141 2. ใหเ้ รยี งลาดับขัน้ ตอนของการจัดทาบันทึกรายรบั -รายจ่ายลงในช่องวา่ ง ตอบ ขน้ั ตอนที่ 1: ค. กาหนดระยะเวลาทจ่ี ะบันทึก ขนั้ ตอนที่ 2: ง. เลือกสมดุ ทีจ่ ะใช้เปน็ สมุดบนั ทกึ รายรบั -รายจา่ ย ข้ันตอนที่ 3: ข. จดรายรบั และรายจ่ายทุกครง้ั ขัน้ ตอนที่ 4: ก. รวมยอดเงินเพ่อื วิเคราะห์ 3. ทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของบันทึกรายรับ-รายจ่าย และทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่ไม่ใช่ส่วนประกอบที่สาคัญของบันทึกรายรับ- รายจ่าย ตอบ 1) การบันทกึ รายรับ-รายจา่ ย 2) การคานวณอัตราส่วนหน้ีสนิ ตอ่ รายได้ 3) การวเิ คราะห์รายรบั -รายจา่ ย 4) การประเมินฐานะการเงิน 5) การสรุปรายรับ-รายจา่ ย 4. การจดั ทาบนั ทึกรายรบั -รายจ่ายมปี ระโยชนอ์ ย่างไร ตอบ 1) ทาใหร้ พู้ ฤติกรรมการใชจ้ ่ายท่ีอาจทาให้เกิดปัญหาเงินไมพ่ อใช้ การบนั ทึก รายจ่ายท่ีเกิดขึ้นทุกครั้ง จะทาให้ทราบว่าใช้จ่ายเงินไปกับส่ิงใดบ้าง เช่น จ่าย ค่าสังสรรค์หรือค่าเหล้าเดือนละ 2,000 บาท (1 ปีก็เป็นเงิน 24,000 บาท) ซื้อหวยงวดละ 1,000 บาท (แต่ในระยะเวลา 2 ปี ถูกรางวัลแค่ 1 คร้ัง ได้เงิน รางวัลน้อยกว่าค่าหวยที่เสียไป) เมื่อทราบว่าเงินหายไปไหน ก็สามารถวางแผนให้มี เงินพอใช้ได้ เช่น ลดค่าเหล้าเหลือเดือนละ 1,000 บาท (ก็จะได้เงินเก็บปีละ 12,000 บาท) หรืองดเหล้าไปเลย เลิกซื้อหวยเดือนละ 1,000 บาทแล้วนาเงินมา ออมแทน (ส้นิ ปกี เ็ หมือนถกู รางวัล 24,000 บาท 4 ปีก็มีเงนิ เกบ็ เกือบแสน) เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
142 2) ทาใหส้ ามารถวางแผนการเงินทเ่ี หมาะสมกับพฤติกรรมของตนเองได้ การบันทึก จะทาให้ทราบลักษณะของรายรับและรายจ่ายว่ามีความถี่แค่ไหน จานวนเท่าไร ซ่ึงข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนจัดสรรเงินท่ีได้รับ ให้มีพร้อม และเพียงพอต่อรายจ่ายที่เกิดข้ึนในแต่ละเดือน และหากพบว่ารายรับไม่ เพยี งพอกบั รายจา่ ย กส็ ามารถวางแผนลดรายจ่ายหรือหารายได้เพ่ิมได้ 3) ทาให้เห็นสัญญาณของปัญหาทางการเงินและสามารถวางแผนแก้ไขได้ การบันทึกรายรับ-รายจ่ายเป็นประจา จะทาให้ทราบทันทีหากมีสัญญาณของ ปัญหาการเงิน เช่น มีรายจ่ายเกินรายรับติดต่อกันหลายเดือนจนต้องก่อหนี้ (เงินไม่พอใช้อยู่แล้ว พอก่อหน้ีเพ่ิมก็ไม่มีเงินจ่ายหน้ี) ต้องจ่ายหนี้มากกว่า 1 ใน 3 ของรายรับ (อาจทาให้ไม่มีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายอ่ืน ๆ จนต้องก่อหนี้เพ่ิม หน้ีก็มี มากอยู่แล้ว ก็ยิ่งเพิ่มมากข้ึนจนเงินไม่พอจ่าย) ไม่มีเงินออมเลย (เมื่อมีความ จาเป็นต้องใช้เงินก้อน ก็ต้องก่อหนี้) และเม่ือทราบสัญญาณของปัญหา ก็จะ สามารถวางแผนแกไ้ ขก่อนทจ่ี ะกลายเปน็ ปญั หาใหญโ่ ต 5. จากหลักการจัดลาดบั ความสาคัญของรายจ่าย ควรทาอย่างไรกบั รายจา่ ยต่อไปน้ี 1) รายจา่ ยจาเป็นและไม่สามารถรอได้ ใหจ้ า่ ยกอ่ น 2) รายจ่ายจาเปน็ แต่สามารถรอได้ ให้ออมเงนิ เพอ่ื จา่ ย 3) รายจา่ ยไม่จาเปน็ ใหพ้ ยายามตัดใจ หากทาไมไ่ ด้ ใหอ้ อมเงนิ ซ้อื เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
143 กิจกรรมท่ี 3.2 ให้จัดทาบันทึกรายรับ-รายจ่ายตามข้ันตอนการจัดทาบันทึกรายรับ-จ่ายเป็น ระยะเวลา 1 เดอื น แล้ววิเคราะห์ดงั น้ี 1. สรุปรายรับ-รายจา่ ย ตอบ หากผลลัพธท์ ่ไี ด้เป็นบวก แสดงว่ามีการใช้จ่ายนอ้ ยกว่ารายรับที่มีอยู่ จึงยัง มเี งนิ เหลอื ตามจานวนทคี่ านวณได้ และเม่อื พบวา่ เงินเหลอื ก็ควรวางแผนจัดสรรว่าจะนาเงินนั้น ไปทาอะไร เช่น นาไปเป็นเงินออมเพิ่มเติมจากท่ีออมไปแล้วเมื่อมีรายได้เข้ามา นาไปบริจาค หรือตั้งเป็นเงินออมอีกก้อนหน่ึงเพ่ือนาเงนิ ไปลงทุน หากผลลัพธ์ติดลบ แสดงว่ามีการใช้เงินเกินรายรับที่มีอยู่ตามจานวนที่ ติดลบ จึงต้องหาสาเหตุของการใช้เงินเกิน เช่น อาจมีค่าใช้จ่ายบางประเภทมากเกินไปหรือ มากกวา่ ปกติ ดังนั้น จะตอ้ งวางแผนลดรายจ่าย โดยเริ่มพิจารณาจาก “รายจ่ายไม่จาเป็น” ว่ามี รายการใดที่สามารถลดได้ หรือพิจารณาจาก “รายจ่ายจาเป็น” ว่ามีรายจ่ายท่ีไม่จาเป็น แอบแฝงอยหู่ รือไม่ 2. วเิ คราะห์รายรบั -รายจา่ ย ตอบ 1) รายรบั ใหพ้ จิ ารณาถึงจานวนและความถ่ขี องรายรบั เช่น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน เพอ่ื เป็นแนวทางในการวางแผนใช้เงินว่า เงินท่ีได้รับนั้นจะต้องใช้อีกก่ีวัน จึงจะได้รับเงินรอบใหม่ หากมีค่าใช้จ่ายเกิดข้ึนในวันท่ียังไม่ได้รับเงิน จะนาเงินส่วนไหนออกมา ใช้จ่าย และหากจาเป็นต้องหารายไดเ้ พิ่ม จะหารายไดเ้ พมิ่ จากแหล่งใด 2) เงินออม ใหพ้ จิ ารณาถงึ จานวนและความถี่ของการออม เช่น ออมทุกวนั วันละ 20 บาท หรือออมสัปดาห์ละครั้ง คร้ังละ 500 บาท หรือเดือนละครั้ง คร้ังละ 2,500 บาท ซึ่งจะทาให้ทราบความสามารถในการออมว่า สามารถออมได้เท่าไร และสามารถ ออมได้ทุกวัน สัปดาห์ละครั้ง หรือเดือนละครั้ง โดยข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ต่อการวาง แผนการออม 3) รายจา่ ยไม่จาเป็น โดยเปรียบเทยี บกับรายจา่ ยจาเปน็ ว่ารายจ่ายไหนสงู กว่า กนั หากมี “รายจา่ ยไมจ่ าเปน็ ” สงู กวา่ “รายจา่ ยจาเป็น” น่ันแสดงว่า ควรลดรายจ่ายไม่จาเป็น ลง ดังน้นั ควรวางแผนลดรายจา่ ยไมจ่ าเปน็ โดยเริ่มดูว่ามีรายจ่ายไหนในกลุ่มรายจ่ายนี้สามารถ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่ือง ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
144 ลดได้บ้าง เช่น ค่าหวย ค่าเหล้า ค่าบุหร่ี ค่ากาแฟ และลองคานวณดูว่าหากลดรายจ่ายเหล่านี้ แล้ว ใน 1 เดือนจะมีเงนิ เหลอื เทา่ ไร 4) รายจา่ ยจาเปน็ ใหท้ บทวนรายจา่ ยจาเป็นอีกครั้งว่า ทกุ รายการเปน็ รายจา่ ย จาเปน็ ทัง้ หมดจริงหรือไม่ หากบางรายการสามารถลดหรอื ซ้อื ของที่ถูกกว่ามาทดแทนได้ ก็ควร ลองลดหรอื ซื้อของทถี่ ูกกว่ามาใช้แทน เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชดุ วชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ติ 1 l ระดับประถมศึกษา
145 กจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 4 การตง้ั เปา้ หมายและจดั ทาแผนการเงนิ กจิ กรรมท่ี 4.1 ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ประโยชน์ของการมเี ป้าหมายการเงนิ มอี ะไรบ้าง ตอบ 1) ทาให้จัดทาแผนการเงินไดง้ ่ายข้นึ 2) ทาใหเ้ กิดความมุง่ ม่นั และบรรลสุ ิง่ ที่ต้องการงา่ ยข้นึ 3) ทาให้ทราบถงึ อปุ สรรคท่อี าจทาให้ไม่บรรลุเป้าหมายที่ตงั้ ไว้ 4) ชว่ ยให้บรรลุเปา้ หมายด้านอ่ืน ๆ 2. ให้ยกตัวอย่างเป้าหมายการเงินท่ีควรมีในชีวิตอย่างน้อย 2 เป้าหมายในแต่ละด้าน ต่อไปนี้ ตอบ เป้าหมายด้านรายรับ เปา้ หมายดา้ นการออม เพ่ิมรายไดจ้ ากการทาอาชีพเสริม เช่น ออมเผือ่ เหตฉุ ุกเฉนิ ทาขนมขาย รับจ้างเยบ็ ผา้ ออมเพ่ือเปน็ ค่าเลา่ เรยี น ซอ่ มเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ออมเพื่อแตง่ งาน ออมเพอ่ื ซอ้ื รถ/บา้ น ฯลฯ ออมเพื่อลงทนุ ออมเพื่อใชจ้ ่ายในวยั ชรา ออมเพื่อซ้ือของท่อี ยากได้ ฯลฯ เป้าหมายดา้ นรายจ่าย เป้าหมายดา้ นหนสี้ ิน ลดรายจา่ ยค่าของใช้ไมจ่ าเป็น เช่น ลด เพอ่ื ปลดหนร้ี ถ/บ้าน/อน่ื ๆ คา่ หวย ลดคา่ เหล้า ลดค่าบุหรี่ เพ่อื ลดหนี้ (จา่ ยหนี้ให้มากขน้ึ งดรายจา่ ยไมจ่ าเปน็ เชน่ งดค่านา้ เพ่ือให้หนี้หมดเร็วขนึ้ ) เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวติ 1 l ระดับประถมศกึ ษา
146 สมุนไพรดบั กระหาย งดค่าหวย งดใชบ้ ตั รผอ่ นสนิ คา้ หรือบัตร ลดรายจ่ายจาเปน็ โดยใช้สินค้าทรี่ าคา เครดิต ถกู กว่าแทน เช่น ใชส้ บ่ธู รรมดาแทน ก่อหนีเ้ ฉพาะรายจา่ ยจาเป็น สบู่นาเข้าจากตา่ งประเทศราคาแพง ฯลฯ ฯลฯ 3. เป้าหมายการเงินต่อไปนี้ เป็นเป้าหมายการเงินที่ดีหรือไม่ โดยให้ทาเคร่ืองหมาย ในตาราง ตอบ เปา้ หมายการเงนิ ดหี รือไม่...? 1. เดก็ หญิงอ้อมจะออมเงินเพื่อซื้อบ้านราคา 10 บาทในปีหน้า โดย ทีไ่ มม่ เี งนิ เก็บเลยสักบาท 2. นายมานะจะออมเงินวันละ 20 บาททุกวันเป็นระยะเวลา 15 ปี เพื่อให้ไดเ้ งนิ ออมจานวน 108,000 บาท 3. นางมาลาจะออมเงินเพื่อจา่ ยหน้ี 4. น า ง ม า นี จ ะ อ อ ม เ งิ น เ ดื อ น ล ะ 1 , 0 0 0 บ า ท เ ป็ น เ ว ล า 15 เดือนเพอ่ื ซอื้ เคร่อื งปรับอากาศราคา 15,000 บาท กิจกรรมท่ี 4.2 ใหว้ างแผนการเงนิ ของตนเองลงในช่องวา่ ง ตอบ หลักการวางแผนการเงนิ : การวางแผนการเงินสามารถทาไดต้ ามหลักการดังนี้ 1) ระบุเป้าหมายการเงิน เพื่อบอกจุดมุ่งหมายของแผนทั้งหมด โดยจะต้องเป็นไป ตามหลักเปา้ หมายการเงินท่ดี ี (SMART) 2) ระบุจานวนเงินท่ีต้องการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย โดยจะต้องระบุเป็นจานวนเงิน หรือตัวเลขให้ชดั เจนว่าตอ้ งใช้เงินเท่าไร เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรื่อง ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
147 3) ระบุระยะเวลาที่ต้องใช้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเงิน โดยระบุเป็นจานวนวัน เดอื น หรือปี 4) คานวณจานวนเงินทตี่ ้องออมต่อเดือน โดยคานวณว่าต้องออมเงินเดือนละเท่าไร เพื่อให้ได้จานวนตามที่ต้องการ สามารถคานวณได้จากนาจานวนเงินท่ีต้องการ หารด้วยระยะเวลา (เดือน) ก็จะทาให้ทราบว่าควรเก็บเงินเดือนละเท่าไรเพ่ือให้ ได้เงนิ ตามจานวนที่ต้องการ 5) จัดทาแผนการออม โดยกาหนดแหล่งเงินท่ีจะใช้เป็นเงินออมในแต่ละเดือน ซึ่ง สามารถทาได้ทั้งการเพ่ิมรายรับและลดรายจ่าย โดยพิจารณารายจ่ายจาก การบันทึกรายรับ-รายจ่ายว่ามีรายจ่ายไม่จาเป็นใดที่สามารถลดหรือเลิกแล้ว นามาเป็นเงินออมได้หรือไม่ เช่น ลดค่ากาแฟจากท่ีด่ืมทุกวันเป็นด่ืมวันเว้นวัน หากกาแฟราคา 30 บาทต่อแกว้ ลดคา่ กาแฟจานวน 15 วัน จะได้เงนิ 450 บาท กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 5 การออม กิจกรรมท่ี 5.1 ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ใหบ้ อกความหมายของการออม ตอบ การออมเป็นการแบ่งรายได้ส่วนหน่ึงในปัจจุบันไปเก็บสะสมไว้ใช้ในอนาคต ซึ่ง สามารถทาได้หลายรูปแบบ ต้ังแต่การเก็บสะสมด้วยตนเอง เช่น หยอดกระปุก ออมสิน เก็บสะสมไว้ที่บ้าน ไปจนถึงการนาไปฝากไว้กับสถาบันการเงิน ซ่ึงมักอยู่ ในรูปแบบที่มีความเสี่ยงต่อการสูญเสียเงินต้นต่า และได้รับผลตอบแทนไม่สูงนัก เมื่อเทียบกับการลงทุน เช่น การฝากในบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ บัญชีเงินฝาก ประจา การซ้ือสลากออมทรัพย์ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่ือง ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
148 2. ประโยชน์ของการออมมอี ะไรบ้าง ให้อธิบาย ตอบ 1) ช่วยแบ่งเบาภาระเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน โดยไม่ต้องก่อหนี้หรือขอความ ช่วยเหลือจากบคุ คลอน่ื 2) ช่วยลดความเส่ียงท่ีจะมีปัญหาการเงิน เม่ือมีเหตุทาให้เงินท่ีมีไม่พอต่อ คา่ ใช้จา่ ยที่เกดิ ข้ึน กส็ ามารถนาเงินออมออกมาใช้ก่อนได้ ช่วยลดปัญหาเงิน ไม่พอใชซ้ ึ่งเปน็ สาเหตหุ น่ึงของปัญหาการเงินได้ 3) ช่วยทาให้ความฝันเป็นความจริง เงินออมท่ีมีอาจนาไปเป็นเงินทุนเพื่อทา กิจการของตนเอง เรียนเพิ่มทักษะ คอมพิวเตอร์ ภาษา หรือปริญญาโท เป็นเงินดาวน์บ้าน ดาวน์รถ หรือเพื่อสร้างครอบครัว เช่น เพ่ือจัดงาน แตง่ งาน เพ่ือการศกึ ษาบุตร เพื่อท่องเทีย่ วกับครอบครัว 4) ช่วยสร้างโอกาสให้มีรายได้มากขึ้น เช่น นาเงินออมไปซื้อหุ้น พันธบัตร กองทุนรวม หรือนาไปลงทุนซ้ือห้องแถวให้เช่า ก็มีโอกาสที่จะทาให้เงินที่มี อย่งู อกเงยมากขนึ้ 3. ให้ตั้งเปา้ หมายการออมท่ดี ีของตนเองลงในตาราง ตอบ อาจตง้ั เป้าหมายดงั ต่อไปน้ี 1) เงินออมเพื่อใชใ้ นยามฉกุ เฉนิ 2) เงินออมเพอ่ื ใช้จา่ ยในยามชรา 3) เงนิ ออมเพอ่ื ค่าใชจ้ ่ายจาเปน็ ทเี่ ป็นก้อนใหญ่ 4) เงนิ ออมเพือ่ การลงทนุ 5) เงนิ ออมเพื่อของที่อยากได้ 6) เงนิ ออมเพือ่ ปลดหน้ี เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรือ่ ง ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวติ 1 l ระดบั ประถมศึกษา
149 4. หลักการออมใหส้ าเร็จมีอะไรบ้าง ใหอ้ ธิบาย ตอบ 1) ออมก่อนใช้ เมื่อได้รับเงินมา ควรแบ่งเงินไปออมไว้ทันที เพราะหาก ใชก้ ่อนออม สดุ ทา้ ยอาจไม่เหลอื เงนิ ออมตามทีต่ ั้งใจไว้ 2) แบ่งเงินเป็นส่วน ๆ ตามเป้าหมายท่ีต้องการใช้ เช่น เงินออมเผื่อฉุกเฉิน เงนิ ออมเพือ่ ใช้จ่ายในยามชรา เงินออมเพื่อซื้อของท่ีอยากได้ และใช้เงินตาม วตั ถปุ ระสงค์น้นั ๆ ไมป่ ะปนกัน 3) มีวินัยในการออม โดยใช้เทคนิคการออมท่ีสนุกสนาน ทาได้ง่าย เพื่อสร้าง แรงจงู ใจในการออมให้ไดต้ ามทีต่ ั้งใจไว้ เชน่ หยอดกระปุกก่อนออกจากบา้ นวันละ 10 บาท ผูกการออมกับพฤตกิ รรมทชี่ อบทา เชน่ เลน่ เกมชั่วโมงละ 10 บาท ได้แบงก์ 50 มาเมื่อไหร่ กเ็ กบ็ ไว้ไปหยอดกระปกุ ไม่นามาใช้ ไม่ชอบพกเหรียญเพราะมันหนัก พอได้เหรียญทอนมาก็หยอดกระปุก ใหห้ มด ซื้อของไม่จาเป็นไปเท่าไร ก็ให้นาเงินมาออมเท่าน้ัน เช่น ถ้าซ้ือของ ไม่จาเป็น 1,000 บาท ก็ต้องออมเงินให้ได้ 1,000 บาท ออมให้พอ ที่เหลือใช้ให้เรียบ คือ การตั้งเป้าหมายว่าจะออมเดือนละ เท่าไร แล้วนาไปออมหรือลงทุนเท่าที่วางแผนไว้ เงินที่เหลือก็ใช้ได้ตาม สบาย ต้ังคาสั่งหักเงินเดือนอัตโนมัติไปฝากเข้าบัญชีเงินออมหรือซ้ือหุ้น สหกรณ์ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่อื ง ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
150 5. กองทนุ การออมแห่งชาติ (กอช.) คืออะไร และมหี ลกั การอย่างไร ตอบ กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เป็นกองทุนสาหรับประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 – 60 ปี ซึ่งไม่อยู่ในระบบบาเหน็จบานาญภาครัฐหรือเอกชนหรือกองทุน ตามกฎหมายอ่ืนที่ได้รับเงินสมทบจากรัฐหรอื นายจ้าง หลักการออมแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เงินท่ีสมาชิกออม และเงินที่รัฐจ่าย สมทบ ซึ่งสมาชิกทกุ คนไมจ่ าเป็นต้องสง่ เงินสะสมเข้ากองทนุ ทุกเดือน ในกรณีที่ส่ง เงินสะสมต้องไม่ตา่ กว่าครัง้ ละ 50 บาท สงู สุดไม่เกิน 13,200 บาทต่อปี และรัฐจะ จ่ายสมทบให้ตามช่วงอายุ ดงั น้ี ช่วงอายุ 15 – 30 ปี 30 – 50 ปี 50 – 60 ปี จานวนเงนิ 50% ของเงินสะสม 80% ของเงินสะสม 100% ของเงนิ สะสม ทจ่ี า่ ยสมทบ (ไม่เกิน 600 บาทตอ่ ปี) (ไม่เกนิ 960 บาทตอ่ ปี) (ไมเ่ กิน 1,200 บาทตอ่ ปี) ท้ังน้ี หากเดือนใดสมาชิกไมส่ ง่ เงนิ เขา้ กองทุน รฐั ก็จะไมจ่ า่ ยสมทบให้เชน่ กัน เงอ่ื นไขการไดร้ ับเงนิ คืนของสมาชิก กอช. 1) กรณีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (รวมทั้งสมาชิกท่ีมีอายุตั้งแต่ 50 ปี ขึ้นไป เม่ือครบระยะเวลา 10 ปี หรือลาออกเม่ืออายุครบ 60 ปี) หากคานวณเงินบานาญได้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด จะได้รับเงินบานาญ ตลอดชีวิต หากได้น้อยกว่าเกณฑ์จะได้รับเป็นเงินดารงชีพเดือนละ 600 บาทจนกวา่ เงนิ ในบญั ชจี ะหมด 2) กรณีทุพพลภาพก่อนอายุครบ 60 ปี สามารถเลือกได้ว่าจะรับเงิน ที่สมาชิกสะสมเองพร้อมดอกผลทั้งจานวนหรือบางส่วน โดยขอรับ ได้เพียงครั้งเดียว และเงินส่วนท่ีรัฐจ่ายสมทบพร้อมดอกผลจะจ่าย เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
151 เป็นเงินบานาญหลังอายุครบ 60 ปี หากยังมีเงินสะสมเหลืออยู่ใน กองทุน ก็จะนามาคานวณการจา่ ยบานาญดว้ ย 3) กรณีลาออกจากกองทุน จะได้รับเงินที่สมาชิกส่งสะสมเองพร้อม ดอกผลทงั้ จานวน แต่เงนิ ส่วนที่รฐั สมทบจะตกเป็นของกองทุน 4) กรณีเสียชีวิต ผู้รับผลประโยชน์ที่สมาชิกแจ้งช่ือไว้จะได้รับเงิน ในบญั ชีทง้ั หมด เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชีวิต 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
152 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สินเช่ือ กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 1 ประเมินความเหมาะสมกอ่ นการตดั สินใจก่อหน้ี กจิ กรรมที่ 1.1 เลือกคาตอบทเี่ หน็ วา่ ถกู ต้อง 1. หนใี้ ดตอ่ ไปนเี้ ปน็ หน้ีดี ก) ขอกเู้ งนิ เพ่อื มาเปิดอรู่ บั ซอ่ มรถยนต์ 2. หนี้ใดต่อไปนเ้ี ป็นหนี้พึงระวัง ก) สมชายขอกู้เงนิ เพื่อไปเทย่ี วเมืองนอก 3. ภาระผ่อนหนี้ตอ่ เดือนไมค่ วรเกินเทา่ ใด ก) 1 ใน 3 (33%) ของรายได้ตอ่ เดือน เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 1 l ระดบั ประถมศึกษา
153 กิจกรรมท่ี 1.2 อ่านโจทย์ด้านล่างนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ลงในช่องที่เห็นว่าเป็นคาตอบ ท่ีมเี หตผุ ลสมควรทจ่ี ะกอ่ หน้ี หรือควรรอเกบ็ เงนิ เพื่อทาในสงิ่ ท่ีต้องการ โจทย์ มเี หตุผลสมควร ควรรอเกบ็ เงิน ท่จี ะกอ่ หนี้ 1. สมปองและภรรยาทางานบริษัทอยู่ในตัวเมือง แต่ บ้านอยู่ย่านชานเมือง ในแต่ละวันต้องนั่งรถประจา ทางหลายต่อ ปัจจุบันภรรยากาลังต้ังท้อง จึงเริ่มไม่ สะดวกในการเดินทางระยะไกล สมปองจึงอยากจะ ซื้อรถยนต์มือสองไว้ขับรับส่งภรรยาไปทางาน และ เผื่อไว้ฉุกเฉินต้องพาภรรยาไปโรงพยาบาล 2. นา้ เพ็ชรอยากทาศลั ยกรรมปรับรูปหน้าของตนเอง ซึ่ง ต้องใช้เงินประมาณ 40,000 บาท จึงกาลังดูว่าจะ กู้เงินมาทาศลั ยกรรมหรือไม่ 3. สายใจเปิดร้านเสริมสวย ลูกค้าเร่ิมแน่นร้านจึง อยากจะขยับขยายรา้ นเพอื่ รับลกู ค้าได้มากขึ้น ซึ่งต้อง ซอ้ื อปุ กรณ์เสรมิ สวยเพมิ่ และจา้ งคนงานอกี 1 คน เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชีวติ 1 l ระดบั ประถมศึกษา
154 กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 3 วธิ กี ารป้องกันปัญหาหน้ี ทาเครือ่ งหมาย หนา้ ขอ้ ทเี่ ห็นวา่ เปน็ พฤตกิ รรมทด่ี ี และทาเครอ่ื งหมาย X หนา้ ข้อทเี่ ห็นว่าเปน็ พฤติกรรมที่ควรปรับปรงุ ชาระเงนิ เตม็ จานวนในเวลาที่กาหนด X . กู้เงินมาซอ่ มแซมบา้ น แลว้ แบ่งบางสว่ นซอ้ื โทรศพั ทม์ อื ถอื รุ่นใหม่ แจ้งให้เจ้าหนท้ี ราบเม่ือมกี ารเปล่ยี นแปลงทอ่ี ยู่ X . ชาระหนเี้ มือ่ ถูกทวงเท่านน้ั X . เมอ่ื มีหนสี้ ินหลายก้อนใหห้ ยุดชาระหนบ้ี างกอ้ นได้ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเร่อื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวติ 1 l ระดบั ประถมศึกษา
155 กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 4 วธิ กี ารแกป้ ัญหาหน้ดี ้วยตนเอง ไพรวัลย์ทางานรับเหมาก่อสร้าง มีรายได้เฉล่ียเดือนละ 10,000 บาท ปัจจุบันมีหน้ีบัตรผ่อน สินค้าอยู่ 40,000 บาท ซงึ่ ไพรวลั ยอ์ ยากจะปลดหนี้ให้หมดโดยเร็ว จึงเลือกวิธีลดรายจ่าย แต่ยัง ไม่รวู้ ่าจะลดคา่ ใช้จ่ายอะไรไดบ้ า้ ง ทาเคร่ืองหมาย ในช่องทเ่ี ห็นว่าเปน็ คา่ ใช้จ่ายทีค่ วรลด หรือควรงด ค่าใช้จา่ ย ควรลด ควรงด 1. ค่าเหลา้ สังสรรค์ทกุ วันศุกร์ 2. คา่ นา้ ค่าไฟ 3. คา่ โทรศพั ทม์ อื ถือ 4. ค่าอาหาร 5. คา่ หวย 6. ค่าบหุ ร่ี ค่าใช้จ่ายที่ควรงด เป็นสิ่งเสพติดและการพนัน จึงควรงดหรือเลิกให้ได้ จะทาให้มีเงินจานวน มากขึ้นเพียงพอท่ีจะนาไปชาระหนี้ได้ ส่วนค่าใช้จ่ายท่ีควรลดให้พิจารณาว่าได้ใช้หรือจ่ายเงิน มากเกินความจาเปน็ หรือไม่ ถา้ ใช่ ใหพ้ ยายามลดการใช้ลงจนเหลอื เพยี งเท่าทจี่ าเป็นต้องใช้ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่ือง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 1 l ระดับประถมศกึ ษา
156 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 สิทธิและหน้าที่ของผ้ใู ชบ้ รกิ ารทางการเงิน กิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 1 สทิ ธิของผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน กจิ กรรมที่ 1.1 ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ สทิ ธขิ องผู้ใชบ้ ริการทางการเงินมอี ะไรบ้าง ตอบ 1) สิทธทิ ่จี ะได้รับขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ ง (right to be informed) 2) สิทธทิ ี่จะเลือกใช้ผลติ ภณั ฑ์และบรกิ ารไดอ้ ย่างอิสระ (right to choose) 3) สทิ ธิทจ่ี ะร้องเรียนเพอ่ื ความเป็นธรรม (right to be heard) 4) สิทธิทจ่ี ะได้รับการพิจารณาคา่ ชดเชยหากเกดิ ความเสยี หาย (right to redress) กจิ กรรมท่ี 1.2 ให้ศึกษากรณตี วั อย่างท่ีกาหนด แล้วตอบคาถามตอ่ ไปนี้ กรณีเงินฝากหรอื ประกัน: จากกรณตี ัวอย่าง ผู้ใช้บริการควรใช้สิทธขิ อ้ ใดเพือ่ แก้ไขปัญหา ท่ีเกิดขึน้ ตอบ สิทธิที่จะร้องเรียนเพ่ือความเป็นธรรม (ปัญหานี้เกิดขึ้นจากการท่ีผู้ใช้บริการ ทางการเงินได้รับข้อมูลท่ีไม่ถูกต้อง ซ่ึงเก่ียวข้องกับสิทธิของผู้ใช้บริการข้อที่ 1 ด้วย) เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่ือง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
157 กจิ กรรมท้ายเร่อื งที่ 2 หนา้ ท่ขี องผู้ใช้บริการทางการเงนิ กิจกรรมที่ 2.1 ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ผู้ใชบ้ ริการทางการเงินมีหน้าที่อะไรบา้ ง ตอบ 1) วางแผนการเงนิ 2) ติดตามข้อมูลข่าวสารทางการเงินอย่างสมา่ เสมอ 3) ศกึ ษารายละเอยี ดและเปรยี บเทยี บขอ้ มลู ก่อนเลือกใช้ 4) ตรวจทานความถกู ตอ้ งของธุรกรรมทางการเงินทุกครั้ง 5) ชาระหนเ้ี มื่อเปน็ หน้ี กิจกรรมท่ี 2.2 ใหศ้ กึ ษากรณีตัวอย่างท่ีกาหนด แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี 1. กรณีท่ี 1 เงินดามีจริงหรือ: จากกรณตี ัวอย่าง ปญั หาทเ่ี กิดข้ึนมีสาเหตมุ าจากอะไร ตอบ สาเหตุ เกดิ จากการไม่ติดตามขา่ วสารทางการเงินอย่างสม่าเสมอ ทาให้ไม่ทราบถึง ภัยทางการเงินท่เี กดิ ข้นึ จงึ หลงเช่ือเมือ่ มิจฉาชพี สร้างเร่อื งหลอก 2. กรณที ่ี 2 เพราะรถคันเดยี ว: จากกรณตี วั อย่าง ปญั หาท่เี กดิ ขนึ้ มสี าเหตมุ าจากอะไร ตอบ สาเหตุ เกิดจากมปี ระวัตคิ ้างชาระ เม่ือขอสินเช่ือใหมจ่ งึ ถกู ปฏเิ สธ (กูไ้ ม่ผ่าน) เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชีวิต 1 l ระดบั ประถมศึกษา
158 กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 บทบาทศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) และหน่วยงานที่ รับเรอ่ื งร้องเรียนอืน่ ๆ กิจกรรมที่ 3.1 ศนู ย์คุม้ ครองผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ (ศคง.) มหี น้าทอี่ ยา่ งไร ตอบ 1) ดแู ลเร่ืองร้องเรียนท่ีเก่ียวข้องกับบริการทางการเงินของผู้ให้บริการทางการเงินที่อยู่ ภายใต้การกากบั ของ ธปท. 2) ส่งเสริมความรูเ้ กย่ี วกบั บริการทางการเงนิ 3) ส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของ ธปท. ในการกากับดูแลให้สถาบันการเงินให้บริการแก่ ลูกคา้ อยา่ งเป็นธรรม กจิ กรรมที่ 3.2 นาตวั เลือกดา้ นขวามาใสใ่ นชอ่ งว่างด้านซ้ายให้มีความสัมพันธ์กัน (สามารถ เลือกหนว่ ยงานซ้าได)้ ตอบ หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง เรื่องที่ขอคาปรกึ ษา/ร้องเรยี น 1. หนุ้ ง. สานักงานคณะกรรมการกากบั หลักทรัพย์ และตลาดหลกั ทรัพย์ (ก.ล.ต.) 2. ประกันภัย/ประกนั ชวี ิต จ. สานกั งานคณะกรรมการกากบั และส่งเสรมิ การประกอบธุรกิจประกนั ภยั (คปภ.) 3. หน้นี อกระบบ ก. สานกั งานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) 4. ข้อมูลประวัติเครดิต ค. บรษิ ัท ขอ้ มูลเครดติ แห่งชาติ จากดั (เครดติ บูโร) 5. สินคา้ ไมไ่ ดม้ าตรฐาน ข. สานกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผ้บู รโิ ภค (สคบ.) 6. โฆษณาเกนิ จริง ข. สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค (สคบ.) เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่อื ง ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 1 l ระดับประถมศึกษา
159 กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 4 ขัน้ ตอนการรอ้ งเรยี นและหลักการเขยี นหนงั สอื ร้องเรียน กิจกรรมที่ 4.1 ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. การรอ้ งเรียนเก่ยี วกบั บรกิ ารทางการเงินมขี น้ั ตอนอย่างไร ตอบ 1) ร้องเรียนที่ศูนย์บริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินหรือผู้ให้บริการ ทางการเงินนน้ั ๆ เพอื่ แจ้งเรื่องร้องเรียนหรือปัญหาท่พี บ 2) หากไม่ได้รับการติดต่อกลับภายในระยะเวลาการให้บริการมาตรฐาน หรือ ไม่ได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม สามารถขอรับคาปรึกษาหรือร้องเรียนได้ท่ีศูนย์ คุ้มครองผูใ้ ช้บรกิ ารทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213 (ผู้เรียนอาจกล่าวถึงช่องทาง อ่ืน ๆ ด้วยก็ได้ เช่น e-mail เว็บไซต์ การร้องเรียนด้วยตนเอง จดหมาย/ โทรสาร) 2. การเขยี นหนังสอื ร้องเรยี นมีหลกั การเขียนอย่างไร ตอบ 1) เลา่ เหตกุ ารณ์สาคัญโดยมีการเรียงลาดับเหตกุ ารณ์ 2) ใหข้ ้อมูลทีส่ าคัญและจาเปน็ ให้ครบถ้วน 3) แจ้งส่ิงทีต่ ้องการใหส้ ถาบันการเงนิ ดาเนนิ การ 4) แจง้ ข้อมลู สว่ นตัว เชน่ ช่อื ทอี่ ยู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์ทส่ี ามารถตดิ ต่อได้ 5) แนบเอกสารที่เก่ียวข้องให้ครบถ้วน (ผู้เรียนอาจยกตัวอย่างเอกสารที่เกี่ยวข้อง ประกอบดว้ ย เช่น สาเนาบตั รประจาตัวประชาชน สาเนาใบแจ้งหน)้ี เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวติ 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
160 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภัยทางการเงนิ กจิ กรรท้ายเร่อื งท่ี 1 หนีน้ อกระบบ กิจกรรมที่ 1 ตอบคาถามต่อไปน้ี 1. กลโกงหนี้นอกระบบมีลกั ษณะอย่างไร ตอบ 1) ใช้ตวั เลขน้อย ๆ เพือ่ จูงใจ 2) ใหเ้ ซน็ เอกสารทไ่ี มไ่ ดก้ รอกตัวเลข 3) ไมใ่ หล้ ูกหนอ้ี ่านเอกสารทตี่ อ้ งเซน็ 4) บีบให้เซน็ สญั ญาเงินกู้เกนิ จริง 5) ทาสัญญาขายฝากแทนสญั ญาจานอง 6) หลีกเล่ียงให้กโู้ ดยตรง 7) ทวงหน้โี หด 2. มวี ธิ กี ารปอ้ งกนั หนน้ี อกระบบอย่างไร ตอบ 1) หยุดใช้เงินเกินตัว – ตรวจสอบพฤติกรรมการใช้เงินของตนเองโดยการจดบันทึก รายรบั -รายจา่ ย แล้ววางแผนใชเ้ งนิ อย่างเหมาะสมกบั รายไดแ้ ละความจาเป็น 2) วางแผนการเงินล่วงหน้า – คานึงถึงค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ที่อาจเกิดข้ึนในอนาคต เช่น คา่ เล่าเรียนลูก แล้ววางแผนทยอยออมล่วงหนา้ รวมถงึ ออมเงินเผอ่ื เหตกุ ารณ์ฉุกเฉิน ดว้ ย 3) คิดให้ดีก่อนตัดสินใจก่อหน้ี – ทบทวนดูความจาเป็นว่าต้องใช้เงินจริง ๆ หรือไม่ และหากต้องกู้จริง ๆ จะสามารถชาระหนี้ได้หรือไม่ เพราะนอกจากดอกเบ้ียท่ีแสน แพงแลว้ อาจต้องเจอกับเหตุการณ์ทวงหนแ้ี บบโหด ๆ อกี ด้วย เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเร่ือง ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชีวิต 1 l ระดบั ประถมศึกษา
161 4) เลือกกู้ในระบบ – หากจาเป็นต้องกู้ ควรเลือกกู้ในระบบดีกว่า เพราะนอกจากจะมี หนว่ ยงานภาครฐั คอยดูแลแล้ว ยังระบดุ อกเบ้ยี ในสัญญาชดั เจนและเป็นธรรมกว่า 5) ศึกษารายละเอียดผู้ให้กู้ – ดูว่าผู้ให้กู้นั้นน่าเช่ือถือหรือไม่ มีเง่ือนไขชาระเงินหรือ อตั ราดอกเบี้ยท่ีเอาเปรยี บผูก้ เู้ กนิ ไปหรอื ไม่ 6) ศึกษาวิธีคิดดอกเบ้ีย – หนี้นอกระบบมักคิดอัตราดอกเบี้ยด้วยวิธีเงินต้นคงท่ี (flat rate) ซึ่งทาให้ลูกหน้ีต้องจ่ายดอกเบี้ยมากกว่าการคิดดอกเบ้ียแบบลดต้นลดดอก (effective rate) เพราะดอกเบ้ียจะถูกคิดจากเงินต้นทั้งก้อนแม้ว่าจะทยอยจ่ายคืน ทกุ เดอื นก็ตาม 7) หากจาเปน็ ต้องกู้เงนิ นอกระบบต้องใสใ่ จ... ไม่เซ็นสัญญาในเอกสารที่ยังไม่ได้กรอกข้อความหรือวงเงินกู้ไม่ตรงกับ ความจริง ตรวจสอบข้อความในสญั ญาเงนิ กู้ รวมถงึ ดูว่าเปน็ เงอื่ นไขทีเ่ ราทาไดจ้ รงิ ๆ เกบ็ สัญญาคู่ฉบับไวก้ บั ตัวเพอ่ื เป็นหลกั ฐานการกู้ ทาสัญญาจานองแทนการทาสัญญาขายฝาก เพราะการขายฝากจะทาให้ กรรมสิทธิต์ กเป็นของเจา้ หนท้ี นั ทีหากผ้กู ไู้ ม่มาไถค่ ืนตามกาหนด 8) ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเปน็ ประจา 3. หน่วยงานหรอื องคก์ รใดบ้างท่ใี ห้คาปรึกษาปญั หาหน้นี อกระบบ ตอบ 1) ศนู ยร์ บั แจง้ การเงินนอกระบบ กระทรวงการคลงั โทร. 1359 2) กองบังคับการปราบปรามการกระทาผิดเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค สานักงาน ตารวจแห่งชาติ โทร. 1135 3) สายดว่ นรฐั บาล สานกั นายกรัฐมนตรี โทร. 1111 4) สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน สานักงานอัยการ สงู สดุ โทร. 02 142 2034 เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรือ่ ง ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชวี ิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
162 5) ศูนยช์ ว่ ยเหลือลกู หนแ้ี ละประชาชนท่ไี ม่ไดร้ บั ความเปน็ ธรรม กระทรวงยตุ ิธรรม โทร. 02 575 3344 6) ศนู ยด์ ารงธรรม กระทรวงมหาดไทย โทร. 1567 7) หน่วยงานที่รับเรื่องร้องเรียนเก่ียวกับการทวงถามหน้ีไม่เหมาะสม ได้แก่ กรมการปกครอง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่ทาการปกครองจังหวัด กองบัญชาการตารวจนครบาล สถานตี ารวจท้องที่ และท่ีว่าการอาเภอทกุ แหง่ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชีวติ 1 l ระดับประถมศึกษา
163 กิจกรรมท้ายเร่อื งท่ี 2 แชรล์ ูกโซ่ กิจกรรม 2 ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. กลโกงแชร์ลกู โซ่ในคราบธรุ กิจขายตรงมีลักษณะอย่างไร ตอบ มิจฉาชีพจะโฆษณาชวนเช่ือให้เหย่ือทาธุรกิจขายตรงที่มีผลตอบแทนสูง โดยท่ี เหยื่อไม่ต้องทาอะไร เพียงแค่ชักชวนเพ่ือนหรือญาติพ่ีน้องให้ร่วมทาธุรกิจ ไม่เน้น การขาย สาธิต หรือทาให้สมาชิกเข้าใจในตัวสินค้า เมื่อเหย่ือเริ่มสนใจ จะให้เหย่ือเข้า ร่วมฟังสัมมนา และโน้มน้าวหรือหลอกล่อให้เหยื่อจ่ายค่าสมัครสมาชิก หรือซ้ือสินค้า แรกเข้าในมูลค่าท่ีค่อนข้างสูง (สินค้าส่วนมากมักไม่มีคุณภาพ) หรืออาจให้เหยื่อซื้อหุ้น หรือหนว่ ยลงทนุ โดยไม่ต้องรับสนิ คา้ ไปขาย แลว้ กร็ อรบั เงนิ ปันผลไดเ้ ลย ค่าสมัครสมาชิก ค่าซ้ือสินค้าแรกเข้า ค่าหุ้นหรือค่าหน่วยลงทุนของสมาชิกใหม่ จะถกู นามาจ่ายเปน็ ผลตอบแทนให้กับสมาชิกเก่า เม่ือไหร่ท่ีไม่สามารถหาสมาชิกใหม่ได้ แชร์ก็จะลม้ เพราะไม่สามารถหาเงินมาจา่ ยผลตอบแทนและเงินทลี่ งทุนคืนสมาชกิ ได้ ปจั จุบันยงั มีการโฆษณาชกั ชวนผู้ลงทนุ ผ่านอินเทอร์เน็ตอีกด้วย โดยมิจฉาชีพจะ หลอกให้เหยื่อกรอกข้อมูลส่วนตัวในอินเทอร์เน็ต แล้วติดต่อเหยื่อเพ่ือชักชวนให้เข้า รว่ มงานสมั มนาโดยอา้ งวา่ มบี ุคคลทีม่ ีชื่อเสยี งเข้ารว่ มด้วย 2. มวี ิธีการปอ้ งกนั ภยั จากแชรล์ ูกโซ่อย่างไร ตอบ 1) ไม่โลภไปกับผลตอบแทนหรือสินค้าราคาถูกที่นามาหลอกล่อ เพราะผลตอบแทน ยงิ่ สงู ยงิ่ มคี วามเส่ียงมากทีจ่ ะเป็นแชรล์ ูกโซ่ 2) ไม่กรอกข้อมูล หรือให้ข้อมูลส่วนตัวในเว็บไซต์ หรือตอบกลับอีเมลท่ีไม่น่าเช่ือถือ เพราะอาจกลายเป็นเหยอ่ื แชร์ลูกโซ่ 3) หลีกเล่ียงการเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มธุรกิจที่ไม่แน่ใจ เพราะอาจถูกหว่านล้อมให้ ร่วมลงทุนในธุรกิจแชรล์ ูกโซ่ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชวี ิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
164 4) อย่าเกรงใจจนไม่กล้าปฏิเสธ เมื่อมีคนชักชวนทาธุรกิจท่ีมีลักษณะคล้ายแชร์ลูกโซ่ เพราะอาจทาให้สญู เสียเงินได้ 5) ศึกษาท่ีมาท่ีไปของการลงทุนหรือสินค้าให้ดีก่อนการลงทุน โดยเฉพาะธุรกิจหรือ สินค้าทใี่ ห้ผลตอบแทนสงู มากในเวลาอันส้นั หรอื มรี าคาถกู ผิดปกติ 6) ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเป็นประจา 3. หน่วยงานหรือองคก์ รใดบ้างทใี่ หค้ าปรกึ ษาปัญหาแชร์ลูกโซ่ ตอบ ส่วนป้องปรามการเงินนอกระบบ สานักนโยบายพัฒนาระบบการเงินภาค ประชาชน สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ซอยอารีย์ สัมพันธ์ ถนนพระราม 6 สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 1359 เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่อื ง ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชีวติ 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
165 กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 3 ภยั ใกล้ตัว กิจกรรมท่ี 3.1 1. จากกรณีตัวอย่างท่ี 1 เปน็ ลักษณะของกลโกงประเภทใด ตอบ ก. เบย้ี ประกันงวดสุดทา้ ย 2. จากกรณตี ัวอย่างที่ 2 เปน็ ลักษณะของกลโกงประเภทใด ตอบ ง. ตกทอง กจิ กรรมที่ 3.2 ตอบคาถามต่อไปน้ี มวี ิธกี ารป้องกนั ตนเองจากภยั ใกลต้ วั อยา่ งไร ตอบ 1) ไม่โลภ ไม่อยากได้เงินรางวัลท่ีไม่มีท่ีมา หากมีคนเสนอให้ ควรสงสัยไว้ก่อนว่าอาจ เปน็ ภยั ทางการเงนิ 2) ไมร่ ู้จกั ...ไม่ให้ ไมใ่ ห้ท้ังข้อมูลสว่ นตัว เชน่ เลขท่ีบตั รประจาตวั ประชาชน วัน/เดือน/ ปีเกิด และข้อมูลทางการเงิน เช่น เลขท่ีบัญชี รหัสบัตรเอทีเอ็ม/บัตรเดบิต และ ไม่โอนเงิน แมผ้ ูต้ ิดต่อจะอ้างวา่ เป็นหนว่ ยงานราชการหรอื สถาบันการเงนิ 3) ศึกษาหาข้อมูล ก่อนเซ็นสัญญา ตกลงจ่ายเงิน หรือโอนเงินให้ใคร ควรศึกษาข้อมูล เงือ่ นไข ขอ้ ตกลง ความน่าเชอ่ื ถือและความน่าจะเปน็ ไปได้กอ่ น 4) อ้างใคร ถามคนน้ัน อ้างถึงใครให้สอบถามคนน้ัน เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย โทร. 1213 หรอื DSI โทร. 1202 5) สงสัยให้ปรึกษา ควรหาที่ปรึกษาท่ีไว้ใจได้ หรือปรึกษาเก่ียวกับภัยทางการเงินได้ท่ี ศคง. โทร. 1213 และศูนยร์ ับแจง้ การเงนิ นอกระบบ โทร. 1359 6) ติดตามข่าวสารกลโกงเป็นประจา เพอ่ื ร้เู ทา่ ทนั เล่ห์เหลย่ี มกลโกง เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอ่ื ง ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวติ 1 l ระดบั ประถมศึกษา
166 กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์ กจิ กรรมที่ 4 ศึกษากรณตี วั อย่างเพอ่ื ตอบคาถามข้อที่ 1 - 3 1. จากกรณีตัวอย่าง วัลลภควรโอนเงินเพื่อยืนยันความบริสุทธ์ิของตนเองหรือไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมค่ วร เพราะเหตกุ ารณท์ เี่ กิดขน้ึ กับวัลลภเป็นลักษณะหนึง่ ของแก๊งคอลเซนเตอร์ 2. มีวิธปี อ้ งกันกลโกงแกง๊ คอลเซนเตอร์อย่างไร ตอบ 1) คิดทบทวน ว่าเรื่องราวที่ได้ยินมามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน เคยทาธุรกรรม กับหน่วยงานท่ีถูกอ้างถึงหรือไม่ หรือเคยเข้าร่วมชิงรางวัลกับองค์กรไหนจริง หรือเปล่า 2) ไมร่ จู้ ัก ไม่คนุ้ เคย ไมใ่ ห้ขอ้ มูล ทัง้ ข้อมลู สว่ นตวั เช่น เลขที่บัตรประชาชน วัน/เดือน/ ปเี กิด และขอ้ มูลทางการเงนิ เช่น เลขท่บี ัญชี รหสั กดเงนิ 3) ไม่ทารายการที่เครื่องเอทีเอ็มตามคาบอก แม้คนที่โทรมาจะบอกว่าเป็นเจ้าหน้าที่ ของรฐั หรือสถาบันการเงิน เพราะหน่วยงานของรัฐและสถาบันการเงินไม่มีนโยบาย สอบถามขอ้ มลู สว่ นตัวของประชาชนหรอื ลูกค้าผ่านทางโทรศัพท์ 4) ไม่โอนเงินคืนเอง หากมีคนโอนเงินผิดเข้าบัญชี ควรสอบถามโดยตรงกับสถาน การเงินถึงท่ีมาของเงินดังกล่าว หากเป็นเงินท่ีโอนผิดจริง จะต้องให้สถาบันการเงิน เปน็ ผ้ดู าเนนิ การโอนเงนิ คนื เทา่ น้ัน 5) ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน สอบถามสถาบันการเงินหรือหน่วยงานท่ีถูกอ้างถึง โดยตรง โดยติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) หรือสาขาของสถาบันการเงิน นัน้ ๆ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอื่ ง ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชวี ิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
167 3. หากวลั ภภตกเป็นเหย่อื แก๊งคอลเซนเตอรแ์ ลว้ ควรทาอย่างไร ตอบ 1) ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินนั้น ๆ เพ่ือระงับการโอน และถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารที่เก่ียวข้องเพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับ การโอนและถอนเงิน ทง้ั น้ี แตล่ ะสถาบันการเงินมีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกัน ควรติดต่อ สอบถามขน้ั ตอนจากสถาบนั การเงินโดยตรง 2) แจ้งเบาะแสไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เลขที่ 128 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทงุ่ สองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 1202 เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอื่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชีวติ 1 l ระดับประถมศกึ ษา
168 บรรณานุกรม ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย. (2553). การบรหิ ารการเงนิ สว่ นบุคคล. กรุงเทพฯ: ตลาด หลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. (2016). รรู้ อบเรอื่ งการเงิน กรงุ เทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย. Australian Securities and Investment Commission. (2012). Managing Your Money. Australia: Australian Securities and Investment Commission. Commission for Financial Capability. (2014). Retirement Planning. New Zealand: Commission for Financial Capability. Commission for Financial Capability. (2014). Set Your Goals. New Zealand: Commission for Financial Capability. Securities and Exchange Board of India. (2011). Financial Education for Middle Income. Mumbai: Securities and Exchange Board of India. The Investor Education Center. (2014). Financial Planning. Hong Kong: The Investor Education Center. The Investor Education Center. (2014). Retirement. Hong Kong: The Investor Education Center. บรรณานุกรม ชุดวชิ าการเงินเพื่อชวี ติ 1 l ระดับประถมศกึ ษา
169 แหล่งอา้ งองิ ออนไลน์ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก: http://www.mfa.go.th/asean/th/other/2363 (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มูล: 8 มถิ ุนายน 2559). กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟรกิ า กระทรวงการตา่ งประเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก: http://sameaf.mfa.go.th/th/country/ (วนั ท่ีค้นขอ้ มูล: 8 มิถนุ ายน 2559). ตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย. (2558) การวางแผนการเงนิ คืออะไร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้ จาก: https://www.set.or.th/education/th/start/start_start.pdf. (วันท่ี คน้ ข้อมูล: 22 เมษายน 2559). สานกั งานราชบัณฑติ ยสภา. ประเทศ. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: http://www.royin.go.th/wp-content/uploads/2015/03/419_1494.pdf (วันทคี่ น้ ขอ้ มูล: 8มถิ ุนายน 2559). Australian Securities & Investment Commission. (2016) Spending. [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก: https://www.moneysmart.gov.au/managing-your- money/budgeting/spending#create (วันทคี่ น้ ข้อมลู : 8 มิถนุ ายน 2559). บรรณานกุ รม ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชวี ิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
170 ขอขอบคณุ กรมธนารกั ษ์ กองทนุ การออมแหง่ ชาติ บรษิ ัท ข้อมูลเครดิตแหง่ ชาติ จากัด สถาบนั ค้มุ ครองเงินฝาก สานกั งานคณะกรรมการกากับและสง่ เสรมิ การประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั สานกั งานคณะกรรมการกากับหลักทรพั ย์และตลาดหลกั ทรัพย์ บรรณานุกรม ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชวี ิต 1 l ระดับประถมศึกษา
171 คณะผู้จดั ทา คณะที่ปรึกษา เลขาธิการ กศน. สานกั งาน กศน. นายสรุ พงษ์ จาจด รองเลขาธกิ าร กศน. สานกั งาน กศน. นายประเสริฐ หอมดี ผูเ้ ช่ยี วชาญเฉพาะด้านพฒั นาหลักสูตร นางศทุ ธนิ ี งามเขตต์ ผ้อู านวยการศนู ยค์ ุ้มครองผู้ใชบ้ ริการทางการเงิน นางชนาธปิ จริยาวิโรจน์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ผอู้ านวยการกลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบ นางตรนี ุช สขุ สเุ ดช และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ผู้บริหารสว่ น สว่ นสง่ เสริมการให้ความรู้ทางการเงนิ นางสาวชญานิน พนมยงค์ ธนาคารแห่งประเทศไทย คณะทางาน ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นายพิชญา สฤษเนตร ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวจฬุ าลกั ษณ์ พบิ ูลชล ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวนิรชั รา ปญั ญาจกั ร ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวจนั ทร์ธดิ า พัวรัตนอรุณกร สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางอบุ ลรตั น์ มโี ชค สานักงาน กศน.จังหวัดสรุ ินทร์ นางวิมลพรรณ กุลตั ถน์ าม สานกั งาน กศน. จงั หวดั พิษณุโลก นางอนงค์ ฉันทโชติ สานักงาน กศน. จงั หวดั พจิ ติ ร นางอมรา เหลา่ วิชยา กศน.เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร นายบญุ ชนะ ล้อมสริ อิ ดุ ม คณะผจู้ ัดทา ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
คณะทางาน (ตอ่ ) 172 นายธณัลธิวรรธน์ ภคพฑั วัฒนฐากูร นางมณั ฑนา กาศสนุก กศน.เขตหนองแขม กรงุ เทพมหานคร นางสาวอนงค์ ชชู ยั มงคล กศน.อาเภอเมือง จังหวดั แม่ฮ่องสอน นางยพุ ิน อาษานอก กศน.อาเภอเมือง จังหวดั อุทัยธานี นางพิสมัย คาแกว้ กศน.อาเภอพล จังหวดั ขอนแก่น นางกมลวรรณ มโนวงศ์ กศน.อาเภอพล จงั หวดั ขอนแก่น นางสพุ ัตรา ณ วาโย กศน.อาเภอหางดง จงั หวัดเชยี งใหม่ นางสาวพจนยี ์ สวสั ดริ ตั น์ กศน.อาเภอสะเดา จงั หวัดขอนแกน่ นางกลั ยา หอมดี กศน.อาเภอเมอื ง จงั หวัดกาแพงเพชร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางสาวมนทา เกรยี งทวีทรัพย์ ตามอธั ยาศยั กลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ นางสาวจรรยา สงิ ห์ทอง ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษารงั สติ นางพรรณทิพา ชินชชั วาล หน่วยศกึ ษานิเทศก์ นายสรุ พงษ์ มนั่ มะโน กลุ่มพฒั นาระบบการทดสอบ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา นางญานศิ า สุขอุดม ตามอธั ยาศยั กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา นายศุภโชค ศรรี ตั นศิลป์ ตามอัธยาศัย กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ ตามอัธยาศัย กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา นางสาวสลุ าง เพช็ รสว่าง ตามอธั ยาศัย กลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั คณะผจู้ ัดทา ชดุ วชิ าการเงินเพ่อื ชวี ติ 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
นางกมลทิพย์ ช่วยแกว้ 173 นางสาวทิพวรรณ วงค์เรอื น นางวรรณี ศรศี ริ วิ รรณกลุ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางสาวชาลินี ธรรมธษิ า ตามอัธยาศยั นางสาวชมพูนท สังข์พิชัย กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั คณะบรรณาธกิ าร กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางชนาธปิ จริยาวโิ รจน์ ตามอธั ยาศยั กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางสาวชญานนิ พนมยงค์ ตามอธั ยาศยั กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา นายพชิ ญา สฤษเนตร ตามอัธยาศัย นางสาวจุฬาลักษณ์ พิบลู ชล นางสาวนิรชั รา ปัญญาจักร ผู้อานวยการศนู ยค์ ุ้มครองผู้ใชบ้ ริการทางการเงิน นางสาวจันทรธ์ ิดา พัวรัตนอรณุ กร ธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้ออกแบบปก ผบู้ รหิ ารส่วน ส่วนส่งเสริมการให้ความรทู้ างการเงิน นายศุภโชค ศรีรัตนศลิ ป์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารแหง่ ประเทศไทย กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั คณะผจู้ ดั ทา ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 l ระดับประถมศกึ ษา
174 คณะผจู้ ดั ทา ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชวี ิต 1 l ระดับประถมศึกษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184