นายสะมะแอ ยะมะกา คณะวทิ ยาการอิสลาม สาขาการสอนอสิ ลามศกึ ษา นกั ศึกษาชน้ั ปที ่ี 5
คำนำ คำช้แี จง
สำรบัญ หน้ำ บทท่ี 3 หน้ำ ส่งิ ทีไ่ มถ่ อื วา่ เปน็ การนนิ ทา เรื่อง ก ตัวอยา่ งสงิ่ ทีไ่ มถ่ ือว่าเป็นการนนิ ทา ก คำนำ ก คำช้ีแจง ก นนิ ทาไปแล้วตอ้ งทําอย่างไร ก สำรบญั ก สรปุ สงิ่ ทไี่ ม่ถือว่าเป็นการนนิ ทาและนินทาแลว้ ควรทาํ อย่างไร ก ก คําถามท้ายบทท่ี 3 ก บทท่ี 1 ก บทที่ 4 ความหมายและความสําคัญของการนนิ ทา ก ตัวอย่างการห้ามมองผ้อู ื่นในแงร่ ้ายและการนนิ ทา ก โทษของการมองผู้อน่ื ในแงร้ ้ายและการนินทา หลักฐานจากอลั -กุรฺอานและหะดษี เก่ียวกับการห้ามและการนนิ ทา ก ก สรุปบทท่ี 1 การห้ามมองผู้อ่นื ในแง่ร้ายและการนนิ ทา ก คําถามทา้ ยบทที่ 1 ก ตวั อยา่ งโทษของการมองผ้อู ่ืนในแง้รา้ ยและการนนิ ทา ก สรุปโทษของมองผู้อ่นื ในแงร่ า้ ยและการนินทา บทท่ี 2 ก คําถามท้ายบทที่ 3 ข้อบัญญัตขิ องการนนิ ทา สาเหตทุ นี่ าํ ไปส่กู ารนินทาว่าร้าย ก ตวั อย่างสาเหตุท่ีนําไปสู่การนนิ ทาว่าร้าย สรปุ บทท่ี 2 ขอ้ บัญญัติและสาเหตุท่ีนาํ ไปส่กู ารนินทาว่ารา้ ย คําถามทา้ ยบทท่ี 2
บทที่ 1 ปัจจุบันการนินทามไิ ด้แพร่หลายในสงั คมผู้หญิง แต่มันยงั ลุกลามไปยงั สังคมของผชู้ าย สงั คมชนช้นั สงู สงั คมคนรากหญ้า สังคมคนธรรมดา และสังคม ควำมหมำยของกำรนนิ ทำ ปญั ญาชน ผ้มู คี วามรู้ หรือแมก้ ระท่งั ในส่อื สารมวลชน เช่น การนําเสนอข่าว ที่ แฝงไปดว้ ยการนินทาว่าร้าย ท่านอิหม่าม อันนะวาวีย์ ได้ให้ความหมายของการนินทาไว้ว่า ตัวอย่ำงของกำรนนิ ทำ การนนิ ทาหรือในภาษาอาหรับเรียกว่า \"อัล-ฆีบะฮฺ\" ( ) الغيبةคือ การท่ีคน ตวั อยำ่ งท1่ี คนหนึ่งได้กล่าวถึงพ่ีน้องของเขา ในส่ิงที่เขาไม่ชอบ ไม่ว่าในเร่ืองของ ร่างกาย นิสัยใจคอ ทรัพย์สินสมบัติ ลูกๆ และภรรยาของเขา หรือ เช่น เราได้ดูถูกพ่ีน้องของเราลับหลังว่าเตี้ยบ้าง สูงบ้าง ตัวดําบ้าง แม้กระทั่งการเคล่ือนไหว ไม่ว่าจะทําให้เขาไม่พอใจด้วยกับคําพูด หรือ ถึงแม้จะเป็นความจริงก็ตาม แต่ความจริงในบริบทบางอย่างศาสนาห้าม แสดงดว้ ยการกระทาํ เชน่ การช้ี ไม่ให้พูดความจริงขนาดนั้นโดยเฉพาะความจริงที่จะนํามาซึ่งความ เสียหายของผู้อ่ืนในภาษาอาหรับเรียกว่า\"อัล-บุฮฺตาน ( ) البهتةةةةซ่ึง ควำมสำคญั ของกำรนนิ ทำ หมายถึงการกล่าวถึงบุคคลหนึ่งๆ ในส่ิงท่ีไม่เป็นความจริง หรือการกล่าว วา่ รา้ ยก็คอื การทีเ่ ราเอาส่ิงทีไ่ ม่ดขี องคนอื่น เอาไปกล่าวกับบุคคลที่สามซึ่ง กำรนนิ ทำ ในสังคมนั้น (ไม่ใช่เฉพาะสังคมมุสลิมและสังคมไทย) เรา เขาไม่ได้อยู่ต่อหน้าเราเอาไปกล่าวในทางที่ไม่ดีซ่ึงมันไม่สามารถท่ีจะ เห็นคนนินทากันอยู่เป็นปกติ แม้คุณจะบอกว่าคุณไม่มีนิสัยนินทา แต่การ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมของคนท่ีถูกกล่าวถึงได้นอกจากความรู้สึก สนทนาในแต่ละวันของเราอาจจะมีกการพูดเก่ียวข้องกับเร่ืองของคนอ่ืน สนุกสนานความชอบในการตงั้ วงในการในการนินทาและอืน่ ๆ อยู่บ้าง ขึ้นกับบุคคลคนนั้นว่าเขาจะกล่าวถึงบุคคลท่ีสามในแง่ดีหรือในแง่ รา้ ยถ้ากลา่ วในแง่ดีก็เป็นสง่ิ ท่ดี แี ต่ถ้ากลา่ วในสิ่งที่เขาไม่ชอบก็เป็นส่ิงท่ีไม่ดี วีดีโอ เพราะถ้าเรากลา่ วในส่ิงที่เขาไม่ชอบนั้นคือการนนิ ทาแล้ว เมื่อพดู ถึงการนนิ ทาวา่ รา้ ย คนเรามักจะคิดถึงผหู้ ญิงอนั ดบั แรก และ มักจะคดิ ว่าการนินทาวา่ ร้ายน้นั ไมเ่ กิดขึ้นในหมูผ่ ู้ชาย แต่ในความเปน็ จรงิ การนินทาน้ันเกดิ ท้ังในกลมุ่ ของผู้หญงิ และผู้ชาย และการนนิ ทาว่ารา้ ยยัง เป็นสาเหตทุ ก่ี ัดกรอ่ นความดขี องตัวของผู้ที่นนิ ทา และเปน็ บอ่ นทาํ ลาย ความสามคั คใี นสงั คม
ตวั อย่ำงท่ี 2 หลกั ฐำนจำกอัล-กรุ ฺอำน รายงานจากท่านอบูฮุร็อยเราะฮฺ รอฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่า : เเท้ ِ إِثْ ٌم َوََل ِأَ َحِإ ُد َّ ُك ْمَب ْعأَ َضيَأْا ُكل َل َّظ ِم َ ال َّظ آ َمنُوا ا ْجتَ ِنبُوا َك ِثي ًرا َ يَ أَيُّ َه الَّ ِذي จรงิ ท่านรอซลู ลุ ลอฮฺ ﷺไดก้ ล่าวกบั บรรดาศอหาบะฮฺว่า َل ْح َم أَ ِخي ِه أَيُ ِح ُّب َي ْغتَب بَّ ْع ُض ُكم بَ ْع ًض تَ َج َّس ُسوا َوََل َم ْيتً فَ َك ِر ْهتُ ُموهُ َواتَّقُوا َّلَّل َا ِإ َّ َّلَّل َا تَ َّوا ٌب َّر ِحي ٌم ُ أَتَ ْد ُرو َ َم ا ْل ِغي َب อัล-หญุ ุรอต - Ayaa 12 ทำ่ นทง้ั หลำยทรำบหรอื ไม่วำ่ ..อะใรคอื ฆีบะฮ์..!? หรือ กำรนนิ ทำคืออะไร บรรดาศอหาบะฮฺกใ็ ห้ให้เกยี รติ ทา่ นรอซลู ุลลอฮฺ ﷺกเ็ ลย ควำมว่ำ โอ้ศรัทธำชนท้ังหลำย! พวกเจ้ำจงปลีกตัวให้พ้นจำกส่วนใหญ่ของ กำรสงสัย แท้จริงกำรสงสัยบำงอย่ำงน้ันเป็นบำป และพวกเจ้ำอย่ำสอดแนม ตอบวา่ อัลลอฮแฺ ละรอซลู ของพระองค์รดู้ ที สี่ ดุ และบำงคนในหมู่พวกเจ้ำอย่ำนินทำซึ่งกันและกัน คนหน่ึงในหมู่พวกเจ้ำน้ัน ชอบที่จะกินเน้ือพี่น้องของเขำที่ตำยไปแล้วกระนั้นหรือ? พวกเจ้ำย่อมเกลียด ทำ่ นนบีกลำ่ ววำ่ : คือการทท่ี า่ นกล่าวถึงพ่ีน้องของทา่ นในสิ่งทเี่ ขาไมช่ อบ มัน และจงยำเกรงอัลลอฮฺเถิด แท้จริงอัลลอฮฺนั้นเป็นผู้ทรงอภัยโทษ ผู้ทรง เมตตำเสมอ บรรดำศอหำบะฮฺกเ็ ลยถำมท่ำนนบีว่ำท่ำนมีควำมเห็นอย่ำงไร ถ้ำหำกสิ่ง ทีฉ่ ันกล่ำวถึงเขำ เปน็ ควำมจริง ? หลกั ฐำนจำกอัล-หะดษิ ท่ำนนบตี อบวำ่ : \"ถ้ามาดเเมน้ สง่ิ ท่ีทา่ นกล่าว เปน็ ความจรงิ เเน่แท้ท่านได้ (( أَتَ ْد ُرو َ َم ا ْل ِغي َب ُ َق لُوا َّلَّلاُ َو َر ُسولُهُ أَ ْع َل ُم َق َل ِذ ْك ُر َك أَ َخة َك ِب َمة นินทาเขาเเล้ว เเต่ถ้าหากว่ามันไม่เป็นอย่างท่ีท่านพูด เเน่นอนท่านได้ทําการใส่ )ِفبَيةَه ِهتَّهُ َم)ة َ ْ َكة ِإ أَقُةو ُل قَة َل َُكتَقُ َو ُِفليَفقَأَْد ِخاة ْغيتَ ْب َتَمةه ْ ِإ أَ َف َرأَ ْي َت ِقي َل ُيَ ْك َره ร้ายเขาเเลว้ \" فِي ِه َفقَ ْد ْ َو ِإ ْ َل ْم َي ُك (บนั ทึกโดยอิหม่ามมสุ ลิม) .رواه مسلم ع ابي هريرة.. ความหมายเหมือนตวั อย่างที่ 2 ท่ไี ด้กลา่ วขา้ งต้น
สรุปกำรนินทำว่ำร้ำย กำรนนิ ทำ การนินทา คือการที่คน คนหน่ึงได้กล่าวถึงพ่ีน้องเขาไม่ว่าจะเป็นการ นินทาคนในครอบครัวเดียวกัน นินทาเพ่ือนบ้าน นินทาเพื่อน หรือ คนอื่นๆ ซ่งึ เปน็ การนินทาลับหลังในสง่ิ ทเี่ ขาไมช่ อบ นั่นคือ การนนิ ทา กำรนินทำวำ่ รำ้ ย การนินทาว่าร้าย คือ การที่คน คนหน่ึงได้กล่าวถึงพ่ีน้องเขาไม่ว่าจะ เปน็ การนินทาคนในครอบครัวเดียวกัน นินทาเพ่ือนบ้าน นินทาเพื่อน หรือ ค น อื่ น ๆ ซ่ึ ง เ ป็ น ก า ร นิ น ท า ลั บ ห ลั ง ใ น ส่ิ ง ท่ี เ ข า ไ ม่ ช อ บ แต่แตกต่างตรงที่ว่า ถ้าหากส่ิงที่เขานินทาไม่เป็นความจริงอย่างที่เขาได้ นินทา นัน่ คอื การนนิ ทาว่ารา้ ย
คำนำ บทท่ี 2 ข้อบญั ญัติของกำรนินทำ การนินทานั้น เป็นหนึ่งใน \"กะบาอิรฺ\" (บาปใหญ่) ที่จําเป็นสําหรับ มุสลิมทุกคนที่จะต้องระมัดระวังเเละออกห่างจากการกระทําดังกล่าวน้ี ซึ่งมันไม่ใช่เร่ืองเล็กน้อยเลยในจิตสํานึกของผู้ศรัทธา เเละผู้ท่ีหวังใน พระพักตร์ของอัลลอฮฺ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ในโลกอาคิเราะฮฺ เเต่ถึง กระน้ันก็ตาม การนินทาน้ัน ถือเป็นบาปใหญ่ชนิดหน่ึงที่มุสลิมเพิกเฉย เเละไม่ตระหนกั ถงึ ความผดิ บาปทจ่ี ะเกดิ ขึ้นจากการกระทําบาปใหญ่ และ การนินทาน้ันจะไม่นําสิ่งใดมานอกจากความแตกแยกในสังคม ดังน้ันจึง เปน็ หนา้ ท่ขี องมุสลมิ ทุกคนทจี่ ะต้องออกหา่ งจาการนินทาว่าร้ายผูอ้ นื่ สำเหตุทนี่ ำไปสกู่ ำรนนิ ทำวำ่ รำ้ ย 1. ความเกรงใจเมื่ออยู่รวมกับเพ่ือนท่ีไม่ดี เม่ือพวกเขาได้ทําการ นินทาวา่ ร้ายผู้อ่ืน ซึ่งบางคนเห็นว่าการท่ีจะห้ามเพื่อนว่าอย่าไปพูดนินทา ว่าร้ายผู้อื่น หรือคิดว่าถ้าเขาได้เตือนเพื่อนๆแล้ว จะทําให้เพื่อนไม่คบค้า สมาคมด้วย และ สาเหตุที่กลัวว่าจะเสียมารยาทในการท่ีจะตักเตือน เพ่ือน เลยทําให้เขาเป็นผู้หนึ่งที่ร่วมอยู่ในการนินทาไปโดยปริยาย ด้วย เหตุน้ีจึงจําเป็นแก่เราจะต้องเลือกคบเพื่อนที่ดี เพราะเพ่ือนท่ีไม่ดีจะนํา เราไปสู่สิง่ ท่ไี ม่ดี เช่นกนั เหมอื นคาํ พดู ของนกั กวี ที่ว่า “เม่ือทา่ นพบเพ่อื นท่ไี ม่ดี การท่ที า่ นอยู่เพยี งลําพงั ยอ่ มดกี วา่ ”
2. การที่มีบุคคลคนหนึ่งเป็นท่ีนับหน้าถือตาของผู้คน ไม่ว่าจะเป็นในเร่ือง 4. การทคี่ นหนึง่ มีความโกรธ บุคคลหนึ่ง หรอื มคี วามไม่สบายใจกับคน คน ของความดีหรือเร่ืองของความรู้ จึงทําให้คนอีกกลุ่มหน่ึงเกิดความอิจฉา นั้น เมื่อมีการกล่าวถึงบุคคลน้ัน เขาจะนําสิ่งที่มีอยู่ในใจระบายออกมาเป็น ริษยาข้ึนมา เลยพยายามที่จะหาสิ่งท่ีไม่ดีของบุคคลผู้นั้น แล้วปล่อยข่าวไป คําพูดส่อไปในทางท่ีไม่ดีเกี่ยวกับบุคคลผู้น้ัน สาเหตุที่กล่าวมานี้ เนื่องจาก ในทางที่เสียหาย การกระทําเช่นน้ี ถือเป็นสิ่งต้องห้ามเพราะมันคือ บ่อเกิด บุคคลที่นินทาผู้อื่นน้ัน ขาดการปลูกฝังจากหลักคําสอนของศาสนา ขาด ของความอิจฉาริษยา อีกท้ังยังรวมอยู่ในประเภทของการนินทาว่าร้ายด้วย ขันติ ความอดทน มีใจคับแคบ ไม่มีการให้อภัยซึ่งกันและกัน ในสิ่งที่มีการ และเป็นการทาํ ลายความสามคั คีของคนในสงั คมอกี ดว้ ย ล่วงเกินกัน การรู้จักให้อภัยซ่ึงกันและกันจะเป็นตัวท่ีมาทําลายความอิจฉา ริษยา และความเกลียดชังออกไปจากหัวใจของผู้ที่ศรัทธา และเมื่อเขา 3. บคุ คลที่ชอบดถู กู ผูอ้ น่ื จะเป็นผู้ที่มีความหย่ิงยโส มองว่าตัวเองเป็นผู้ท่ีไม่ ปฏิบัตสิ ่ิงนไ้ี ด้เขากจ็ ะได้รับผลบญุ จากอัลลอฮ์ อย่างแน่นอน มีความบกพร่อง คิดว่าตัวเองเป็นผู้ที่ดีเลิศเลอเหนือผู้อื่น และเห็นผู้อ่ืนมี ความบกพร่องไม่ว่าในเร่ืองของรูปกาย และมารยาท เม่ือคนเรามีความคิด 5. การท่คี นเรามเี วลาวา่ งแล้วใช้เวลาว่างท่ีมีไปในทางท่ีไม่เกิดประโยชน์ จน เช่นนั้นก็เป็นการง่ายท่ีเขาจะพูดถึงผู้อื่นในทางท่ีเสียหาย โดยที่เขาลืมพระ บางครง้ั ได้เอย่ ถึงผู้อื่นในทางทไ่ี ม่ดี ดํารัสของอัลลอฮ์ ทีว่ า่ วดิ ีโอตวั อย่างในการนินทา َل يسخر قوم م قوم عسى أ يكونوا خير منهم وَل نس ء م نس ء عسى أ يك خيرا منه ควำมวำ่ “กลุ่มชนหนึ่งอย่ำได้ดูถูกกลุ่มชนหน่ึง หวังว่ำพวกเขำ (ผู้ที่ถูกดู ถกู ) จะดีกวำ่ พวกเขำ(ผูท้ ่ีดูถูก) และผู้หญิงกลุ่มหนึ่งอย่ำได้ดูถูกผู้หญิงอีกกลุ่มหนึ่ง หวังว่ำผู้หญิงที่ ถูกดูถูกจะดีกว่ำผทู้ ดี่ ถู กู ”
สรปุ ขอ้ บญั ญัตแิ ละสำเหตุท่นี ำไปสู่กำรนนิ ทำวำ่ ร้ำย ขอ้ บัญญัติในกำรนนิ ทำวำ่ ร้ำย การนินทานั้น เป็นหน่ึงใน \"กะบาอิรฺ\" (บาปใหญ่) ที่จําเป็น สําหรับมุสลิมทุกคนท่ีจะต้องระมัดระวังเเละออกห่างจากการนินทา วา่ รา้ ยผู้อืน่ 3. บุคคลท่ีชอบดูถูก 1. ความเกรงใจเมื่ออยู่ 2. เกดิ จากความ ผู้ อ่ื น จ ะ เ ป็ น ผู้ ที่ มี รวมกบั เพ่ือนที่ไม่ดีชอบ อจิ ฉาริษยาบุคคล ความหย่ิงยโส มองว่า นนิ ทา คนหนึง่ ไมว่ ่าจะเปน็ ในเร่อื งของความดี ตัวเองเป็นผู้ท่ีไม่มี ส ำ เ ห ตุ ที่ น ำ ไ ป สู่ หรือเร่ืองของ ความบกพร่อง คิดว่า กำรนนิ ทำว่ำรำ้ ย ความรู้ ตัวเองเป็นผู้ท่ีดีเลิศ เลอเหนอื ผอู้ ื่น 5. การที่คนเรามีเวลา 4. เกิดจากความโกรธ ว่างแล้วใช้เวลาว่างท่ีมี บุคคลหนึ่ง หรือ มี ไ ป ใ น ท า ง ท่ี ไ ม่ เ กิ ด ความไม่สบายใจกับ คน คนน้ันทําให้กล่าว ป ร ะ โ ย ช น์ จ น ระบายถงึ บคุ คลน้ันส่อ บางครั้งได้เอ่ยถึงผู้อ่ืน ไปในทางท่ีไมด่ ี ในทางท่ไี ม่ดี
บทที3 ส่ิงที่ไมถ่ อื ว่ำเปน็ กำรนินทำ 1. การรอ้ งทกุ ข์โดยกลา่ วพาดพิงถงึ ผู้ท่ีได้ทาํ การอธรรม 2. การขอรอ้ งแกผ่ ูท้ มี่ ีความสามารถทจ่ี ะเปล่ยี นความชวั่ โดย กลา่ วถึงผทู้ กี่ ระทาํ ความชัว่ นนั้ 3. การเตอื นให้ผ้คู นระวังการจากบคุ คลท่เี ป็นอันตรายตอ่ สังคม 4. การขอใหช้ ี้ขาดในปญั หาต่างๆโดยกล่าวพาดพิงถึงผูอ้ ่นื เชน่ กล่าววา่ เขาไดอ้ ธรรมฉนั อย่างนนั้ ๆ 5. การกลา่ วถงึ ความชัว่ หรือการกระทําทเี่ ป็นการอุตริข้ึนใน ศาสนา เชน่ การกลา่ วถงึ ภยั ของเหลา้ 6. การกล่าวถึงลักษณะเฉพาะของบคุ คลหนง่ึ โดยมเี จตนา เพื่อให้เปน็ ท่รี จู้ กั เชน่ การกลา่ วถงึ ลกั ษณะบกพรอ่ งทาง ร่างกาย เช่น เปน็ ใบ้ ขาเป๋ หรอื อ่ืนๆจากน้ี ตัวอย่ำงส่งิ ทีไ่ ม่ถอื วำ่ เป็นกำรนนิ ทำ คนถกู ขม่ เหง รงั แก เมื่อไปร้องทุกข์ กลา่ วโทษสามารถท่ี จะเอ่ยช่ือผูท้ ีอ่ ธรรมเขาต่อทางการหรอื ผู้มีอํานาจไดเ้ หมอื น ข้อทห่ี น่ึงทีไ่ ด้กล่าวไว้ข้างตน้
นนิ ทำไปแล้วต้องทำอย่ำงไร ดังหะดีษที่รายงานโดยท่านอบูฮุร็อยเราะฮฺ รอฎิยัลลอฮุอันฮุ : ท่านนบี (ซ.ล.)ได้กลา่ ววา่ : สง่ิ ท่จี ะมาไถโ่ ทษสําหรบั ผู้ทนี่ ินทาหรอื ใส่ร้ายปา้ ยสีพน่ี ้องของเขานน้ั คือ \"ผู้ใดท่ีมีการอธรรมต่อพี่น้องของเขา ไมว่าจะเป็นเรื่องเกียรติยศของเขา หรือ เร่ืองใดๆก็ตาม ก็จงไปขออภัยต่อเขาในวันนี้เสียเถิด ก่อนท่ีจะไม่มีซึ่งดีนาร จําเป็นสําหรบั เขาที่จะตอ้ งกลบั เนอื้ กลับตัว และการ (เตำบัต) ขอการขออภยั เเละดิรฮัมเลย(วันที่ไม่มีอะไรในครอบครองเลย) ถ้าหากว่าเขามีการงานท่ีดีอยู่ ก็ จะถูกยึดเอาจากเขาไปเท่ากับปริมาณการอธรรมของเขา เเละถ้าหากว่าเขาไม่มี โทษตอ่ อลั ลอฮฺในความผดิ พลาดระหว่างเขากบั พระองค์ ดังอายัตกรอุ านได้ ความดีอยู่เลย ความช่ัวของสหายของเขาก็จะถูกเอามาให้เเก่เขาได้เเบกรับมัน\" กลา่ วว่า (บนั ทกึ โดยอิหม่ามบคุ อรี) ِ أَنإِفُنَّ ِسهُ ِه ْمُه َوََلا ْلتَ َغْقفَُنو ُط ُرواال ِمَّر ِحي َّ ُمر ْح َم َعلَ ٰى اأَل ْسذُّنَُروفُوَبا َ الَّ ِذي ِد َي َّ يَ ِع َب قُ ْل อีกท้ังทรรศนะข้างต้น เป็นทรรศนะท่ีท่านชัยคุลอิสลาม อิบนุตัยมียะฮฺ ًَج ِميع َي ْغ ِف ُر َّلَّل َا َّلَّل ِا ِإ รอหมิ าฮลุ ลอฮฺ ได้ใหน้ ้ําหนกั เเละเหน็ ด้วย โดยท่านได้กล่าวว่า : ควำมวำ่ : จงกลำ่ วเถิดมุฮัมมัด ปวงบ่ำวของข้ำเอ๋ย! บรรดำผู้ละเมิด \"และผู้ท่ีไปอธรรมบุคคลใดบุคคลหนึ่ง โดยไปใส่ร้ายเขา นินทาเขา หรือด่าทอ ต่อตัวของพวกเขำเอง พวกท่ำนอย่ำได้หมดหวังต่อพระเมตตำ เขา เเล้วหลังจากนั้นเขาได้กลับเน้ือกลับตัว อัลลอฮฺก็ทรงรับการกลับเนื้อกลับ ของอัลลอฮฺ แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงอภัยควำมผิดท้ังหลำยท้ังมวล ตัวของเขา เเต่ถ้าหากผู้ที่ถูกอธรรมรับรู้เรื่องราวเเล้ว ก็จําเป็นต่อผู้ท่ีไปริดรอน สิทธเิ ขา ต้องไปขออภัยต่อเขา เเต่ถ้าหากว่าไปใส่ร้ายหรือนินทาเขาไว้ เเล้วเขา แท้จรงิ พระองค์นั้นเป็นผู้ทรงอภัย ผู้ทรงเมตตำเสมอ ไม่รู้ ในกรณีนี้อุลามาอฺมีความเห็นสองทรรศนะ รายงานมากจากท่าน อิหม่ามอะหมัด : ท่ีถูกต้องที่สุดคือไม่ต้องเเจ้งให้เขาทราบว่าฉันนินทาคุณ , เเต่ถ้าเขารู้ว่าผู้ท่ีถูกเขานินทาทราบเร่ืองราวเเล้ว(ว่าถูกนินทา) ก็ให้ไป และอาจจะบอกได้ว่า : เเต่ให้ทําดีต่อเขาในตอนท่ีอยู่ลับหลังเขา(พูดเร่ืองท่ีดี หาเขา เเละขอให้เขายกโทษให้ ด้วยมารยาทท่ีดีงาม วาจาท่ีน่ิมนวล ของเขา) เสมือนท่ีได้ทําร้ายเขาไว้ในตอนท่ีอยู่ลับหลังเขา ดังท่ีท่านหะซัน อัล- อ่อนโยน หรือถ้ามีความสามารถที่จะซ้ือของขวัญท่ีมีค่าไปสมนาคุณให้เเก่ บัศรยี ฺ ได้กลา่ วว่า : คา่ ปรับของการนนิ ทา คือการท่ีท่านขอลุเเก่โทษให้เเก่คนท่ี เขาได้กย็ ่ิงเป็นการดีใหญ่ เเต่ถ้าหากเป็นในกรณีที่ผู้ที่ถูกนินทา ไม่รู้ตัวว่าตน ทา่ นไปนนิ ทาเขาไว้\" โดนนินทา ก็ไม่ต้องไปแจ้งให้เขารับรู้ เเต่ให้ขอลุเเก่โทษจากอัลลอฮฺให้เเก่ เขา ขอดุอาอฺให้เขา พร้อมทั้งให้ชมเชยเขาเสมือนท่ีเคยได้นินทาเขาไว้ เเละ (มจั มวั ะฟะตาวา : 3/291) เช่นเดียวกัน ในกรณีท่ีเกรงว่าถ้าไปบอกให้เขารู้ เเล้วมันจะเกิดความ บาดหมางมากยิ่งขึ้น หรือว่ามันจะนําพาไปสู่ความเสียหายท่ีบานปลายเเละ ร้ายเเรงมากกวา่ เดิม ก็เพยี งพอแล้วทีจ่ ะขอดุอาอใฺ ห้เเกเ่ ขา และกล่าวชมเชย เขา หรอื ขอลเุ เก่โทษต่ออลั ลอฮฺให้เเก่เขา ตอ่
สง่ิ ท่ีไม่ถือวำ่ เปน็ กำรนนิ ทำ การกล่าวถึงลักษณะเฉพาะของบุคคลหน่ึง โดยมีเจตนา เพ่ือให้ เป็นที่ รู้ จัก เช่ น การ กล่าว ถึ งลักษณ ะบกพร่ องทา ง รา่ งกาย เช่น เป็นใบ้ ขาเป๋ หรอื อื่นๆจากนี้ สรปุ สง่ิ ท่ไี มถ่ อื วำ่ เปน็ กำรนนิ ทำ และถ้ำนนิ ทำไปแล้วต้องทำอย่ำงร ถ้ำนินทำไปแลว้ ตอ้ งทำอย่ำงไร ถา้ หากเราได้นินทาไปแล้วหรือได้ใสร่ า้ ยเข้าแล้ว คือ จําเป็นสําหรับเรา ที่จะต้องกลับเน้ือกลับตัว และ (เตาบัต) การขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺใน ความผิดพลาดระหวา่ งเขากบั พระองค์ เเต่ถา้ เขารู้ว่าผู้ท่ีถูกเขานินทาทราบ เรื่องราวเเล้ว(ว่าถูกนินทา) ก็ให้ไปหาเขา เเละขอให้เขายกโทษให้ ด้วย มารยาทที่ดีงาม วาจาท่ีนิ่มนวล อ่อนโยน เเต่ถ้าหากเป็นในกรณีท่ีผู้ท่ีถูก นินทา ไม่รู้ตัวว่าตนโดนนินทา ก็ไม่ต้องไปแจ้งให้เขารับรู้ เเต่ให้ขอลุเเก่ โทษจากอัลลอฮฺให้เเก่เขา ขอดุอาอฺให้เขา พร้อมท้ังให้ชมเชยเขาเสมือนท่ี เคยไดน้ ินทาเขาไว้
บทท่ี4 โทษของกำรมองผอู้ ่นื ในแงร้ ำ้ ยและกำรนนิ ทำ เรามาดคู าํ สอนของอลั อสิ ลามทกี่ ล่าวตาํ หนกิ ารนินทาว่าร้าย ( إ المفلةم مة أمتةي يةأتي يةوم القي مة ب ة ة:قة ل رسةول ه و ةي م واكة ةأ ويةأتي قةد ةتم هةذاأ وقةذل هةذاأ وأكةل مة ل هةذاأ وسةفك دم هةذاأ وضةرب هةذاأ فيعطةى هةذا مة حسةن تهأ وهةذا مة حسن تهأ فإ فنيت حسن ته قبل أ يقضى م عليه أخذ م خط ية هم )2581( فطرحت عليهأ ثم طرح في الن ر! ) حيح مسلم ควำมว่ำ“แท้จริงคนที่ล้มละลำยจำกประชำชำติของฉันก็คือบุคคลที่มำในวัน กิยำมะห์ ด้วยกับกำรละหมำด กำรถือศีลอด กำรจ่ำยซำกำตแต่ว่ำเขำด่ำทอ กล่ำวว่ำ คนน้ัน ใส่ร้ำยคนนี้ และกินทรัพย์สินท่ีหะรอม (ต้องห้ำม) และ ละเมิดหล่ังเลือดผู้อ่ืน ไปตบตีคนน้ัน ดังน้ันควำมดีของเขำก็ถูกเอำ และนี่คือ ควำมดขี องเขำ เมอ่ื ควำมดขี องเขำหมดเสียก่อนที่จะชดใช้ ดังนั้นเขำต้องเอำ ควำมผิดของพวกเขำ(ควำมผิดของบุคคลท่ีเขำละเมิด)มำแบกรับไว้ หลังน้ัน เขำถูกใหเ้ ขำ้ นรก” (ซอเอยี ะมุสลิม หะดีษที่ 2581) จากหะดีษนี้ทําให้ทราบว่า สาเหตุที่ทําให้ความดีที่อุตสาห์ทําไว้ ไม่ว่า จะ เป็นความดีจากการละหมาด การถือศีลอด จ่ายซากาต และความดีอื่นๆ เขา จะต้องยืนอยู่ต่อหน้าอัลลอฮฺโดยที่ความดีที่เขาทําไว้ไม่เหลืออยู่เลยสักนิด ซํ้า แล้วเขายังต้องแบกรับความผิดของผู้อ่ืนอีก ด้วยกับสาเหตุท่ีไปละเมิดสิทธิของ ผู้อื่นโดยการนนิ ทาวา่ ร้าย เพราะคําพูดแทๆ้ ที่ทาํ ใหค้ วามดีทส่ี ะสมไว้
ต้องหมดไป จึงไม่ต่างอะไรกับบุคคลท่ีล้มละลาย การล้มละลายในโลกนี้ และแน่นอนทีส่ ุดอัลเลำะหท์ รงตรสั บอกอีกว่ำ เราสามารถแก้ตัวได้ แต่การล้มละลายในโลกหน้าจะไม่สามารถแก้ไขอะไรได้เลย َو ْي ٌل ِل ُك ِل ُه َم َاة لُّ َم َاة เมื่อโทษของการนินทาว่าร้ายมันมีโทษอย่างมากมาย และจัดอยู่ในประเภทของ บาปใหญเ่ ราอย่าไดเ้ ผลอไปกระทาํ บาปนโี้ ดยเดด็ ขาด ควำมว่ำ หำยนะจงประสบแดท่ กุ ผนู้ นิ ทำและผูใ้ สร่ ้ำยผู้อน่ื ซูเราะฮ อลั -ฮมุ าซะฮฺ อายตั ที 1 สําหรับการนินทาเป็นสิ่งท่ีน่ารังเกียจมาก และเป็นบาปใหญ่ อีกทั้งการ ยุแยงผอู้ ่ืนกบ็ าปใหญ่เช่นกนั อลั ลอฮฺ ไดต้ รสั ไว้ ความว่า คำสอนจำกฮำดิษ ท่านนบี กล่าวว่า ) سورة القلم11-10( ( َوََل تُ ِط ْع ُك َّل َح َّ ل َّم ِهي * َه َّم ا َّم َّ ء بِنَ ِميم )(َل يدخل الجن نم م ควำมว่ำ“ และเจ้ำอย่ำปฏิบัติตำมทุกคนท่ีเป็นนักสำบำนท่ีต่ำช้ำ ผู้นนิ ทำตระเวนใสร่ ้ำยผูอ้ ืน่ ” “คนท่ชี อบยุแยงตะแคงรั่วผู้อื่นจะไม่ไดเ้ ขำ้ สวรรค์” ท่ำนนบี กลำ่ วว่ำ บนั ทึกโดย มสุ ลมิ ً رأيت اسري بي رج َل:- لى ه عليه وسلم- ويقول النبي لهم أظف ر م نح م يخد و به أ وجوههم و دروهمأ หมายความว่ำจะไม่ได้เข้าสวรรคโดยทันทีในขณะท่ียังมีคุณลักษณะอันน่า هؤَلء الذي يأكلو لحوم الن مأ:فقلت م هؤَلء؟ قيل له ตําหนิเหล่าน้ีติดด้วยอยู่ด้วยจนกว่าจะถูกปลดเปล้ืองจนสะอาดบริสุทธิ์ .)ويقعو في أعراضهم เสียก่อน ซ่ึงการปลดเปลื้องนี้อาจจะเป็นไปด้วยกับการเตาบะฮฺตัวในโลก ดุนยานี้ หรืออาจจะถูกปลดเปลื้องด้วยกับการรับโทษในวันอาคิเราะฮ ควำมวำ่ “ฉันไดเ้ หน็ ในขณะท่ถี กู นำไปในค่ำคืนอสิ รอฮฺ คนกลุ่มหนึง่ โดยท่เี ขำ ตามปริมาณความผิดท่ีติดตัวไปเพื่อเป็นการลบล้างความผิดหรืออาจจะด้วย มีเล็บทเ่ี ปน็ ทองแดง พวกเขำใช้มันขว่ นใบหน้ำ และตำมหน้ำอกของพวกเขำ กับการประทานอภัยจากอัลลออเพ่ือเป็นการให้เกียรติและเป็นส่ิงที่ดีต่อเขา .. (หนังสือ ตุหฺฟะฮฺ อะหวฺ ะซยี ์ ชะเราะหญ์ าเม๊ยี ะตริ ม)ี ฉนั ได้ถำมว่ำ พวกเขำเปน็ ใครกัน ? มีเสียงตอบแก่ท่ำนว่ำ พวกเขำคือพวกที่ชอบกินเน้ือของผู้คน และพวก เขำชอบทำลำยเกยี รตขิ องคนอื่น”
โทษของการนนิ ทาวา่ ร้ายมนั มโี ทษอย่างมากมาย คำช้แี จง และจัดอยใู่ นประเภทของบาปใหญ่เราอยา่ ไดเ้ ผลอ ไปกระทําบาปนีโ้ ดยเดด็ ขาด สรุป ทา่ นนบี กลา่ วว่า คนทช่ี อบยุแยง โทษของกำรนินทำ ตะแคงร่ัวผู้อ่นื จะไม่ไดเ้ ขา้ สวรรค์” วำ่ รำ้ ย บนั ทึกโดย มสุ ลิม ในวนั ส้นิ โลกคนทีน่ นิ ทาวา่ ร้ายคนอนื่ ถ่ึงแม้เขา จะทาํ ความดี ละหมาด ถือศลี อด และจ่ายซากาต แต่ เขาได้เมดิ สิทธิของผอู้ ่นื โดยการนนิ ทาวา่ รา้ ย ในวันส้นิ โลกความดีของเขาจะไม่เหลอื และยงั ต้องรบั ความผิด ของผอู้ ื่นอกี ทเ่ี ขาได้นนิ ทาดังนน้ั จงเตาบัดในโลกน้ี ดีกวา่ ขออภัยโทษในโลกนี้ ดกี ว่าขออภัยโทษในโลก หน้า เพราะ การขออภยั โทษในโลกน้ี อลั ลอฮยังเมตตา และอภับเสมอแต่การอภยั โทษในโลกหนา้ จะไม่ สามารถแกไ้ ขอะไรไดเ้ ลย
คำนำ คำช้แี จง
บทท่ี 1 สำรบญั
การห้ามมอง ผอู้ ื่น ในแงร่ ้ายและ การนินทา
สำรบัญ สำรบัญ เรือ่ ง หน้า คํานํา คาํ ช้แี จง สารบัญ บทที่ 1 ความหมายของการนินทา ความสาํ คญั ของการนินทา ตวั อย่างการหา้ มมองผอู้ น่ื ในแงร่ ้ายและการนนิ ทา สรปุ บทที่ 1 การหา้ มมองผอู้ ื่นในแงร่ า้ ยและการนนิ ทา บทที่ 2 ขอ้ บญั ญตั ิของการนินทา สาเหตุทน่ี ําไปส่กู ารนนิ ทาวา่ ร้าย ตัวอยา่ งสาเหตุที่นาํ ไปส่กู ารนินทาว่าร้าย สรปุ สาเหตุที่นําไปส่กู ารนนิ ทาว่าร้าย
สำรบัญ สำรบัญ เรือ่ ง หน้า คํานํา คาํ ช้แี จง สารบัญ บทที่ 1 ความหมายของการนินทา ความสาํ คญั ของการนินทา ตวั อย่างการหา้ มมองผอู้ น่ื ในแงร่ ้ายและการนนิ ทา สรปุ บทที่ 1 การหา้ มมองผอู้ ื่นในแงร่ า้ ยและการนนิ ทา บทที่ 2 ขอ้ บญั ญตั ิของการนินทา สาเหตุทน่ี ําไปส่กู ารนนิ ทาวา่ ร้าย ตัวอยา่ งสาเหตุที่นาํ ไปส่กู ารนินทาว่าร้าย สรปุ สาเหตุที่นําไปส่กู ารนนิ ทาว่าร้าย
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: