้ วนั ทงั้ คืน เป็นเวลา 16-18 ชวั่ โมง ทาให้พวกเขาขนานนามช่องเขาขาดเป็น \"ช่องไฟนรก\" ด้วยเหตทุ ี่ผ้คู มุ ชาวญ่ีป่นุ บงั คบั ให้เหลา่ นกั โทษ

ทางานในเวลากลางคืน แสงสวา่ งจากคบไฟให้ความรู้สกึ ราวกับว่าทแ่ี ห่งนเี ้ป็นขุมนรกจริงๆ เมือ่ มองมาจาก ทางด้านบน\" ผ้จู ดั การฝ่ายปฏบิ ตั ิการ เล่า ผู้จดั การฝ่ายปฏบิ ตั กิ าร เสริมต่อว่า ในแต่ละปีพพิ ิธภณั ฑสถานชอ่ งเขาขาดจะมีนกั ทอ่ งเทย่ี วมาเยือนกวา่ แสนคน โดยร้อยละ 50 จะเป็นอดีตเชลยศกึ และครอบครัว เพ่อื เยยี่ มชมประวตั ศิ าสตร์เส้นทางรถไฟสาย มรณะ ซ่งึ มกี ารจดั แสดงเร่ืองราวด้วยนิทรรศการและวีดีทศั น์ไว้อยา่ งครบถ้วนทงั้ ฉบบั ภาษาไทย และ ภาษาองั กฤษ นอกจากนยี ้ งั มีเส้นทางให้เที่ยวชมร่องรอยรางรถไฟช่วงชอ่ งเขาขาด แตโ่ ดยมากนกั ทอ่ งเทยี่ ว จะนยิ มมาในช่วงวันท่ี 25 เมษายน เน่ืองจากที่น่ีมีการจดั พธิ ีราลึกกองกาลงั ทหารออสเตรเลยี และ นิวซีแลนด์ พร้อมด้วยเหล่าทหารจากสหราชอาณาจกั ร อินเดยี และฝรงั่ เศส ทร่ี ับใช้ประเทศในช่วงเวลาของ สงคราม ความขดั แย้ง หรือในปฏิบตั กิ ารรักษาสนั ตภิ าพ \"ในแต่ละปีจะมีอดีตเชลยศกึ ชาวออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์ เดินทางมาร่วมงานดงั กลา่ ว และเคยมอี ดตี เชลยศกึ คนหน่งึ คอ่ ยๆ พยงุ ตวั ท่ใี หญแ่ ละชราลงนง่ั ระหวา่ งทีเ่ ดนิ มาถงึ ช่องเขาขาด โดยเขาบอกวา่ เขาขอ นงั่ ในที่แหง่ นสี ้ กั ครงั้ เพราะท่ีผา่ นมาเขาไมเ่ คยที่จะได้นง่ั พกั แม้แต่ครงั้ เดียว\" จากความยากลาบาก ความโหดร้ายของสงคราม ถกู นามาร้อยเรียงเร่ืองราวเป็นภาพยนตร์และหนงั สือ มาแล้ว ล่าสดุ แอนดี ้พาเทอร์สนั ผ้คู ร่าหวอดในวงการภาพยนตร์ ได้ทมุ่ ทนุ สร้างกว่า 1,000 ล้านบาท เพื่อ เนรมิตฉากสงคราม และฉากการสร้างทางรถไฟสายมรณะให้ย่งิ ใหญส่ มจริง อย่างท่ี อีริค โลแมกซ์ บนั ทึก เอาไว้ ซงึ่ เป็นบนั ทกึ ท่ไี ด้รบั การยกยอ่ งวา่ เป็นหนงั สือทเ่ี ขยี นเก่ียวกับสงครามท่ดี ที ่ีสดุ ในโลก โดยทเ่ี ขาได้ใช้ เวลากว่า 5 ปี ในการเขียนบทภาพยนตร์เรื่องนี ้และเพ่ือความสมจริงของสร้างภาพยนตร์ THE RAILWAY MAN ทีมงานของแอนดี ้ได้เช่ารถไฟไทยรุ่นเดยี วกบั ทใ่ี ช้ว่ิงในยคุ สงครามโลก มาเพ่ือถา่ ยทาภาพยนตร์เรื่อง นี ้ซึ่งปักหลกั ถา่ ยทาท่จี งั หวดั กาญจนบุรี ณ สสุ านทหารสมั พนั ธมิตร โรงงานกระดาษ และชอ่ งเขาขาด เป็น ระยะเวลากว่า 8 เดือน ทงั้ นี ้เพอื่ เป็นการราลกึ ถึงกองกาลงั ทหารออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด์ จงึ มกี ารกาหนดให้วันท่ี 25 เมษายน ของทุกปี เป็นวนั อนสุ รณ์ทหารผ่านศกึ ออสเตรเลยี -นวิ ซีแลนด์ หรือวนั แอนแซค(Australian and New Zealand Army Corps : ANZAC) ทชี่ าวออสเตรเลียทว่ั โลกร่วมกนั ราลึกและจดจาเหล่าทหารออสเตรเลียท่ี รับใช้ประเทศชาติในสงคราม วนั แอนแซค จารึกเหตกุ ารณ์สาคญั ของวนั ทีเ่ หล่าทหารออสเตรเลียและ นวิ ซแี ลนด์ได้ยกพลขนึ ้ บก ณ ชายฝั่งของคาบสมทุ รแกลลโิ ปลี ประเทศตรุ กี เม่ือวนั ท่ี 25 เมษายน พ.ศ. 2458 หรือเม่ือ 99 ปีมาแล้วสาหรับประเทศไทย ในปีนที ้ ่จี งั หวดั กาญจนบรุ ี ฯพณฯ โจนาธาน เคนนา อปุ ทูต ออสเตรเลยี ประจาประเทศไทย และพนั เอกแอนดรูว์ ดฟั ผ้ชู ว่ ยทูตฝ่ายทหาร สถานทตู ออสเตรเลยี กรุงเทพฯ ได้ร่วมกบั เอกอคั รราชทูต นายทหารชนั้ ผู้ใหญ่ ข้าราชการระดบั สงู รวมทงั้ ประชาชนท่ัวไป รวมถงึ มญี าติมิตรของผู้เสียชีวิต นกั ทอ่ งเทยี่ วจากประเทศออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ กว่า 1,250 คน ร่วมพธิ ีราลึก ถงึ เชลยศกึ หลายพนั คน ที่เสยี ชีวิตจากการก่อสร้างทางรถไฟสายไทย - พม่า ในสมยั สงครามโลกครงั้ ที่สอง https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/579207

หลกั ฐานชนั้ รองชนิ ้ ที่4 หนงั สือ















http://www.lovesiamoldbook.com/product-th-893866-7324431-บนั ทึกสดุ ท้ายจากทางรถไฟสาย มรณะ+(Railroad+to+Death).html#

หลกั ฐานชนั้ รองชนิ ้ ที5่ พิพิธภณั ฑ์ เมอ่ื กลา่ วถึงทางรถไฟสายมรณะ หลายทา่ นคงนึกถงึ จงั หวดั กาญจนบรุ ี เส้นทางรถไฟทกี่ อ่ สร้างจากพม่าส่เู มืองไทยด้วย ระยะทาง 415 กิโลเมตร และความตายท่ีคร่าชีวติ ทหารฝ่ายสมั พนั ธมิตรนับพนั ในระหวา่ งสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 บาดแผลใน ประวตั ศิ าสตร์อาจจะมไิ ด้ฝังแน่นในความสานกึ ของคนรุ่นใหม่มากนัก แต่ประจักษ์พยานเชน่ ทางรถไฟและสสุ านท่ีฝังร่าง เหล่าทหารในอาเภอเมืองกาญจนบรุ ี พึงเตือนให้เราระลกึ ถึงความสูญเสยี จากสงคราม อย่างไรก็ตาม จะมใี ครนึกต่อไป ไหมว่า เหตุใดทางรถไฟเส้นนถี ้ งึ มคี วามสาคัญกับกองทพั ญ่ปี ่นุ ในช่วงเวลาของสงครามดงั กลา่ ว การวางแผน การคานวณ ทางวศิ วกรรม การกอ่ สร้าง และชวี ิตของผ้คู นท่เี ข้ามาเกี่ยวข้องทงั้ ฝ่ายญ่ปี ่นุ และชาติตะวนั ตก เหล่านลี ้ ้วนเป็นคาถามท่ี ได้รับการไขคาตอบท่ี พิพธิ ภณั ฑท์ างรถไฟไทย-พม่า หรือ Thai-Burmese Railway Centre พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หง่ นตี ้ งั้ อยู่ไมไ่ กลจากสสุ านสงครามดอนรักหรือทร่ี ู้จักกนั ในนามสสุ านสงครามกาญจนบุรี ประกอบด้วยอาคาร 2 ชนั้ โดยมเี ร่ืองราวการจดั แสดงทงั้ หมด 9 ส่วน ได้แก่ นาเร่ือง เป็นการอธิบายบริบททางประวตั ิศาสตร์ กองทพั ญีป่ ุ่นท่ีรุกเข้ามาในภมู ภิ าคเอเชียและแปซฟิ ิค การยึดครอง ประเทศพม่า และแผนการสร้างรถไปจากไทยส่พู ม่า การออกแบบและการกอ่ สร้าง กลา่ วถึงการออกแบบทางสถาปัตยกรรมและงานวศิ วกรรมกอ่ สร้าง วสั ดุอุปกรณ์ รวมถงึ การ

เกณฑแ์ รงงานคน ในสว่ นนี ้วตั ถุจัดแสดงที่รวบรวมมาจากทางรถไฟจะสะท้อนให้เห็นถึงการกอ่ สร้างทใี่ ช้แรงงานคน และ ปราศจากเครื่องจักรขนาดใหญ่ ภูมิศาสตร์ทางรถไฟ นาเสนอด้วยแบบจาลองเส้นทางรถไฟทท่ี อดผ่านจากหนองปลาดุกในประเทศไทยถงึ Thanbuyuzayat ในพมา่ และวดี ทิ ศั น์ที่แสดงให้เห็นถึงการกอ่ สร้างทางรถไฟ ชีวติ ในค่าย สะท้อนสภาพชีวติ ของคนในค่ายที่จะต้องทกุ ขท์ นกบั การขาดอาหาร และความตายท่ีเพม่ิ มากขนึ ้ ไมเ่ ว้นแต่ละ วนั การเยียวยารกั ษา บอกเล่าผ่านฉากจาลองการรักษาพยาบาลทปี่ ระยุกตใ์ ช้สิง่ รอบตวั เป็นเรื่องมอื ในการรักษาตามอตั ภาพ ต้นทนุ แสดงให้เห็นถงึ จานวนผ้เู สยี ชีวิต ผ้เู ป็นเสมอื นต้นทนุ ของการก่อสร้าง รวมถึงการวิเคราะห์สาเหตขุ องการตาย จุดท่ี น่าสนใจคอื การนาเสนอจานวนผ้ตู ายด้วยหมดุ รางรถไฟ หมดุ หน่ึงเล่มมคี า่ เทา่ กับวิญญาณ 500 ชวี ติ ท่ไี ด้จากโลกนไี ้ ป ทางรถไฟเม่ือเปิดใช้งาน อธบิ ายถงึ การใช้ทางรถไฟในระยะเวลาอนั สนั้ เพ่อื ขนยทุ โธปกรณ์และคนจากพมา่ ก่อนท่จี ะถูก ทาลายในระยะตอ่ มา ระเบิดกมั มนั ตภาพรังสีและการทาลายรางรถไฟ เร่ืองราวเดนิ ทางมาถึงจุดสนิ ้ สดุ สงครามด้วยการตอบโต้ของฝ่าย สมั พนั ธมติ ร การทาลายทางรถไฟเพ่ือตดั เส้นทางการลาเลยี ง และการทิง้ ระเบิดกัมมนั ตภาพรังสี 2 ลกู ในประเทศญีป่ ่นุ อนั ถอื เป็นการหยุดยงั้ การแผอ่ านาจของทหารญปี่ ุ่นในเอเชยี แปซฟิ ิ ค ภายหลงั สงคราม มงุ่ มองไปทีป่ ระสบการณ์ของผ้คู นภายหลงั จากการได้รับอสิ รภาพ การค้นหาศพผ้เู สยี ชีวิต และการสร้าง สสุ านให้กบั เหลา่ ทหารผ้ตู ายในระหว่างสงคราม เร่ืองราวท่ีบอกเล่านีเ้ ดนิ ทางมาถึงจุดสนิ ้ สดุ ของการเปิดให้ผ้ชู มได้มองออกไปนอกอาคารพพิ ธิ ภณั ฑ์ น่ันคอื \"สสุ านสงคราม กาญจนบรุ ี\" แผนผงั ที่อธบิ ายลกั ษณะการฝ่ังศพทหารตามประเทศชว่ ยให้ผ้ชู มได้เหน็ ถงึ ชีวิตทพี่ ลดั พรากจากประเทศบ้าน เกดิ และต้องหยดุ การเดินทางลงด้วยอานาจและความขัดแย้งของสงคราม https://db.sac.or.th/museum/museum-detail/352#collapseTwo


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook