Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Comparative Financial statment

Comparative Financial statment

Published by y.namkait, 2022-01-04 15:34:29

Description: Comparative Financial statment

Search

Read the Text Version

57 หน่วยท่ี 3 เร่อื ง งบการเงินเปรยี บเทียบ (Comparative Financial Statement) เน้ือหา 1. งบการเงินเปรียบเทียบ 2. งบการเงนิ เปรยี บเทียบแบบตา่ ง ๆ 3. งบการเงินเปรยี บเทยี บแบบแผนภมู ิแท่ง (Bar Chart) 4. การวเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายงบการเงนิ เปรยี บเทียบ สาระการเรียนรู้ การวิเคราะห์งบการเงินเปรียบเทียบ หรือการวิเคราะห์งบการเงินแนวนอน (Horizontal Analysis) หมายถึง การวิเคราะห์ตัวเลขในงบการเงิน โดยมีการเปรียบเทียบกับปีอ่ืน ๆ งบการเงินที่ เปรียบเทียบมีวิธีการเปรียบเทียบ 3 แบบ คือ 1. เปรียบเทียบงบการเงินปีต่อปี 2. เปรียบเทียบ งบการเงินปีต่าง ๆ กับปีใดปีหน่ึงหรือปีฐาน 3. เปรียบเทียบงบการเงินในรูปแผนภูมิแท่งการ เปรียบเทียบงบการเงินโดยแสดงด้วยกราฟในรูปของแผนภูมิแท่ง (Bar Chart) เป็นการนําผลการ เปรียบเทียบมาแสดงในรูปของแผนภูมิแท่ง จะแสดงความหมายได้ดีกว่าตัวเลข เพราะสามารถ มองเห็นภาพได้ชัดเจนกว่าการวิเคราะห์ และแปลความหมายงบการเงินเปรียบเทียบเป็นการอธิบาย ผลทีไ่ ด้จากการเปรียบเทยี บเพอ่ื หาสาเหตขุ องการเปล่ียนแปลง ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง 1. อธิบายความหมายของงบการเงนิ เปรยี บเทยี บไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 2. บอกวธิ ีแสดงการงบการเงนิ เปรยี บเทยี บไดอ้ ย่างถูกต้อง 3. แสดงการเปรียบเทียบงบการเงนิ แบบปีต่อปไี ด้อยา่ งถูกต้อง 4. แสดงการเปรยี บเทยี บงบการเงินโดยใชป้ ฐี านไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 5. แสดงการวิเคราะห์งบการเงนิ เปรยี บเทยี บโดยใช้แผนภูมิแทง่ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 6. วิเคราะหแ์ ละแปลความหมายงบการเงนิ เปรยี บเทียบได้อยา่ งถูกตอ้ ง

58 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยท่ี 3 งบการเงินเปรยี บเทียบ จงเลอื กคาตอบท่ถี กู ที่สดุ เพียงข้อเดยี ว 1. งบการเงนิ เปรียบเทยี บ หมายถงึ ก. การนํางบการเงิน ตงั้ แต่ 2 ปีข้นึ ไป มาคาํ นวณเปรียบเทียบ ข. การนาํ งบการเงนิ ต้ังแต่ 2 กจิ การขนึ้ ไป มาคาํ นวณเปรียบเทยี บ ค. การวิเคราะห์แนวโนม้ ของรายการในงบการเงนิ ง. ถูกทกุ ข้อ 2. บริษัท บ้านสวน จํากัด มียอดขายในปี 25x1 จํานวน 550,000 บาท และปี 25x2 จํานวน 580,000 บาท ร้อยละของยอดขายที่เพม่ิ ขนึ้ คอื ขอ้ ใด ก. รอ้ ยละ 5.17 ข. รอ้ ยละ 5.45 ค. ร้อยละ 5.71 ง. รอ้ ยละ 5.54 จากข้อมลู ต่อไปนตี้ อบคําถามในข้อ 3-4 หน่วย : พันบาท 25x1 25x2 25x3 ขายสทุ ธิ 750 860 920 กาํ ไรสุทธิ 35 26 50 3. ให้เปรยี บเทยี บขายสุทธิระหวา่ งปี 25x1 กบั ปี25x2 ก. ขายสุทธเิ พ่ิมขน้ึ ร้อยละ 12.79 ข. ขายสทุ ธิเพ่ิมขึ้น รอ้ ยละ 18.47 ค. ขายสุทธเิ พิ่มข้ึน รอ้ ยละ 14.67 ง. ขายสทุ ธิเพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 22.67 4. ใหเ้ ปรียบเทียบกาํ ไรสุทธิ ปี 25x2 กับป2ี 5x2 ก. กําไรสทุ ธิเพิ่มข้นึ รอ้ ยละ 9 ข. กาํ ไรสุทธิเพิ่มขนึ้ ร้อยละ 34.61 ค. กาํ ไรสุทธิเพิม่ ขึ้น รอ้ ยละ 74.28

59 ง. กําไรสทุ ธเิ พิม่ ขึ้น ร้อยละ 25.71 5. จากขอ้ มลู ต่อไปน้ีข้อใดกลา่ ว ไม่ถกู ต้อง ก. การแสดงงบการเงินเปรียบเทยี บดว้ ยแผนภูมทิ ําใหเ้ ห็นภาพได้ชดั เจนกว่า ข. Bar Chart หมายถึง แผนภมู ิแทง่ ค. การเปรียบเทียบงบการเงินโดยใช้ Bar Chart ใช้สาํ หรบั กิจการขนาดใหญ่เท่านนั้ ง. การเปรียบเทียบงบการเงินหลาย ๆ งวดจะทําให้เห็นแนวโน้มของรายการน้ัน ๆ ชัดเจน ย่ิงข้ึน 6. การเปรยี บเทยี บการเปลี่ยนแปลงของจํานวนเงินแต่ละรายการในงบการเงิน 2-3 ปีติดต่อกัน เป็นการเปรียบเทยี บ ก. การเปรยี บเทยี บร้อยละ ข. การเปรียบเทียบแบบปตี อ่ ปี ค. การเปรียบเทียบจาํ นวนเงิน ง. การเปรยี บเทยี บกับปีใดปหี นงึ่ หรอื ปีฐาน 7. การเปรยี บเทยี บงบการเงินโดยแสดงเป็นกราฟ คอื ข้อใด ก. Base Year ข. Bar Chart ค. Horizontal Analysis ง. Vertical Analysis 8. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะการเปรยี บเทียบงบการเงนิ แบบแนวนอน ก. Base Year ข. Bar Chart ค. Horizontal Analysis ง. Vertical Analysis จากข้อมลู ตอ่ ไปน้ใี หต้ อบคาํ ถามในข้อ 9 และข้อ 10 25x1 25x2 เงนิ สด (1,000) 600 ตัว๋ เงินจา่ ย 20,000 0 9. การเปลี่ยนแปลงของเงินสดคิดเปน็ ร้อยละเท่าใด ก. รอ้ ยละ 40 ข. ร้อยละ 66.66 ค. รอ้ ยละ 160 ง. ไม่ต้องแสดงรอ้ ยละ

60 10. การเปลีย่ นแปลงของต๋วั เงินจา่ ย คิดเปน็ รอ้ ยละเทา่ ใด ก. ร้อยละ 100 ข. รอ้ ยละ (100) ค. รอ้ ยละ 200 ง. ไม่ตอ้ งแสดงร้อยละ

61 1. งบการเงนิ เปรียบเทยี บ (Comparative Financial Statement) การวิเคราะห์งบการเงิน โดยใช้ข้อมูลปีใดปีหนึ่งอาจทําให้ไม่ได้ข้อมูลที่มีความหมายเพียงพอ เน่ืองจากผู้วิเคราะห์ไม่สามารถทราบว่าข้อมูลที่เห็นมีค่ามากหรือน้อย เพราะไม่มีเกณฑ์ในการ เปรยี บเทียบ การวิเคราะห์งบการเงนิ เปรียบเทียบ หรือการวิเคราะห์งบการเงินแนวนอน (Horizontal Analysis) เปน็ การเปรยี บเทยี บยอดต่าง ๆ ในงบกําไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงินกับปีอื่น ซ่ึง จะทําให้ผู้วิเคราะห์ทราบถึงการเปล่ียนแปลงของรายการต่าง ๆ และหากทําการวิเคราะห์ โดยการ เปรียบเทยี บข้อมลู หลาย ๆ ปี ก็จะทําใหท้ ราบแนวโนม้ ของรายการน้นั ๆ 1.1 ความหมายของงบการเงินเปรยี บเทยี บ งบการเงินเปรียบเทียบ(Comparative Financial Statement) หรือ การวิเคราะห์ แนวนอน (Horizontal Analysis) หมายถึง การเปรยี บเทียบรายการในงบการเงินต้ังแต่ 2 ปีข้ึนไป ให้ อยู่ในรูปของร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ ทําให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของรายการต่าง ๆ ว่ามีการ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด เพิ่มข้ึนหรือลดลง และสามารถพยากรณ์รายการที่คาดว่าจะเกิดข้ึนใน อนาคตได้ งบการเงินเปรยี บเทยี บ หรอื การวเิ คราะหแ์ นวนอน อาจเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า การวิเคราะห์ แนวโน้ม (Trend Analysis) ซึ่งการวิเคราะห์แนวโน้มจําเป็นต้องใช้ข้อมูลหลายๆปีต่อเน่ือง เพ่ือ เปรียบเทียบจึงจะสามารถมองเห็นภาพการเปล่ียนแปลงได้ชัดเจนข้ึน จะช่วยให้ผู้วิเคราะห์สามารถ สรปุ แนวโน้มฐานะการเงิน และผลการดําเนนิ งานของกิจการในช่วงเวลาหน่ึงไดช้ ดั เจนยง่ิ ขน้ึ 1.2 วิธีการแสดงงบการเงินเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบตวั เลขในรายงานทางการเงนิ โดยทัว่ ไป จะแสดง 1.2.1 จํานวนเงินท่ปี รากฏในงบการเงนิ แต่ละปี 1.2.2 จํานวนเงินทเี่ ปลีย่ นแปลงเพมิ่ ข้ึนหรือลดลง 1.2.3 อัตรารอ้ ยละการเปลย่ี นแปลงของการเปล่ียนแปลงทเ่ี พิม่ ขึน้ หรือลดลงจากปีก่อน หรือ ปฐี าน ทั้ง 3 รายการจะใช้ในการจัดทํารายงานทางการเงินเปรียบเทียบ ซึ่งเป็นมาตรฐานในการ วเิ คราะหค์ วามจําเปน็ ทที่ าํ ใหต้ ้องแสดงการเปลี่ยนแปลงทั้งจํานวนเงินและร้อยละ เน่ืองจากอัตราร้อย ละทส่ี ูงจะถือวา่ มคี วามสาํ คญั กว่าอัตรารอ้ ยละที่ตํ่ากว่า แต่ก็ไม่จริงเสมอไป เช่น การเปลี่ยนแปลงของ รายการหนึ่งเปน็ 60% จากฐานตวั เลข 1,000 บาท ยอ่ มมคี วามสําคัญน้อยกว่าอัตราการเปล่ียนแปลง 20 % แตม่ าตรฐานตัวเลข 100,000 บาท ดังน้นั จงึ ต้องใช้พิจารณาประกอบกันไป อนึ่ง ในการวิเคราะห์ตัวเลขท่ีเป็นจํานวนเงินมากๆ ผู้วิเคราะห์มักจะตัดรายละเอียดที่ไม่ สําคญั ของตวั เลขออกไปเช่น เศษสตางค์ เศษทศนิยม ให้เป็นเลขจํานวนกลม ซึ่งการแสดงผลดังกล่าว

62 ไม่ได้ทําให้ผลการวิเคราะห์เปล่ียนแปลงไปและอัตราส่วนที่คํานวณได้ผิดไป เพราะความสัมพันธ์ของ ตัวเลขไมไ่ ด้เปลี่ยนแปลง 1.2.1 จานวนเงินทีป่ รากฏในงบ งบการเงินเปรียบเทียบจะเริ่มด้วยการแสดงจํานวนเงิน ท่ีปรากฏในงบต้ังแต่ 2 งวดข้ึนไป เพราะทําให้ผู้ใช้งบการเงินได้ประโยชน์จากรายงานทางการเงินมากขึ้น เมื่อแสดงในรูปเปรียบเทียบ แม้ว่าจะยังไม่ได้คํานวณการเปลี่ยนแปลงของรายการต่าง ๆ นอกจากนี้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 เร่อื งการนาํ เสนองบการเงิน ได้กําหนดให้กิจการต้องแสดงข้อมูลของงวดก่อนเปรียบเทียบกับรายการ ทแี่ สดงในงบการเงินงวดปจั จบุ นั ด้วย แตก่ ารใช้ข้อมูลจํานวนเงินที่ปรากฏในงบเพียงอย่างเดียว อาจ ไม่เพียงพอสําหรับการตัดสินใจ เพราะระดับความมีสาระสําคัญของจํานวนเงินของแต่ละบริษัท แตกตา่ งกัน ดังนัน้ จึงตอ้ งพจิ ารณาขนาดของบริษทั ท่ีรายงานขอ้ มูลดว้ ย 1.2.2 จานวนเงินท่เี ปลย่ี นแปลงเพิ่มข้ึนหรือลดลง งบแสดงฐานะการเงินเป็นรายงานที่แสดง สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ ณ วันที่ใน งบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงฐานะการเงินเปรียบเทียบจึงแสดงสินทรัพย์ หน้ีสินและส่วนของ เจ้าของ ของกจิ การตัง้ แต่ 2 งวดขนึ้ ไป และแสดงส่วนท่ีเพิ่มขึ้น หรือลดลงเป็นจํานวนเงินเพ่ือให้ทราบ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และเพื่อนําไปคํานวณเป็นร้อยละต่อไป จํานวนเงินท่ีเปล่ียนแปลงจะใช้ วิเคราะห์รายการในงบแสดงฐานะการเงนิ ระหว่างงวด ไดแ้ ก่ 1. การได้มาของสินทรัพย์หรือการเปลี่ยนจากสินทรัพย์หนึ่งเป็นอีกสินทรัพย์หนึ่ง ตามปกตจิ ะเปน็ สนิ ทรัพย์หมุนเวยี น 2. การเปลย่ี นแปลงหนี้สนิ จากประเภทหนึง่ เปน็ อกี ประเภทหน่งึ 3. การก้ยู มื หรอื ชาํ ระหน้ี 4. การเปล่ยี นแปลงสว่ นของเจ้าของ งบกําไรขาดทุนแสดงกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิอันเป็นผลการดําเนินงานของธุรกิจในช่วง ระยะเวลาหนึ่ง งวดเวลาใดงวดเวลาหน่ึง เช่น รายปี หรือรายไตรมาส ซ่ึงอาจรวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ท่ีเกิดจากรายการพิเศษด้วย งบกําไรขาดทุนจะแสดงให้เห็นรายได้ ค่าใช้จ่าย และกําไรขาดทุน ท่ี เกิดขึ้นตลอดช่วงเวลาหนึ่ง การเปรียบเทียบงบกําไรขาดทุนสองงวดหรือหลายงวดติดต่อกันจึงต้องใช้ ความระมัดระวังในการวิเคราะห์เพ่ือให้จํานวนเงินการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้น นําไปใช้ในผลการ วเิ คราะห์ และสรปุ ผลได้อยา่ งถูกต้อง 1.2.3 แสดงรอ้ ยละของการเปลี่ยนแปลงที่เพ่ิมข้ึนหรือลดลง นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่มักพบว่า เป็นการยากท่ีจะอธิบายถึงการเปล่ียนแปลงที่สําคัญจากตัว เลขที่เป็นจาํ นวนเงิน แม้ว่าจะได้เน้นไปท่ีผลแตกต่างท่ีสําคัญแล้ว แต่การเปล่ียนแปลงจํานวนเงินของ ปีหน่ึงกับอีกปีหนึ่ง จะสามารถเข้าใจได้ดีข้ึนหากคํานวณเป็นร้อยละ ตัวอย่างเช่น ยอดขายเพิ่มขึ้น

63 ร้อยละ 60 แต่ต้นทุนขายเพ่ิมขึ้นร้อยละ 75 ซึ่งเพ่ิมข้ึนมากกว่า แสดงว่าแม้ยอดขายจะเพิ่มสูงขึ้น แต่ การท่ตี ้นทนุ ขายเพ่ิมสงู ขน้ึ มากกว่า สง่ ผลตอ่ กําไรขัน้ ตน้ ของกิจการอาจลดลงได้ 2. วธิ ีการเปรียบเทียบงบการเงิน รายการทุกรายการที่ปรากฏในงบการเงินมีความสําคัญทั้งส้ิน ตัวอย่างเช่น บริษัทแห่งหนึ่ง แสดงยอดลูกหนี้คงเหลือปลายงวด 500,000 บาท ในงบแสดงฐานะการเงิน ถ้าแสดงเพียงรายการ เดยี วเรากท็ ราบเพยี งวา่ ในวนั น้นั กจิ การมีลกู หนคี้ งเหลอื ในงบแสดงฐานะการเงินเท่าใด แต่ไม่สามารถ บอกไดว้ า่ ลกู หน้ี เพม่ิ ข้ึน หรือลดลงจากงวดบัญชีทผ่ี า่ นมาเทา่ ใด และไม่สามารถบอกได้ว่านโยบายใน การบริหารลูกหนี้ให้ผลอย่างไร เพ่ือให้ข้อมูลนี้มีความชัดเจนข้ึนจึงจําเป็นต้องเปรียบเทียบ ข้อมูล ลกู หนีใ้ นงบแสดงฐานะการเงนิ กับงวดบญั ชกี อ่ น ๆ ซงึ่ การเปรยี บเทยี บสามารถทําได้ 3 รปู แบบ ดงั น้ี 2.1 การเปรียบเทียบภายในกิจการ (Intra Company Comparisons) วิธีน้ีเป็นการ เปรียบเทียบรายการวันส้ินงวดกับปีก่อน ๆ ซึ่งอาจจะเป็นปีเดียว หรือหลายปีก็ได้ โดยพิจารณาว่า รายการนน้ั ๆ เพิ่มขนึ้ หรือลดลงอย่างไร ซ่ึงจะทําให้ฝ่ายบริหารทราบสถานการณ์ที่เป็นอยู่ เพื่อจะได้ ปรับปรงุ แกไ้ ขต่อไป ซ่งึ จะเปน็ ตัวตัดสินหรอื เปน็ เกณฑ์สําหรับที่จะพิจารณาว่าผลการดําเนินงานอยู่ใน ระดับใด ดีกว่าหรือด้อยกว่ากลุ่มอุตสาหกรรมเป็นการมองในภาพรวม ในการเปรียบเทียบนั้นอาจจะ เปรียบเทียบของงวดเวลาเดียวกัน การเปรียบเทียบข้อมูลภายในมีประโยชน์สําหรับพิจารณาการ เปลยี่ นแปลงรายการในกิจการและแนวโน้มการเปล่ียนแปลง 2.2 การเปรียบเทียบค่าเฉล่ียอุตสาหกรรม (Industry Average Comparisons) วิธีน้ีเป็น การเปรียบเทียบรายงานทางการเงินของกิจการ กับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมของกิจการประเภทนั้น ๆ โดยจะทําการเปรียบเทียบกับอตุ สาหกรรมทีม่ ีลักษณะเดยี วกนั เชน่ ถ้าจะเปรียบเทียบ งบการเงินของ โรงงานผลิตเส้ือผ้าสําเร็จรูป ก็ต้องเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมผลิตเส้ือผ้าสําเร็จรูป เป็นต้น นอกจากนี้เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ จึงควรเปรียบเทียบข้อมูลของงวด เวลาเดยี วกัน และยงั ต้องคาํ นงึ ถงึ ขนาดของอุตสาหกรรมดว้ ย วา่ มีขนาดใกล้เคยี งกนั ดว้ ย 2.3 การเปรียบเทียบระหว่างกิจการ (Inter Company Comparisons) เป็นการ เปรียบเทียบรายการของกิจการหนึ่ง กับกิจการของคู่แข่ง ซ่ึงอาจจะเป็นหนึ่งแห่ง หรือมากกว่า เช่น กิจการที่เป็นธุรกิจน้ําผลไม้กระป๋อง ก็จะเปรียบเทียบ กับคู่แข่งในอุตสาหกรรม นํ้าผลไม้กระป๋อง เหมือนกนั การเปรียบเทยี บวธิ ีน้จี ะทาํ ให้ทราบว่าเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งแล้วเราอยู่ในลําดับใด และ มีจุดแข็งจุดอ่อนอย่างไร เพ่ือจะได้ปรับปรุงแก้ไขต่อไป การเปรียบน้ีจะเปรียบเทียบข้อมูลของงวด เวลาเดยี วกัน

64 การวเิ คราะห์งบการเงินวธิ ีงบการเงนิ เปรียบเทยี บจัดทําได้ 2 รปู แบบ ดงั นี้ 1. การเปรยี บเทยี บงบการเงินปตี อ่ ปี (Year-to-Year Change Analysis) 2. ในการเปรียบเทียบกับงบการเงนิ ปใี ดปหี น่งึ ที่เป็นปีฐาน (Based Year Analysis) 1. การเปรยี บเทยี บงบการเงนิ ปีต่อปี (Year-to-Year Change Analysis) การเปรียบเทียบงบการเงินปีต่อปี เป็นวิธีการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของจํานวนเงิน แต่ละรายการในงบการเงิน 2-3 ปีติดต่อกัน ซึ่งเหมาะสําหรับการวิเคราะห์ในระยะเวลาส้ัน ๆ ท่ี สามารถดําเนนิ การไดง้ า่ ยและสามารถเขา้ ใจได้ โดยแสดงการเปล่ียนแปลงทั้งเป็นจํานวนเงิน และเป็น ร้อยละ ดังน้ันผู้วิเคราะห์ควรพิจารณาท้ังจํานวนเงินและร้อยละ การเปรียบเทียบวิธีน้ีจะแสดงการ เปล่ยี นแปลงของปีใดปีหน่ึงว่าเพ่ิมข้ึน หรือลดลงจากปีก่อน ทําให้เห็นอัตราความก้าวหน้าท่ีเกิดข้ึนได้ ชัดเจนปีต่อปี 1.1 งบกาไรขาดทนุ เปรยี บเทยี บ เป็นการเปรียบเทียบงบกําไรขาดทุน ในบริษัทเดียวกันโดยนําข้อมูลในอดีต ตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไป นํามาเปรียบเทียบหาจํานวนเงินท่ีเพิ่มข้ึนลดลง หรือไม่เปล่ียนแปลง และจํานวนเงินที่เพ่ิมขึ้น หรอื ลดลงนน้ั คดิ เป็นร้อยละเท่าใดของปีกอ่ น

65 ตัวอยา่ งท่ี 3-1 การแสดงงบกาไรขาดทนุ เปรยี บเทียบ 3 ปีตดิ ต่อกัน บริษทั เพียงตะวนั จากัด งบกาไรขาดทุนเปรยี บเทียบ สาหรบั ปสี ้ินสดุ วันท่ี 31 ธนั วาคม หน่วย : ลา้ นบาท 2550-2551 2549-2550 2551 2550 2549 เพมิ่ (ลด) เพ่ิม (ลด) จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ เงิน เงนิ รายได้จากการขายสทุ ธิ 930 855 790 75 8.77 65 8.23 ต้นทุนขาย กาํ ไรข้ันต้น 580 540 480 40 7.41 60 12.50 คา่ ใชจ้ ่ายในการขายและบรหิ าร ค่าใชจ้ า่ ย (รายได)้ อนื่ ๆ สทุ ธิ 350 315 310 35 11.11 5 1.61 กาํ ไรสุทธจิ ากการดาํ เนนิ งาน ต้นทนุ ทางการเงิน 120 110 115 10 9.09 (5) (4.35) กาํ ไรก่อนภาษเี งนิ ได้ ภาษีเงินได้ (42) (34) (22) 8 23.53 12 54.55 กาไรสุทธิ 272 239 217 33 13.81 22 10.14 30 35 28 (5) (14.29) 7 25.00 242 204 189 38 18.63 15 7.94 38 32 26 6 18.75 6 23.08 204 172 163 32 18.60 9 5.52 วิธคี านวณ 1. หายอดเพิม่ ขนึ้ (ลดลง) เปน็ จาํ นวนเงนิ 2. หาร้อยละของการเพ่มิ ขน้ึ (ลดลง) เช่น การคํานวณการเปลี่ยนแปลงของยอดขายสุทธิ ปี 2550 – 2551 1. ยอดเพม่ิ ขนึ้ (ลดลง) คือ 930 – 855 เทา่ กับ 75 ล้านบาท 2. รอ้ ยละของการเพิ่ม (ลด) คอื เพมิ่ ขนึ้ ร้อยละ 8.77 คาํ นวณจาก ยอดขายทเ่ี พมิ่ ขึน้ X 100 ยอดขายปี 2550

66 = 75 X 100 855 = 8.77 สรปุ ยอดขายปี 2551 เพิ่มขึ้นจากปี 2550 เปน็ จํานวนเงิน 75 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 8.77 การเปล่ยี นแปลงของยอดขายสุทธิ ปี 2549 – 2550 1. ยอดเพิ่มขึน้ (ลดลง) คอื 855 – 790 เทา่ กบั 65 ลา้ นบาท 2. ร้อยละของการเพิม่ (ลด) คือ เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 8.23 คาํ นวณจาก ยอดขายท่ีเพิ่มขนึ้ X 100 ยอดขายปี 2549 = 65 X 100 790 = 8.23 สรปุ ยอดขายปี 2550 เพ่ิมข้ึนจากปี 2549 เป็นจํานวนเงิน 65 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 8.23 1.2 งบแสดงฐานะการเงินเปรยี บเทยี บ งบแสดงฐานะการเงินเปรียบเทียบ เป็นการ นําข้อมูลงบแสดงฐานะการเงินต้ังแต่ 2 ปี ข้นึ ไปมาเปรียบเทียบกัน โดยแสดงยอดเพ่มิ ข้นึ (ลดลง) เปน็ จํานวนเงนิ และร้อยละ

67 ตัวอยา่ งท่ี 3-2 งบฐานะการเงินเปรยี บเทยี บ บรษิ ัท เพียงตะวัน จากดั งบแสดงฐานะการเงินเปรยี บเทยี บ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม สนิ ทรัพย์ 2551 2550 หนว่ ย:ล้านบาท สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวียน เพิ่ม (ลด) เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด 563 492 จานวนเงนิ รอ้ ยละ ลกู หน้กี ารคา้ (สุทธ)ิ 1,752 1,465 สนิ คา้ คงเหลอื 1,160 71 14.43 สนิ ทรัพย์หมุนเวียนอืน่ 984 287 19.59 รวมสนิ ทรพั ย์หมนุ เวียน 322 289 176 17.89 สินทรัพยไ์ ม่หมุนเวยี น 3,797 3,230 33 11.42 ท่ดี นิ อาคารและอุปกรณ์(สทุ ธิ) 567 17.55 คา่ ความนิยม 3,101 2,937 สินทรพั ย์ไมห่ มุนเวียนอน่ื 2,394 2,123 164 5.58 สินทรพั ย์อ่นื 271 12.76 รวมสินทรพั ย์ 956 901 55 6.10 หนส้ี ินและส่วนของผู้ถือหุ้น 262 664 (402) (60.54) หนี้สนิ หมนุ เวยี น 10,510 9,855 655 6.65 เงนิ เบิกเกินบัญชแี ละเงนิ กรู้ ะยะส้ัน เจ้าหนก้ี ารค้า 220 197 23 11.68 สว่ นของหน้สี ินระยะยาวทีถ่ งึ กาํ หนดใน 1 ปี 1,240 1,050 190 18.10 ภาษีเงนิ ไดค้ ้างจ่าย 513 106.88 คา่ ใช้จ่ายค้างจา่ ย 993 480 (65) (26.21) รวมหน้ีสินหมนุ เวยี น 183 248 150 11.61 หนส้ี ินระยะยาว 1,442 1,292 811 24.82 หนี้สินภาษีเงนิ ได้รอตดั บัญชี 4,078 3,267 (228) (6.79) 3,128 3,356 (204) (36.43) 356 560

68 หนีส้ นิ อน่ื 1,312 1,082 230 21.26 รวมหนี้สิน 8,874 8,265 609 7.37 หุ้นบุรมิ สทิ ธ์ิ หุ้นสามญั 256 292 (36) (12.33) ส่วนเกินมลู ค่าหุ้นสามญั ผลต่างการแปลงค่างบการเงิน 843 843 - - กําไรสะสม 251 251 - - รวมส่วนของเจา้ ของ รวมหนีส้ ินและสว่ นของเจ้าของ 150 130 20 15.38 136 74 62 83.78 1,636 1,590 46 2.89 10,510 9,855 655 6.65 วธิ ีคานวณ 1. หายอดเพมิ่ ข้นึ (ลดลง) เป็นจํานวนเงิน 2. หาร้อยละของการเพิ่มขน้ึ (ลดลง) เชน่ การเปลยี่ นแปลงของเงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงินสดปี 2550 – 2551 1. ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพิ่มข้ึน 71 ล้านบาท คือ 563 – 492 เท่ากับ 71 บาท 2. รอ้ ยละของการเพม่ิ (ลด) คอื เพม่ิ ขึน้ 14.43 คํานวณจาก เงินสดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สดที่เพมิ่ ขน้ึ X 100 เงินสดและรายการเทยี บเท่าเงินสดปี 2550 = 71 X 100 492 = 14.43 2. การเปรียบเทยี บกบั งบการเงินปใี ดปหี นึ่งทีเ่ ป็นปีฐาน (Based Year Analysis) การเปรียบเทียบงบการเงินมากกว่า 2 ปีติดต่อกัน นักวิเคราะห์สามารถเลือกใช้ วิธีการ เปรียบเทียบอีกวิธีหนึ่ง คือ เลือกปีใดปีหนึ่งเป็นปีฐาน (Base year) โดยให้ปีฐานเป็นตัวหารหรือ เทา่ กบั 100 ปีท่ีถูกกําหนดเป็นปีฐานควรจะเป็นปีที่ธุรกิจมีสภาพการดําเนินงานปกติ เพ่ือใช้ คํานวณ การเพิ่มข้ึนหรือลดลงของทุกรายการ

69 ตวั อยา่ ง 3-4 บริษัทแห่งหนึง่ รายงานรายได้จากการ ขายสาํ หรบั ปี 2550 - 2553 ดังน้ี รายไดจ้ ากการขาย 2550 2551 2552 2553 600,000 750,000 800,000 900,000 จํานวนเงนิ เพ่ิมขึน้ (ลดลง) จากปี 2550 รอ้ ยละท่เี พมิ่ ข้ึน (ลดลง) จากปี 2550 150,000 200,000 300,000 25 33.33 50 สมมติใหป้ ี 2550 เป็นปฐี านจะสามารถคาํ นวณว่ายอดขายมกี ารเพ่ิมขึน้ หรือลดลงจากปีฐาน (2550) รอ้ ยละเท่าใด จากสูตรดังตอ่ ไปน้ี การเปลีย่ นแปลงจากปีฐาน = ปีปจั จบุ นั – ปีฐาน x 100 ปีฐาน การคํานวณการเปลีย่ นแปลง ปี 2550 กบั ปี 2551 = 750,000 – 600,000 x 100 600,000 = 150,000 x 100 600,000 = 25% การคํานวณการเปล่ียนแปลง ปี 2550 กบั ปี 2552 = 800,000 – 600,000 x 100 600,000 = 200,000 x 100 600,000 = 33.33 % การคํานวณการเปล่ียนแปลง ปี 2550 กับปี 2553 = 900,000 – 600,000 x 100 600,000

70 = 300,000 x 100 600,000 = 50% ตัวอย่างท่ี 3 - 5 การแสดงงบกาํ ไรขาดทนุ เปรียบเทียบกบั ปีฐาน บริษัท เพียงตะวัน จากัด งบกาไรขาดทุนเปรยี บเทียบ สาหรบั ปสี น้ิ สดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2551-2549 2550-2549 2551 2550 2549 เพ่มิ ขึน้ (ลดลง) เพม่ิ ขึน้ (ลดลง) จานวน จานวน เงนิ ร้อยละ เงิน รอ้ ยละ รายไดจ้ ากการขายสุทธิ 930 855 790 140 17.72 65 8.23 ต้นทนุ ขาย 580 540 480 100 20.83 60 12.50 กาํ ไรขัน้ ต้น 350 315 310 40 12.90 5 1.61 ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร 120 110 115 5 4.35 -5 -4.35 ค่าใชจ้ ่าย (รายได)้ อ่ืน ๆ สทุ ธิ (42) (34) (22) 20 90.91 12 54.55 กํ า ไ ร สุ ท ธิ ก่ อ น หั ก ต้ น ทุ น ท า ง 55 25.35 22 10.14 การเงินและค่าใช้จ่ายภาษเี งนิ ได้ 272 239 217 ตน้ ทนุ ทางการเงนิ 30 35 28 2 7.14 7 25.00 กําไรกอ่ นภาษีเงินได้ 242 204 189 53 28.04 15 7.94 คา่ ใช้จา่ ยภาษเี งินได้ 38 32 26 12 46.15 6 23.08 กาไรสทุ ธิ 204 172 163 41 25.15 9 5.52 * ปี 2549 เปน็ ปฐี าน 3. การวิเคราะห์และแปลความหมายงบการเงินเปรียบเทยี บ 3.1 การวิเคราะห์และแปลความหมายงบกาไรขาดทุนเปรยี บเทียบ 3.1.1 การเปรียบเทียบปี 2550 – 2551

71 จากตัวอย่างท่ี 3-1 แสดงงบกําไรขาดทุนเปรียบเทียบปี 2550 – 2551 ของบริษัท เพียง ตะวัน จํากัด ผลการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นรายการเปลี่ยนแปลงท่ีสําคัญหลายรายการ ได้แก่ ยอดขายเพ่มิ ขึน้ 75 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 8.77 แต่ต้นทุนขายเพิม่ ข้ึนเพยี ง 40 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 7.41 ด้วยเหตุน้ีกําไรข้ันต้นจึงเพ่ิมขึ้น 35 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.11 ซ่ึงเพ่ิมข้ึน มากกว่าร้อยละของยอดขายท่ีเพ่ิมขึ้น กล่าวโดยสรุปว่าบริษัทสามารถควบคุมต้นทุนขายได้ดี ส่วน คา่ ใชจ้ ่ายในการขายและบรหิ ารทั่วไป เพิม่ ข้ึน 10 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 9.09 รายได้อื่น ๆ เพ่ิมข้ึน 8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.53 เป็นผลให้บริษัทมีกําไรสุทธิก่อนหักต้นทุนทางการเงินและ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ เพ่ิมข้ึน 33 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 13.81 ต้นทุนทางการเงินลดลง 5 ล้าน บาท คิดเป็นร้อยละ 14.29 กําไรก่อนหักค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เพิ่มข้ึน 38 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.63 คา่ ใชจ้ ่ายภาษเี งินได้เพิ่มข้ึน 6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.75 ดังน้ัน กําไรสุทธิของบริษัทจึง เพม่ิ ข้ึนสูงขนึ้ จํานวนเงิน 32 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 18.60 3.1.2 การเปรียบเทยี บปี 2549 – 2550 งบกําไรขาดทุนเปรียบเทียบปี 2549 – 2550 ของบริษัทเพียงตะวัน จํากัด ผลการ เปรยี บเทียบ แสดงให้เหน็ รายการเปล่ียนแปลงท่ีสําคัญหลายรายการ ได้แก่ ยอดขายเพิ่มข้ึน 65 ล้าน บาท คิดเป็นร้อยละ8.23 แต่ต้นทุนขายเพ่ิมข้ึนถึง 60 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.50 ด้วยเหตุน้ี กําไรข้ันต้นจึงเพิ่มเพียง 5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.61 ซ่ึงเพ่ิมข้ึนน้อยกว่าร้อยละของยอดขายท่ี เพิ่มข้ึน สรุปว่าบริษัทควบคุมต้นทุนขายไม่ดีนัก ส่วนค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารทั่วไป ลดลง 5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 แต่รายได้อ่ืน ๆ เพิ่มขึ้นมากถึง 12 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 54.55 เป็นผลให้บริษัทมีกําไรสุทธิก่อนหักต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น 22 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.14 ต้นทุนทางการเงินเพิ่มข้ึน 7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 25 กําไรก่อนหัก ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เพ่ิมขึ้น 15 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.94 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เพิ่มข้ึน 6 ล้าน บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 23.08 ดังน้ัน กําไรสทุ ธขิ องบริษัทเพ่ิมขน้ึ 9 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.52 3.2 การแปลความหมายของงบแสดงฐานะการเงนิ เปรยี บเทียบ จากตัวอย่าง ที่ 3-2 แสดงงบแสดงฐานะการเงินเปรียบเทียบ เป็นการเปรียบเทียบ งบแสดงฐานะการเงินปี 2551 – 2550 ของบริษัท เพียงตะวัน จํากัด ผลการเปรียบเทียบแสดงให้ เห็นรายการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญหลายรายการดังน้ี สินทรัพย์หมุนเวียนเพ่ิมขึ้น 567 ล้านบาท คิด เปน็ ร้อยละ 17.55 ประกอบดว้ ยเงนิ สด และรายการเทียบเท่าเงินสดเพมิ่ ขึ้น 71 ล้านบาท คิดเป็นร้อย ละ 14.43 ลูกหน้ีการค้า(สุทธิ) เพิ่มข้ึน 287 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 19.59 สินค้าคงเหลือเพ่ิมขึ้น 176 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 17.89 สินทรัพย์หมุนเวียนอ่ืนเพ่ิมขึ้น 33 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.42 ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ (สุทธิ) เพิ่มขึ้น 164 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.58 ค่าความนิยม เพมิ่ ข้นึ 271 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.76 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เพิ่มข้ึน 55 ล้านบาท คิดเป็น

72 รอ้ ยละ 6.10 สินทรพั ยอ์ ่ืนลดลง 402 ลา้ นบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 60.54 สินทรัพย์รวมเพ่ิมข้ึน 655 ล้าน บาท คิดเป็นร้อยละ 6.65 โดยสรุปบริษัทมีสินทรัพย์เพ่ิมขึ้น (ยกเว้นสินทรัพย์อ่ืนลดลงเพียงรายการ เดียว) คอื ลูกหน้ีการค้าได้เพ่ิมข้ึนมากท่ีสุด และรองลงมา คือ สินค้าคงเหลือและเงินสด และรายการ เทียบเท่าเงินสด ตามลําดับ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่เพิ่มขึ้นมาก คือ ค่าความนิยมซ่ึงเกิดจากการซ้ือ กิจการอื่น ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ เพ่ิมขึ้นจากการลงทุนเพ่ิม อย่างไรก็ตามผู้วิเคราะห์จะต้อง พิจารณาการเปลย่ี นแปลงของหนส้ี ินและส่วนของผู้ถอื หุ้นดว้ ย หนี้สินและสว่ นของผถู้ อื ห้นุ เปลยี่ นแปลงดังนี้ หนี้สินหมุนเวียนเพ่ิมขึ้น 811 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 24.82 ประกอบด้วยเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะส้ันเพิ่มขึ้น 23 ล้านบาท คิดเป็นร้อย ละ 11.68 เจ้าหน้ีการค้าเพิ่มขึ้น 190 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.10 ส่วนของหนี้สินระยะยาวท่ีถึง กําหนดภายใน 1 ปเี พมิ่ ข้นึ 190 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 18.10 ภาษีเงินได้ค้างจ่ายลดลง 65 ล้าน บาท คิดเป็นร้อยละ 26.21 ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิ่มข้ึน 150 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.61 หนี้สิน ระยะยาวลดลง 228 ล้านบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.79 หนสี้ นิ ภาษเี งนิ ไดร้ อตดั บญั ชลี ดลง 204 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.43 หน้ีสินอื่นเพ่ิมขึ้น 230 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 21.26 หน้ีสินรวมเพ่ิมขึ้น 609 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.37 ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น 46 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.89 ประกอบด้วยหุ้นบุริมสิทธ์ิลดลง 36 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.33 หุ้นสามัญ และส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญไม่เปล่ียนแปลง ผลต่างการแปลงค่างบการเงินเพิ่มขึ้น 20 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15.38 กําไรสะสมเพ่ิมข้นึ 62 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 63.78 หนสี้ นิ และส่วนของเจ้าของเพ่ิมข้ึน 655 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.65 โดย ส่วนของหน้ีสิน ระยะยาวทีถ่ ึงกาํ หนดใน 1 ปี เพ่ิมขนึ้ มากทีส่ ดุ รองลงมา คือ เจ้าหน้ีการค้า เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ ระยะสั้น ตามลําดับ ดังนั้นการท่ีบริษัทมีสินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้นมาก ก็เพื่อชําระหนี้สินหมุนเวียน เพม่ิ ขน้ึ เหล่าน้ี บรษิ ทั มีหน้ีสินอ่นื เพม่ิ ขน้ึ มากด้วย แต่หนี้สินระยะยาวและหน้ีสินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ลดลงมากเช่นเดียวกนั กาํ ไรสะสมของบรษิ ัทเพิ่มขึน้ และห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ์ลดลง 3.3 ข้อจากดั ของตวั เลขในการแปลความหมาย 3.3.1 ข้อจํากัดของตัวเลขในการแปลความหมาย นักวิเคราะห์ควรจะตระหนักว่า ตัวเลขทางการบัญชีที่บันทึกเป็นตัวเลขของรายการท่ีเกิดข้ึนแล้ว ดังน้ันตัวเลขในบัญชีจึงเป็นผล สะท้อนของระดับราคาต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น งบกําไรขาดทุนรวม รายการค่าเสื่อมราคา และค่าตัด จําหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน และสินค้าคงเหลือต้นงวดซ่ึงมีระดับราคาในอดีต เม่ือระดับราคา เปลี่ยนแปลงเป็นจํานวนมากในระหว่างงวด นักวิเคราะห์จึงต้องระมัดระวังในการแปลความหมาย และแนวโน้มท่ีคํานวณได้จากงบการเงินเปรียบเทียบ โดยคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงในระดับราคา ซึ่ง จะมผี ลทาํ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจผิด และอาจวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ของรายการในงบการเงินเปรียบเทียบ ไม่ถกู ต้อง

73 3.3.2 รอ้ ยละของการเปลี่ยนแปลงจะสูงหรือต่ําขน้ึ อยู่กับจํานวนเงินของรายการที่ เป็นปฐี าน ถ้าจํานวนเงินในปีฐานน้อย อตั ราร้อยละของการเปล่ียนแปลงจะเพิ่มข้ึนมากท้ัง ๆ ที่จํานวน เงินของรายการน้ันเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ผู้วิเคราะห์จึงควรแปลความหมายอย่าง ระมัดระวัง เช่น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 2551 เพิ่มข้ึนจากปี 2550 ร้อยละ 9.09 โดยเพิ่ม จาก 110 ล้านบาท เป็น 120 ล้านบาท เพมิ่ ขึ้น 10 ล้านบาท แต่ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพ่ิมข้ึน จากปี 2550 ร้อยละ 23.53 เพ่ิมข้ึน 8 ล้านบาท ซ่ึงเพิ่มขึ้นน้อยกว่าค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร แต่อัตราร้อย ละกลับเพมิ่ สูงขนึ้ อยา่ งเปรียบเทียบกนั ไม่ได้ เนื่องจากตวั ฐานของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร คือ 110 ล้านบาท แตค่ ่าใช้จา่ ยอน่ื ๆ ทเี่ ป็นตัวฐาน คือ 34 ล้านบาท 3.3.3 การวิเคราะหง์ บการเงินเปรียบเทียบแบบปีต่อปี จะได้อัตราร้อยละของการ เปลี่ยนแปลงเพ่ิมข้ึนหรือลดลงของรายการใดรายการหนึ่งจากปีก่อน อาจเป็นผลมาจากการ เปล่ียนแปลงตัวเลขที่ใช้เป็นปีฐานในการคํานวณ ทําให้ไม่มีความหมายมากนัก เพราะไม่สามารถ ทราบแนวโน้มของการดําเนินธุรกิจท่ีแท้จริงได้ การวิเคราะห์แนวโน้มโดยใช้ปีฐานเพียงปีเดียวจะ ให้ ภาพทชี่ ดั เจนกว่า 3.3.4 การคํานวณแบบปีต่อปีเป็นวิธีท่ีไม่ยุ่งยาก อย่างไรก็ตามวิธีน้ีมีกฎเกณฑ์ที่ ควรทราบ คอื เมือ่ มีจํานวนเงินเป็นลบในปฐี าน และมีจาํ นวนเงินเป็นบวกในปีถัดมา หรือมีจํานวนเงิน เป็นบวกในปฐี านและมีจํานวนเปน็ ลบในปถี ัดมาจะไมส่ ามารถ คาํ นวณรอ้ ยละของการเปล่ียนแปลงที่มี ความหมายได้ เช่นเดียวกับเมื่อไม่มีจํานวนเงินในปีฐานจะ ไม่สามารถคํานวณร้อยละของการ เปล่ียนแปลง และเมื่อมีจํานวนเงินในปีฐานแต่ไม่มีจํานวนเงิน ในปีถัดมา จะแสดงการเปลี่ยนแปลง ลดลงร้อยละ 100 ไดด้ ังตัวอย่างท่ี 3–6 ตวั อยา่ งท่ี 3–6 รายการ ปที ี่ 1 ปที ่ี 2 การเปลี่ยนแปลง จานวน ร้อยละ กําไร (ขาดทนุ ) สุทธิ ดอกเบี้ยจา่ ย (4,000) 1,200 5,200 - เงนิ สด เจ้าหน้ีการค้า 3,000 (1,500) (4,500) - อุปกรณ์สํานกั งาน 1,000 3,000 2,000 200 - 6,000 6,000 - 20,000 - (20,000) 100

74 4. งบการเงินเปรยี บเทียบแบบแผนภูมแิ ทง่ (Bar chart) ข้อมูลเปรียบเทียบในงบการเงิน อาจแสดงเป็นแผนภูมิแท่ง (Bar chart) ได้อีกวิธีหนึ่ง การ เปรียบเทียบโดยการอ่านจากแผนภมู ิจะสามารถใหค้ วามหมายได้ดีกว่าตวั เลข ตวั อยา่ งท่ี 3-7 หน่วย : พันบาท รายการ จานวนเงนิ เพิม่ ข้นึ (ลดลง) 2549 2550 จานวน รอ้ ยละ สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน 186,268 160,974 - 25,294 -13.58 หนสี้ นิ หมนุ เวียน - 11,183 -18.18 หนสี้ นิ รวม 61,510 50,327 - 18,674 -20.20 ส่วนของเจ้าของ 92,464 73,790 สนิ ทรัพย์รวม 168,899 188,765 19,866 11.76 261,364 262,555 1,191 0.46 300,000 สินทรัพยห์ มนุ เวยี น 250,000 หนีส้ นิ หมนุ เวียน 200,000 หนีส้ ินรวม 150,000 สว่ นของเจ้าของ 100,000 สนิ ทรัพย์รวม 50,000 2550 - 2549 ภาพ 3.2 แผนภูมแิ ทง่ เปรยี บเทียบ จากแผนภูมิขา้ งตน้ จะเห็นได้ว่า ถึงแมว้ า่ ทงั้ สินทรัพย์หมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียนจะลดลง ทั้งสองรายการ แต่หน้ีสินหมุนเวียนลดลงใน อัตราส่วนที่มากกว่า ดังนั้นบริษัทจึงมีสภาพคล่องดีข้ึน

75 ในปี 2550 ในส่วนของหน้ีสินรวมลดลง ในขณะท่ีส่วนของเจ้าของเพ่ิมขึ้น แสดงถึงกิจการมีการใช้ เงนิ ทนุ จากหนี้สินลดลง โดยใช้เงินทุนจากส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น แสดงว่าฐานะการเงินของกิจการมี ความมน่ั คงมากข้นึ สรุป งบการเงินเปรียบเทียบเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงินโดยการนําข้อมูลในบริษัท เดียวกัน ในรอบยะเวลาบัญชีหนึ่ง ๆ มาเปรียบเทียบกัน เพ่ือดูการเปล่ียนแปลง การนํางบกําไร ขาดทุน ต้ังแต่ 2 ปีขึ้นไป นํามาเปรียบเทียบจะแสดงให้เห็นถึง การเปล่ียนแปลงในรายได้ ค่าใช้จ่าย และผลกําไรสุทธิของกิจการ ส่วนการเปรียบเทียบในงบแสดงฐานะการเงินจะทําให้เห็นถึงการ เปล่ยี นแปลงใน โครงสร้างทางการเงนิ ของกิจการ งบการเงนิ เปรียบเทยี บสามารถจดั ทําได้ 2 รปู แบบ คือ การเปรียบเทียบแบบปีต่อปี และการ เปรียบเทียบโดยใชป้ ใี ดปีหนงึ่ เป็นปฐี าน และเพ่ือให้เหน็ ภาพที่ชัดเจนขึ้นอาจแสดงผลการเปรียบเทียบ ในรูปของแผนภูมแิ ท่ง (Bar Chart) การแปลความหมาย มีความสําคัญท่ีสุดในการวิเคราะห์ โดยผู้วิเคราะห์จะต้องพิจารณา 1) ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงจะสูงหรือต่ําข้ึนอยู่กับจํานวนเงินในปีฐาน 2) การวิเคราะห์งบการเงิน เปรียบเทียบแบบปตี ่อปีอาจทาํ ใหม้ องไมเ่ หน็ แนวโนม้ จึงควรใช้การเปรียบเทียบแบบใช้ปีใดปีหน่ึงเป็น ปีฐาน 3) การคํานวณร้อยละของการเปล่ียนแปลง ต้องพิจารณาจํานวนเงินในปีฐาน ซึ่งอาจไม่มี ความหมาย เช่น ถา้ จาํ นวนเงินในปีฐาน ติดลบ และมีเคร่ืองหมายบวก ในปีถัดไป ก็ไม่มีความหมายที่ จะคาํ นวณการเปลี่ยนแปลงนน้ั

76 คาศัพท์ทค่ี วรทราบ หน่วยที่ 3 งบการเงินเปรียบเทียบ คาศพั ท์ ความหมาย Horizontal Analysis การวเิ คราะหง์ บการเงินแนวนอน Year-to-Year Change Analysis การเปรยี บเทยี บงบการเงนิ ปีตอ่ ปี Based Year Analysis การเปรียบเทียบกับงบการเงินปีใดปีหน่ึงท่ี เป็นปีฐาน Bar chart กราฟแท่ง Intra Company Comparisons การเปรยี บเทียบภายในกจิ การ Industry Average Comparisons การเปรียบเทียบค่าเฉล่ยี อตุ สาหกรรม Inter Company Comparisons การเปรยี บเทยี บระหว่างกิจการ

77 กจิ กรรมหนว่ ยท่ี 3 งบการเงินเปรียบเทียบ ตอนท่ี 1 จงตอบคาํ ถามตอ่ ไปน้ี 1. การวเิ คราะหง์ บการเงินเปรียบเทยี บ มคี วามหมายอยา่ งไร 2. งบการเงนิ การเปรยี บเทยี บมีกร่ี ปู แบบ อะไรบ้าง 3. การจดั ทํางบการเงนิ เปรียบเทยี บ มีกว่ี ธิ ี อะไรบา้ ง 4. งบการเงนิ เปรียบเทยี บแบบปีต่อปมี ขี ั้นตอน วิธกี ารจดั ทําอยา่ งไร 5. การเปรียบเทียบงบการเงินแบบปีต่อปี และการเปรียบเทียบงบการเงินกับปีฐาน ต่างกัน อย่างไร จงอธิบาย ตอนท่ี 2 ขอ้ .1 ต่อไปน้เี ปน็ งบแสดงฐานะการเงินของบรษิ ทั ไมท้ อง จํากดั บรษิ ทั ไม้ทอง จํากัด งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25x2 และ25x1 สินทรัพย์ 25x2 25x1 สนิ ทรพั ยห์ มุนเวียน 21,500 31,600 เงนิ สด 66,800 61,700 ลกู หนีก้ ารค้า (สุทธ)ิ 62,000 51,600 สนิ ค้าคงเหลือ 150,300 144,900 รวมสนิ ทรพั ย์หมนุ เวียน สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวยี น 201,400 181,200 ทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ-์ สุทธิ 351,700 326,100 รวมสนิ ทรัพย์ หนีส้ นิ และสว่ นของผถู้ ือหุ้น 51,100 65,000 หน้ีสินหมนุ เวียน เจา้ หน้ีการค้า หน้สี ินไมห่ มนุ เวียน

78 เงนิ กรู้ ะยะยาว 101,300 101,900 รวมหนสี้ ิน 152,400 166,900 สว่ นของผถู้ ือหุน้ หุ้นสามัญ (มูลค่าหนุ้ ละ 10 บาท) 141,800 121,800 กาํ ไรสะสม 57,500 37,400 รวมส่วนของผู้ถอื หนุ้ 199,300 159,200 รวมหน้สี ินและสว่ นของผถู้ ือหุ้น 351,700 326,100 ให้ทาํ 1. งบการเงินเปรยี บเทียบ แบบแนวนอน (Horizontal Analysis) 2. วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมาย ข้อ.2 ตอ่ ไปน้เี ปน็ งบกาํ ไรขาดทุนของบรษิ ทั บานบุรี จาํ กดั บริษทั บานบรุ ี จํากัด งบกาํ ไรขาดทุน สําหรบั ปสี น้ิ สุดวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2และ 25x1 25x2 25x1 499,100 ขายสุทธิ 549,200 419,400 79,700 หกั ต้นทนุ ขาย 439,200 43,500 36,200 กาํ ไรขนั้ ตน้ 110,000 10,300 25,900 หัก ค่าใช้จ่ายในการดําเนนิ งาน 56,700 กําไรจากการดําเนนิ งาน 53,300 หกั ภาษีเงนิ ได้ 15,340 กาํ ไรสุทธิ 37,960 ให้ทํา 1. งบการเงินเปรียบเทียบ แบบแนวนอน 2. วิเคราะห์และแปลความหมาย

79 ขอ้ .3 ตอ่ ไปนี้เปน็ งบการเงนิ ของบรษิ ัท พุดตาน จาํ กัด บริษัท พุดตาน จากดั งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25x2 และ 25x1 สนิ ทรพั ย์ 25x2 25x1 สนิ ทรพั ย์หมุนเวยี น เงนิ สด 61,200 56,100 เงนิ ลงทุนระยะส้นั 46,900 41,400 ลูกหนก้ี ารค้าสทุ ธิ 95,400 91,200 สนิ คา้ คงเหลือ 101,000 126,300 คา่ ใช้จ่ายลว่ งหนา้ 26,000 24,800 รวมสินทรพั ยห์ มนุ เวยี น 330,500 339,800 สินทรัพย์ไมห่ มนุ เวียน ที่ดินอาคารและอุปกรณส์ ทุ ธิ 354,700 309,400 รวมสนิ ทรพั ย์ 685,200 649,200 หนสี้ ินและสว่ นของผูถ้ ือหนุ้ หน้ีสินหมนุ เวยี น 101,300 101,200 ต๋ัวเงินจ่าย 46,500 43,100 เจ้าหนกี้ ารค้า 41,200 42,800 คา่ ใช้จา่ ยคา้ งจา่ ย 189,000 187,100 รวมหน้ีสนิ หมุนเวียน หน้ีสินไมห่ มุนเวียน 155,500 155,500 หุน้ กรู้ ะยะยาว (ครบกาํ หนด 2553) 344,500 342,600 รวมหนี้สิน สว่ นของผูถ้ อื หุ้น 220,000 220,000 หุ้นสามญั (มูลคา่ หนุ้ ละ 10 บาท) 120,700 86,600 กําไรสะสม 340,700 306,600 รวมสว่ นของผูถ้ ือห้นุ 685,200 649,200 รวมหน้ีสินและสว่ นของผู้ถือหุน้

80 บรษิ ัท พุดตาน จากดั งบกาไรขาดทุน สาหรบั ปีส้นิ สดุ วนั ที่ 31 ธันวาคม 25x2 และ 25x1 ขายสทุ ธิ 25x2 25x1 853,400 793,300 หัก ต้นทุนขาย 613,500 573,200 กาํ ไรข้ันต้น 239,900 220,100 หกั ค่าใช้จ่ายในการดําเนนิ งาน 197,500 183,500 กาํ ไรจากการดําเนินงาน 42,400 36,600 หัก ดอกเบย้ี จ่าย 15,500 13,500 กาํ ไรก่อนหักภาษี 26,900 23,100 หัก ภาษเี งนิ ได้ 13,700 12,500 กําไรสุทธิ 13,200 10,600 ใหท้ าํ 1. งบการเงินเปรียบเทยี บ แบบแนวนอน 2. วิเคราะหแ์ ละแปลความหมาย ขอ้ .4 Income statement data for Tom corporation appear below Tom Corporation Income statement for the year ended December 31 ,2012 and 2011 2012 2011 900,000 Sales 1,000,000 150,000 1,050,000 Sales return and allowances 100,000 500,000 550,000 Net sales 1,100,000 318,000 232,000 Cost of goods sold 520,000 112,800 119,200 Gross profit 580,000 Selling and administrative 336,000 Operating profit 244,000 Income tax expenses 117,600 Net income 126,400

81 Instructions: Prepare a horizontal analysis of the income statement and balance sheet for Tom Corporation ขอ้ .5 The comparative statement of V&V company are presented below V&V COMPANY Income statement for the year ended December 31 ,2012 and 2011 2012 2011 Net sales 1,010,000 880,000 Cost of goods sold 535,000 474,000 Gross profit 475,000 406,000 Selling and administrative expenses 270,000 234,000 Operating profit 205,000 172,000 Interest expenses 128,000 126,000 Earnings before tax 77,000 46,000 Income tax expenses 23,100 13,800 Net income 53,900 32,200

82 ขอ้ .6 The comparative statement of Blue Company are presented below Blue Company Financial Position Statement As of December 31,2012 and 2011 2012 2011 Assets 33,000 30,000 Current assets 89,000 85,000 cash 35,000 237,000 398,000 marketable securities 33,000 635,000 Accounts receivable net 75,000 52,000 19,000 Inventories 120,000 14,500 85,500 Total current assets 263,000 90,000 82,000 Plant asset-net 450,000 257,500 Total assets 713,000 165,000 212,500 Liabilities and stockholders 377,500 635,000 Current liabilities Accounts receivable net 65,000 payable 28,000 Income taxes payable 12,000 Total current liabilities 105,000 Long term liabilities 95,000 Bond payable 100,000 Total Liabilities 300,000 Stockholders ‘equity Common Stock($5 par) 165,000 Retained earnings 248,000 Total stockholder's equity 413,000 Total liabilities and stockholders’ equity 713,000 Instruction Prepare a horizontal of the Financial Position Statement for Blue Company

83 แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 3 งบการเงินเปรียบเทียบ จงเลือกคาตอบท่ีถูกท่สี ดุ เพียงข้อเดียว 1. การเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงของจํานวนเงินแต่ละรายการในงบการเงิน 2-3 ปีติดต่อกัน เป็นการเปรยี บเทียบ ก. การเปรยี บเทยี บร้อยละ ข. การเปรยี บเทยี บแบบปตี อ่ ปี ค. การเปรยี บเทียบจาํ นวนเงนิ ง. การเปรยี บเทียบกบั ปีใดปหี นงึ่ หรอื ปฐี าน 2. ข้อใดเปน็ ลกั ษณะการเปรยี บเทยี บงบการเงนิ แบบแนวนอน ก. Base Year ข. Bar Chart ค. Horizontal Analysis ง. Vertical Analysis จากขอ้ มลู ต่อไปน้ใี ห้ตอบคาํ ถามในข้อ 3 และขอ้ 4 25x1 25x2 เงินสด (1,000) 600 ต๋วั เงนิ จา่ ย 20,000 0 3. การเปลีย่ นแปลงของเงนิ สดคิดเปน็ รอ้ ยละเท่าใด ก. รอ้ ยละ 40 ข. รอ้ ยละ 66.66 ค. ร้อยละ 160 ง. ไมต่ ้องแสดงรอ้ ยละ 4. การเปล่ยี นแปลงของตว๋ั เงนิ จ่าย คดิ เป็นรอ้ ยละเท่าใด ก. รอ้ ยละ 100 ข. รอ้ ยละ (100) ค. รอ้ ยละ 200 ง. ไมต่ ้องแสดงรอ้ ยละ

84 จากขอ้ มลู ตอ่ ไปนี้ตอบคาํ ถามในขอ้ 5-6 หน่วย : พนั บาท 25x1 25x2 25x3 ขายสุทธิ 750 860 920 กาํ ไรสุทธิ 35 26 50 5. ให้เปรียบเทียบขายสุทธริ ะหว่างปี 25x1 กับปี25x2 ก. ขายสุทธิเพม่ิ ขึ้น รอ้ ยละ 12.79 ข. ขายสทุ ธเิ พ่มิ ขึ้น ร้อยละ 18.47 ค. ขายสุทธเิ พิ่มขึน้ รอ้ ยละ 14.67 ง. ขายสุทธเิ พิม่ ขน้ึ รอ้ ยละ 22.67 6. ให้ เปรียบเทียบกําไรสทุ ธิ ปี 25x1กับปฐี าน25x2 ก. กาํ ไรสุทธิเพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 9 ข. กาํ ไรสุทธเิ พม่ิ ขึน้ ร้อยละ 34.61 ค. กําไรสทุ ธเิ พิ่มขึ้น รอ้ ยละ 74.28 ง. กาํ ไรสทุ ธเิ พ่มิ ข้ึน รอ้ ยละ 25.71 7. บริษัท บ้านสวน จํากัด มียอดขายในปี 25x1 จํานวน 550,000 บาท และปี 25x2 จํานวน 580,000 บาท รอ้ ยละของยอดขายท่เี พิ่มขึน้ คือข้อใด ก. รอ้ ยละ 5.17 ข. ร้อยละ 5.45 ค. ร้อยละ 5.71 ง. ร้อยละ 5.54 8. งบการเงนิ เปรียบเทยี บ หมายถงึ ก. การนาํ งบการเงนิ ต้ังแต่ 2 ปขี ึ้นไป มาคํานวณเปรยี บเทยี บ ข. การนาํ งบการเงินตัง้ แต่ 2 กจิ การข้นึ ไป มาคาํ นวณเปรียบเทียบ ค. การวิเคราะหแ์ นวโนม้ ของรายการในงบการเงิน ง. ถูกทุกข้อ 9. การเปรยี บเทียบงบการเงินโดยแสดงเป็นกราฟ คอื ข้อใด ก. Base Year ข. Bar Chart ค. Horizontal Analysis ง. Vertical Analysis

85 10. จากขอ้ มูลต่อไปนข้ี อ้ ใดกล่าว ไมถ่ ูกต้อง ก. การแสดงงบการเงินเปรยี บเทียบด้วยแผนภมู ทิ ําให้เหน็ ภาพไดช้ ัดเจนกว่า ข. Bar Chart หมายถงึ แผนภมู แิ ท่ง ค. การเปรียบเทยี บงบการเงินโดยใช้ Bar Chart ใช้สําหรบั กจิ การขนาดใหญเ่ ทา่ นน้ั ง. การเปรียบเทียบงบการเงินหลาย ๆ งวดจะทําให้เห็นแนวโน้มของรายการน้ัน ๆ ชัดเจน ย่ิงข้นึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook