เรอื่ ง : รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตาบลราชคราม กศน.อาเภอบางไทร 1. ชอ่ื ผลงาน : การตดิ ตามผู้เรยี นเชงิ รกุ ผา่ นทาง Social Media และเยย่ี มบ้านนักศึกษา กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 2. หนว่ ยงาน/ สถานศึกษา : กศน.อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 3. คณะทางาน นายสมพร จติ รีเหิม ครู กศน.ตาบล 4. ความสาคญั และความเป็นมา ความสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ปงี บประมาณ 2566 ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทย ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทย มีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” ภายในชว่ งเวลาดงั กล่าว เพอ่ื ความสุขของคนไทยทุกคน วิสัยทัศน์ประเทศไทย “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วย การพัฒนาตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “มั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน” เพ่ือสนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ อันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย การดารงอยู่อย่าง ม่ันคง และย่ังยืนของสถาบันหลักของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกันใน ชาตอิ ยา่ งสนั ตสิ ขุ เป็นปึกแผน่ มคี วามมั่นคง ๕ ทางสงั คมทา่ มกลางพหสุ ังคมและการมีเกียรติและศักด์ิศรี ของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความเป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยงั่ ยืนของฐานทรพั ยากรธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ ม ความมั่นคงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถ ในการรกั ษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปลย่ี นแปลงของสภาวะแวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ และการ อยู่ร่วมกันอย่างสันติประสานสอดคล้องกัน ด้านความม่ันคง ในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก อย่างมีเกียรติและศักด์ิศรี ความมั่นคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการ เปล่ียนแปลงท้ังภายในประเทศและ ภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความม่ันคง ในทุกมิติ ท้ังมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศมีความมั่นคงในเอกราช และอธิปไตย มีการปกครองระบบ ประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางและเป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน มีระบบการเมืองที่มั่นคง เป็นกลไกที่นาไปสู่การ บริหารประเทศท่ีต่อเน่ืองและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคมมีความปรองดองและ ความสามัคคี สามารถผนกึ กาลังเพอ่ื พฒั นาประเทศ ชมุ ชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชน มคี วาม ม่ันคงในชีวิต มีงานและรายได้ท่ีมั่นคงพอเพียงกับการดารงชีวิต มีการออมสาหรับวัยเกษียณ ความ มั่นคง ของอาหาร พลังงาน และน้า มีท่ีอยู่อาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ืองและมีความยั่งยืนจนเข้าสู่กลุ่มประเทศ รายได้สูง ความเหล่ือมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับผลประโยชน์จากการ
พัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากข้ึน และมีการพัฒนาอย่างท่ัวถึงทุกภาคส่วน มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐาน ขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนท่ีอยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความ เข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ทั้งในตลาดโลกและตลาด ภายในประเทศเพ่ือให้สามารถสร้างรายได้ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้าง ฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่ง อนาคตเพื่อให้สอดรับกับบริบทการพัฒนาที่เปล่ียนแปลงไป และประเทศ ไทยมีบทบาทที่สาคัญในเวทีโลก และมี ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับ ประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสาคัญของ การเชื่อมโยงในภูมิภาค ทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การคา้ การลงทนุ และการทาธุรกจิ เพื่อให้เปน็ พลัง ในการพัฒนา นอกจากน้ี ยงั มีความสมบรู ณ์ในทุนท่ี จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเน่ืองไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็น เครื่องมือเคร่ืองจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม ความย่ังยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้ การรักษาและการฟื้นฟูฐาน ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างยงั่ ยืน ไมใ่ ชท้ รพั ยากรธรรมชาติจนเกนิ พอดี ไมส่ รา้ งมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อมจน เกิน ความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้าหมายการพฒั นาท่ีย่ังยืน ทรัพยากรธรรมชาตมิ คี วามอุดมสมบูรณม์ าก ข้ึนและสิ่งแวดล้อม มีคุณภาพดีข้ึน คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพ่ือ ผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาล มีนโยบายที่มุ่งประโยชน์สว่ นรวมอย่างย่ังยืน และให้ความสาคญั กับการมี ส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาค ส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งเพ่ือการพัฒนาอยา่ งสมดลุ มีเสถียรภาพ และยง่ั ยืน สานักงาน กศน . เป็นหน่วยงานท่ีมีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคล่ือนภารกิจหลักตาม แผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะ ได้รับการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งในด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมี สมรรถนะที่สาคัญจาเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีความพร้อมร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศสู่ความ ม่ันคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาตอ่ เนื่อง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย อันนาไปสูก่ ารสรา้ งโอกาส ความเทา่ เทียม และลดความ เหลื่อมล้าทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพการให้บริการสาหรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ โดยกาหนดจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ดังน้ี หลักการ กศน. เพอื่ ประชาชน “กา้ วใหม่ : ก้าวแหง่ คุณภาพ”
5. ที่มาและความสาคญั ของปัญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ .ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม พ .ศ.2545 ได้กล่าวถึงแนว ทางการจดั การศึกษาในมาตรา มาตรา 24 การจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใหส้ ถานศึกษาและหนว่ ยงาน ท่ีเก่ียวข้องดาเนินการจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการฝึกทักษะ กระบวนการคิดการจัดการ การเผชิญ สถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ มาใช้เพ่ือป้องกันและ แก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่าง ต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ัง ปลูกฝัง คุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกรายวิชา ส่งเสริมสนับสนุนให้ ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งน้ี ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ (กระทรวงศึกษาธิการ , 2551) ตามที่ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้มีแนวนโยบายให้ สถานศึกษาจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้กับประชาชน กลุ่มเป้าหมายพิเศษ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันท่ีมีคุณภาพดาเนินการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 ซ่ึงเป็นการให้โอกาสผู้ที่ด้อยโอกาส พลาด โอกาสและขาดโอกาสได้รับการศึกษาและ เด็กออกกลางคันในระบบที่จะได้รับการศึกษา เพื่อพัฒนา ความร้เู ป็นเครื่องมือในการดารงชวี ติ พ้นื ฐาน สนองความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย ท่ัวถึง และให้โอกาสแก่กลุ่มเป้าหมายผู้พลาดโอกาสทางการศึกษา สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่ สมบรู ณ์ เปน็ คนดี มีปัญญา มคี วามสขุ มีความเปน็ ไทย และมีศักยภาพในการประกอบอาชพี และการ ดาเนินชีวิต กศน.ตาบลราชคราม ได้จัดกิจกรรมการการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ครูจะ เป็นผู้เปิดประเด็นและเชื่อมโยงความรู้ และให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง ในการเรียนรู้ ด้วยตนเองผู้เรียนสามารถไปเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น จากอินเตอร์เน็ต จากภูมิปัญญา ท้องถ่ิน หรือแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ซึ่งนักศึกษา กศน.ส่วนใหญ่ เป็นบุคคลที่มีงานทา มีภาระหน้าท่ที ่ี ต้องรับผิดชอบ ทาให้การมาพบกลุ่มในแต่ละสัปดาห์หรือแต่ละครั้ง หรือการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของ สถานศึกษานัน้ ไม่ตอ่ เน่ือง ปจั จบุ นั Social Media เข้ามามีบทบาทในชีวติ ประจาวนั มากขน้ึ โดยเฉพาะกบั กลุ่มนกั ศึกษา มี การใช้ติดต่อสื่อสารกันอย่างแพร่หลาย และยังมีบทบาทกับระบบการศึกษาด้วย ผู้สอนจะสามารถ ประยุกตใ์ ช้ Social Media กบั การศึกษา นามาเป็นชอ่ งทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพเพ่ือให้ทนั ต่อยุคสมัยท่ีเปล่ยี นแปลงไป ข้าพเจ้าในฐานะครู กศน.ตาบลราชคราม ที่ รับผิดชอบในเขตพ้ืนท่ีตาบลราชคราม มีนักศึกษาที่รับผิดชอบ เป็นนักศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน 14 คน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 30 คน รวมจานวน 44 คน เพื่อเป็นการ ติดตามผู้เรียนให้ท่ัวถึงและต่อเนื่อง ข้าพเจ้าได้ใช้สื่อ Social Media. ติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนโดยการใช้ แอพ Line, Face book, Messenger,Tel และออกเยย่ี มบ้านนักศกึ ษาเดือนละคร้ัง
6. วตั ถุประสงค์ 6.1 เพ่ือแก้ไขปัญหาการเข้าสอบ - ขาดสอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 นกั ศึกษา กศน.ตาบลราชคราม 6.2 เพื่อให้นักศกึ ษาสามารถจบหลักสูตรได้ตามเกณฑก์ าหนด 6.3 เพอื่ เปน็ การติดตามผเู้ รยี นอย่างต่อเน่ือง 6.4 เพอ่ื ลดชอ่ งวา่ งระหว่างครู และผูเ้ รยี นรจู้ กั ผเู้ รียนรายบุคคล 6.5 เพอ่ื เปน็ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการติดต่อสอ่ื สาร 6.6 เพอื่ เพ่มิ จานวนนกั ศกึ ษาเข้าสอบปลายภาคเรยี น 7. วธิ ีดาเนนิ การ กล่มุ เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ ผู้มีสิทธิ์สอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 14 คน ผู้มีสิทธิ์สอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 30 คน รวมจานวน 44 คน เชงิ คณุ ภาพ ผู้มีสิทธิ์สอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565 จานวน 44 คน เข้าสอบ ร้อยละ ๗0 ขึน้ ไป 1. ตรวจสอบนักศึกษาผู้มีสิทธ์ิสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 14 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 30 คน รวมจานวน 44 คน ทาแบบสอบถามถึงความพร้อมในการมาสอบ 2. สารวจข้อมูลของผู้เรียนเบื้องต้นว่าใครมีสมาร์ทโฟน และมี user ในแอพ Line, Facebook, Messenger 3. เพิ่มผตู้ ดิ ตอ่ ตามชอ่ งทาง Social Media ระหวา่ งครูและผเู้ รยี น 4. ต้ังกลุ่มใน Line, Face book, Messenger, แล้วเพิ่มผู้เรียนท่ีมี user เข้าร่วมกลุ่ม และใหผ้ ูเ้ รยี นเพม่ิ เพือ่ นเข้ามาในกลมุ่ ได้ 5. ใช้ช่องทาง Social Media ในการตดิ ตามงาน ประชาสมั พนั ธง์ านต่าง ๆ ๘) ตัวชว้ี ัดความสาเร็จ ผู้มีสิทธิ์สอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 จานวน 44 คน เขา้ สอบ ร้อยละ ๗0 ขน้ึ ไป ๙) การประเมนิ และเครอ่ื งมอื การประเมนิ จานวนนักศกึ ษาผู้มสี ทิ ธส์ิ อบปลายภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 256๕ จานวน ๔๔ คน
๑๐) ผลการดาเนนิ งาน ๑๐.๑ ผลทีเ่ กดิ กับตนเอง (กศน.ตาบลราชคราม) ๑๐.๑.๑ นักศึกษาผู้มีสิทธ์ิสอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 จานวน 44 คน เข้าสอบ ร้อยละ 80 ขึ้นไป ๑๐.๒ ผลท่เี กิดกับผเู้ รียน ๑๐.๒.๑ นกั ศกึ ษาสามารถจบหลักสูตรไดต้ ามเกณฑป์ กติ ๔ ภาคเรียน ๑๑) บทสรุป การติดตามผู้เรียนเชิงรุกผ่านทาง Social Media และเย่ียมบ้านนักศึกษา กศน.ตาบล ราชคราม อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดาเนินการตามแนวทางวงจรคุณภาพ เดมมิง่ (Deming Cycle : PDCA) ดังน้ี ผงั งานแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี
ดา้ นการวางแผน (P) 1. ตรวจสอบนักศกึ ษาที่มีสทิ ธ์สิ อบปลายภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 จานวน 44 คน พร้อมท้ังอธิบายถึงความสาคัญของการสอบปลายภาคเรียน เพ่ือให้นักศึกษาเกิดความ ตระหนกั ถงึ ความสาคญั 2. สารวจข้อมูลของผู้เรียนเบ้ืองต้นว่าใครมีสมาร์ทโฟน และมี user ในแอพ Line, Facebook, Messenger ดา้ นการดาเนนิ งาน (D) 1. ดาเนินการสอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 (ก่อนสอบปลายภาคจริง) เป็นลายลักษณ์อักษร และรูปแบบที่เหมาะสม ในหลากหลายช่องทาง ทั้งทางไปรษณีย์ โซเชียล มีเดีย และการติดต่อทางโทรศัพท์ และสอบถามถึงความพร้อมในการมาสอบกับนักศึกษาเป็น รายบุคคล พร้อมทั้งช่วยแนะนาการแก้ไขปัญหาในกรณีที่นักศึกษาติดภารกิจไม่สามารถมาสอบ ได้ ให้สามารถแก้ไขปญั หาไดอ้ ย่างเหมาะสม 2. จัดทาเอกสาร รายละเอียดถึงความสาคัญของการสอบปลายภาคเรียนให้นักศึกษา ทราบด้วยรูปแบบทส่ี ามารถเข้าใจได้ง่าย รวดเร็วและเหมาะสมตามกล่มุ เป้าหมาย เพื่อเน้นย้าให้ นกั ศึกษาเขา้ ใจความสาคัญของการสอบปลายภาคเรียน 3. เพ่ิมผู้ติดต่อตามช่องทาง Social Media ระหวา่ งครแู ละผ้เู รยี น 4. ตั้งกลุ่มในแอพ Line, Face book, Messenger, แล้วเพ่ิมผู้เรียนที่มี user เข้าร่วม กลุ่ม และใหผ้ เู้ รยี นเพิม่ เพ่อื นเข้ามาในกลุม่ ได้ 5. ใชช้ อ่ งทาง Social Media ในการตดิ ตามงาน ประชาสัมพนั ธง์ านต่าง ๆ ด้านการตรวจสอบและประเมนิ ผล (C) ๑. มกี ารติดตามนักศึกษาเปน็ ระยะ และตดิ ตอ่ บคุ คลใกลช้ ดิ ที่สามารถสง่ ขา่ วการสอบได้ ๒. มกี ารเย่ยี มบ้านนกั ศกึ ษาทม่ี ีสิทธ์ปิ ลายภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 ดา้ นการปรบั ปรุงและพัฒนาผลการปฏิบตั ิงาน (A) มีการนาขอ้ ผิดพลาดในการดาเนินการมาใชเ้ ปน็ ฐานข้อมูลในการดาเนินการครัง้ ถัด ดังน้ี 1. ในการนี้ผู้มีสิทธิ์สอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ จานวน 14 คน เขา้ สอบ 11 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 78.57 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 30 คน เข้าสอบ 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.34 รวมนักศึกษาท้ังหมด จานวน 44 คน เข้าสอบ 36 คน คิดเป็นร้อยละ 81.81 ขาดสอบจานวน ๘ คนเนื่องจาก ป่วยมาสอบ ไม่ได้ จานวน 1 คน และไมส่ ามารลางานมาสอบได้ จานวน 7 คน ๒. ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลว่า ในการดาเนินการคร้ังสอบปลายภาคเรียนถัดไป จะเพ่ิมเรื่อง การดูแลสุขภาพก่อนสอบให้กับนักศึกษา และจะดาเนินการส่งหนังสือขออนุญาตลางานเพื่อมา เขา้ สอบปลายภาคเรียนให้กับนักศกึ ษา
๑๒) ปจั จยั ความสาเร็จ กศน.ตาบลราชคราม ดาเนินการติดตามนักศึกษาในทุกรูปแบบ ตามความเหมาะสมกับ บริบทของตัวนักศึกษา และสามารถอธิบายถึงความสาคัญของการสอบปลายภาคเรียนได้ มีการ ติดต่อส่อื สารกับนกั ศึกษาเปน็ ระยะ พร้อมท้ังแจง้ รายละเอียดอย่างชดั เจน ๑๓). ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ ๑๓.1 นักศึกษา กศน.ตาบลราชคราม มีร้อยละการเข้าปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2565 สูงกวา่ เป้าหมายทต่ี ้งั ไว้ ๑๓.2 นกั ศกึ ษาสามารถจบหลักสูตรไดต้ ามเกณฑก์ าหนด ๑๓.3 ตดิ ตามผเู้ รยี นอยา่ งต่อเน่ือง ๑๓.4 ลดชอ่ งว่างระหวา่ งครู และผู้เรียนรจู้ กั ผู้เรยี นรายบุคคล
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: