-๑- สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
-ก- บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/ วันที่ ธนั วาคม ๒๕๖๕ เรอื่ ง รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานการจัดกจิ กรรมโครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ เรยี น ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร ตามท่ี ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาอาเภอบางไทร ได้อนุมัติ โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา ขา้ พเจ้านางสาวนภิ าพร โกษะ ครู กศน.ตาบลโพแตง นางสาวจฑุ ามาศ แสงสวา่ ง ครู กศน.ตาบล แคออก นายสมพร จิตรเี หมิ ครู กศน.ตาบลราชคราม นางสาวปิยรตั น์ สขุ สมพืช ครู กศน.ตาบลกระแชง นางสาว ชาลสิ า ศรไี ทย ครู กศน.ตาบลช้างน้อย นางสาวศุทธินี จันยะนัย ครู กศน.ตาบลบ้านแป้ง และ นางสาวสรินทร โกษะ ครูศูนย์การเรียนชุมชน ผู้รับผิดชอบ โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์ พระราชา ดาเนินการวันที่ 2๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๕ สถานที่ ณ ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีเป้าหมาย ประชาชน ผู้สนใจในตาบลแคออก ตาบลโพแตง ตาบลบ้านม้า ตาบลราชคราม ตาบลกระแชง ตาบลช้างน้อย ตาบลกระแชง และตาบลบ้านแป้ง จานวน ๒๐ คน จัดได้ ๒๐ คน บัดนี้กิจกรรม/โครงการ ดังกล่าวได้ดาเนินการเสร็จ เรยี บรอ้ ยแล้ว จงึ ขอรายงานผลการจดั กจิ กรรม/โครงการ ดังเอกสารรปู เลม่ แนบทา้ ยนี้ จงึ เรียนมาเพอ่ื โปรดทราบ (นางสาวนิภาพร โกษะ) (นางสาวจฑุ ามาศ แสงสวา่ ง) ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล (นางสาวสรนิ ทร โกษะ) (นายสมพร จติ รีเหมิ ) ครูศนู ยก์ ารเรยี นชุมชน ครู กศน.ตาบล (นางสาวปิยรตั น์ สขุ สมพชื ) (นางสาวชาลิสา ศรีไทย) ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล (นางสาวศทุ ธินี จันยะนัย) ครู กศน.ตาบล (นางสาวฐติ พิ ร พาสี) หัวหน้างานการศึกษาต่อเนอ่ื ง ทราบ อื่น ๆ ………………………….. (นายสวสั ด์ิ บุญพรอ้ ม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอนครหลวง รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
-ข- คานา กศน.ตาบลโพแตง กศน.ตาบลแคออก กศน.ตาบลราชคราม กศน.ตาบลกระแชง กศน.ตาบลช้างนอ้ ย กศน.ตาบลบ้านแป้ง และ กศน.ตาบลบ้านม้า ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้ ดาเนินการจัดกิจกรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา เพ่ือให้ประชาชน ผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมนาความรู้ ด้านศาสตร์พระราชามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ ทาง กศน.ตาบลโพแตง กศน.ตาบลแคออก กศน.ตาบลราชคราม กศน.ตาบลกระแชง กศน.ตาบล ช้างน้อย กศน.ตาบลบ้านแป้ง และ กศน.ตาบลบ้านม้า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ บางไทร หวังเป็นอยา่ งย่งิ วา่ การจัดกิจกรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา จะเป็นประโยชน์กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งน้ีไม่มากก็น้อยและหากการจัดโครงการในคร้ังนี้มีข้อบกพร่องประการใด ทาง กศน.ตาบลโพแตง กศน.ตาบลแคออก กศน.ตาบลราชคราม กศน.ตาบลกระแชง กศน.ตาบลช้างน้อย กศน. ตาบลบ้านแป้ง และ กศน.ตาบลบ้านม้า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ต้องขอ อภยั ไว้ ณ ทีน่ ้ดี ้วย รายงานสรุปฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทาโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจนประเมินผล โครงการเพื่อเป็นการเพ่ิมพูนความรูแ้ ละเปน็ แนวทางในการจัดทาโครงการในครั้งตอ่ ไป คณะผจู้ ดั ทา ๒๖ ธันวาคม 2565 สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
-ค- หนา้ ก สารบญั ข ค เร่ือง ๑ บันทึกข้อความ ๖ คานา 1๖ สารบญั 1๙ บทท่ี ๑ บทนา ๒๑ บทท่ี ๒ เอกสารท่ีเก่ียวข้อง ๓๑ บทที่ ๓ สรปุ ผลการดาเนินงาน ๓๒ บทที่ ๔ แบบสอบถามความพึงพอใจ บทท่ี ๕ สรปุ แบบสอบถามความพงึ พอใจ ภาคผนวก รปู ภาพประกอบโครงการฯ รายงานผลการจบหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนื่อง บรรณานกุ รม คณะผจู้ ดั ทา สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
-๑- บทที่ ๑ บทนา 1. ชื่อโครงการ เกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 2. ความสอดคล้องกบั นโยบาย นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 1. ดานการจัดการเรียนรูคุณภาพ 1.1 นอมนาพระบรมราโชบายสูการปฏิบัติรวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอัน เนอื่ งมาจากพระราชดาริทกุ โครงการ และโครงการอนั เก่ียวเนื่องจากราชวงศ์ 2. ดานการสรางสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 สงเสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ท่ีเนนการพัฒนาทักษะที่จาเปนสาหรบั แตละชวงวัย และ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรูทีเ่ หมาะสมกับแต่ละกลุมเปาหมายและบรบิ ทพ้นื ที่ 2.5 สงเสรมิ การจัดการศึกษาของผูสงู อายุเพ่อื ใหเปน Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดารงชวี ติ ที่เหมาะกับชวงวยั 4.10 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคีเครือขายทุกภาคสวน เพื่อสรางความพรอมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการสงเสรมิ การเรียนรูตลอดชีวติ สาหรับประชาชน 3. หลักการและเหตผุ ล เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดาเนินชีวิต และการปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ ตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐทั้งในการดาเนินชีวิตประจาวัน การพัฒนาและการบริหารประเทศให้ดาเนินไป ในทางสายกลาง เพ่ือให้ก้าวหน้าต่อการเปล่ียนแปลงของโลก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวปรัชญาท่ีทุกๆคน สามารถ นาไปปฏิบตั ิในชวี ิตประจาวนั ได้ ไม่ว่าจะเปน็ ตวั ทา่ นเอง นกั ศึกษา เกษตรกร ขา้ ราชการ และประชาชนทัว่ ไป ตลอดจน บริษัท ห้างร้าน สถาบันต่าง ๆ สามารถนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติเพื่อดาเนินชีวิตและการพัฒนา ธุรกิจการค้าได้จริง หลักการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต้องต้ังอยู่บนพื้นฐาน ของทางสายกลาง และความไมป่ ระมาท มีหลกั 3 ประการ คอื ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการสร้างภูมิคุ้มกันทดี่ ีในตวั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งนามาประยกุ ตใ์ ช้กับการทาการเกษตรธรรมชาติ โดยเริม่ จากการเข้าใจธรรมชาตเิ ข้าใจ ผลกระทบทจี่ ะเกิดข้ึนกบั ตัวเองและผู้บริโภคทาให้เกษตรกรร้วู ่าการทาการเกษตรแบบผสมผสานแบบพ่ึงพาธรรมชาติ จะสง่ ผลดีให้กบั ตนเองอยา่ งไรนาไปสกู่ ารพฒั นาชุมชนสังคมและประเทศชาตติ ่อไป ศาสตร์พระราชาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นับเป็นภูมิปัญญาแห่งแผ่นดินที่ล้าค่าย่ิง คนไทย ทุกคนจาเป็นจะตอ้ งเรียนรู้ถ่ายทอดความรแู้ ละสง่ ตอ่ องค์ความรูน้ ้ีไปยังคน รุ่นต่อไป ในมิติแห่งการพัฒนา ความรู้ใหม่ ท่ีรับเข้ามามิอาจแทนท่ีภูมิปัญญาสั่งสมหรือ ภูมิปัญญาเดิมได้ท้ังหมด ภูมิปัญญาใหม่ย่อมได้รับการปรับเปลี่ยน ดดั แปลงให้สอดคล้องกับบรบิ ทสังคม ส่ิงแวดล้อมทเี่ ปล่ยี นแปลงไป โดยมภี ูมิปัญญาเดิมเปน็ รากฐานท่จี ะช่วย ยึดโยง ให้ย่ังยืน และเราชาวไทยทุกคนควรตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงใช้พระวิริยะอุตสาหะในการสั่งสอนประชาชนไทยให้ใช้แนว พระราชดาริน้ีไปแกป้ ัญหา เศรษฐกจิ ความยากจนของคนไทย หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นภูมิปัญญาไทย ทีส่ มควรยกย่องใหเ้ ปน็ “ภูมิปัญญาแหง่ แผ่นดนิ ” สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
-๒- ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร โดย กศน.ตาบลโพแตง กศน. ตาบลแคออก กศน.ตาบลบ้านม้า กศน.ตาบลราชคราม กศน.ตาบลกระแชง กศน.ตาบลบ้านแป้ง และ กศน. ตาบลช้างน้อย จึงได้ดาเนินการจัดโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพียงด้วยศาสตร์พระราชาข้ึน เพ่ือเผยแพร่ศาสตร์พระราชา แนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี สามารถนาไปประยุกต์ปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง รวมท้ังภาคการเกษตรและการ นาชุมชนสูก่ ารพัฒนาทยี่ ั่งยืน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพอ่ื ใหป้ ระชาชนทีเ่ ข้ารบั การอบรมมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั หลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4.2 เพือ่ ให้ประชาชนเขา้ รับการอบรมนาความรดู้ า้ นศาสตรพ์ ระราชามาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันได้ 5. เป้าหมาย 5.1. เชิงปริมาณ - ประชาชนทั่วไปและผู้ที่สนใจในพนื้ ทอี่ าเภอบางไทร รวมจานวนทั้งส้นิ 20 คน 5.2 เชงิ คณุ ภาพ - ประชาชนท่วั ไปทเี่ ข้ารว่ มโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถนาความร้มู าประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
-๓- 6. วธิ ดี าเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่ม เปา้ พ้ืนท่ี ระยะ งบประ เป้าหมาย หมาย ดาเนนิ การ เวลา มาณ 1. ขั้นวางแผน (Plan) - เพอ่ื กาหนดกจิ กรรมและ ครู กศน. 8 คน กศน.อาเภอ 28 บางไทร พ.ย. - ประชมุ ชี้แจงผู้ เกย่ี วขอ้ ง ผู้รับผิดชอบ ตาบล 2565 - จดั ทาโครงการ - ทราบบทบาทหน้าที่และข้นั ตอน 20 คน ศนู ยเ์ รยี นรู้ 22 ธ.ค. 4,600 หลกั ปรัชญา 2565 บาท - แต่งตง้ั คณะ การดาเนนิ งาน ของ เศรษฐกิจ ดาเนนิ งาน - เพอื่ เสนอใหผ้ ู้บริหารอนมุ ัติ พอเพยี งและ เกษตร โครงการ ทฤษฎีใหม่ ประจาตาบล 2.ข้นั ดาเนนิ การ (Do) 1. เพื่อใหป้ ระชาชนผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ ประชาชน โพแตง 2.1 อบรมใหค้ วามรูเ้ รอื่ ง มคี วามรู้ ความเข้าใจเรอื่ งเกษตร ทัว่ ไป 8 คน กศน.อาเภอ 26 ธ.ค. บางไทร 2565 เกษตรผสมผสานบน ผสมผสานบนพ้นื ฐานของความ และผทู้ ี่ 8 คน กศน.อาเภอ 28 - พื้นฐานของความพอเพยี ง พอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา สนใจ บางไทร 29 ธ.ค. 2565 ตามศาสตรพ์ ระราชา 2. เพื่อใหป้ ระชาชนผู้เขา้ รว่ ม ในพน้ื ที่ โครงการ สามารถนาความรเู้ กย่ี วกบั อาเภอ เรื่องเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานของ บางไทร ความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา ไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ 3. ขน้ั ตรวจสอบ - เพอื่ สรุปผลการปฏบิ ตั ิงานตาม ครู กศน. ( Check ) โครงการฯและรายงานผล ตาบล 3.1 ติดตาม/ประเมิน ผลการดาเนินงาน -3.2 สรุปผล/รายงานผล 4. ขน้ั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข - (สรปุ ผลการดาเนนิ งาน/แนว - งาน Action ) ทางการวางแผนพฒั นาปรับปรงุ การ วชิ าการ 4.1 ปรับปรุงและพฒั นา จัดกจิ กรรมครงั้ ตอ่ ไป - งานนิเทศ/ การดาเนินงาน ประเมินผล 4.2 นาปญั หา/อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะในการ จดั กิจกรรมมาเปน็ แนวทาง ในการวางแผน พัฒนา ปรับปรุงในการจดั กิจกรรมครง้ั ตอ่ ไป สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
-๔- 7. วงเงนิ งบประมาณทัง้ โครงการ งบประมาณประจาปี พ.ศ. 2566 แผนงาน : พนื้ ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ผลผลิตท่ี 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน กิจกรรม การจัด กระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง รหัสงบประมาณ 20002350004002000000 รหัสกิจกรรม 20002660082400000 แหล่งของเงิน 6611200 ศูนย์ต้นทุน 2000200214 จานวนเงิน 4,600 บาท (ส่พี ันหกรอ้ ยบาทถ้วน) ประมาณการค่าใชจ้ า่ ยดังน้ี 7.1คา่ อาหารกลางวัน 20 คน x 50 บาท x 1 มือ้ เป็นเงนิ 1,000 บาท 7.2ค่าอาหารวา่ งและเครอ่ื งด่ืม 20 คน x 25 บาท x 2 มอื้ เป็นเงิน 1,000 บาท 7.3คา่ ตอบแทนวิทยากร 1 คน x 200 บาท x 5 ชัว่ โมง เปน็ เงนิ 1,000 บาท 7.4คา่ วัสดุ เป็นเงิน 1,600 บาท รวมเป็นเงนิ 4,600 บาท (สี่พนั หกรอ้ ยบาทถ้วน) หมายเหตุ ขอถัวจา่ ยตามท่จี า่ ยจริงทุกรายการ 8. แผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ แผนการใชจ้ ่ายเงินงบปี 2566 (ระบจุ านวน : 4,600 บาท) กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (เม.ย. – ม.ิ ย. (ก.ค. – ก.ย. - อบรม/บรรยายใหค้ วามรูต้ ามโครงการ ( ต.ค. –ธ.ค.65) (ม.ค. – มี.ค.66) เกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐาน 66) 66) ของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา ณ ศูนย์เรียนร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ 4,600 - - พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบล โพแตง อาเภอบางไทร 4,600 - -- จังหวดั พระนครศรีอยุธยา วนั ที่ 22 ธนั วาคม 2565 รวม สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
-๕- 9. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ ครู กศน.ตาบล 9.1 นางสาวนิภาพร โกษะ ครู กศน.ตาบล 9.2 นางสาวจุฑามาศ แสงสว่าง ครูศนู ย์การเรียนชมุ ชน 9.3 นางสาวสรินทร โกษะ ครู กศน.ตาบล 9.4 นายสมพร จิตรีเหมิ ครู กศน.ตาบล 9.5 นางสาวปยิ รตั น์ สุขสมพืช ครู กศน.ตาบล 9.6 นางสาวชาลิสา ศรไี ทย ครู กศน.ตาบล 9.7 นางสาวศทุ ธินี จันยะนยั 10. เครอื ข่าย 10.1 ผู้นาทอ้ งถน่ิ /ผู้นาชมุ ชน 10.2 ปราชญช์ าวบา้ น/ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ด้านเศรษฐกิจพอเพียง 10.3 ศูนยเ์ รียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบล 11. โครงการทเ่ี กี่ยวข้อง - โครงการจดั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 12. ผลลัพธ์ (Outcome) - ประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ตลอดจนนาความรูท้ ีไ่ ด้มาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ 13. ดัชนีชี้วัดผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ช้ีวดั ผลผลติ (Output) 13.1.1 จานวนผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ 13.1.2 จานวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการที่มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดบั ดี 13.1.3 จานวนผเู้ ข้าร่วมโครงการทน่ี าความรมู้ าประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวันอยู่ในระดับ ดี 13.1.4 จานวนผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทมี่ คี วามพึงพอใจต่อโครงการ อย่ใู นระดบั ดี 13.2 ตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 นาความรู้เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ไปปฏิบตั ใิ ช้ในการดาเนินชีวติ อยู่ในระดับ มาก 14. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบสรุปผลการดาเนินงาน 14.2 แบบประเมินผล สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
-๖- บทท่ี ๒ เอกสารท่เี กี่ยวข้อง โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา ความเปน็ มา แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ 2560-2579 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื เสริมสร้างคุณภาพชวี ิตท่ีเปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสร้าง จติ สานกึ รกั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ใิ นการดาเนินชวี ติ ตามทส่ี านักงาน กศน. ไดก้ าหนดเป็นประเด็นสาคญั ในขอ้ ยุทธศาสตร์ และจดุ เน้นการดาเนินงานการ สร้างการกระจายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสร้างความเท่าเทียมกันและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับ กลุ่มเป้าหมาย โดยสนับสนนุ การจัดการศึกษาตามวัย และพฒั นาการอย่างมีคุณภาพ การจดั การศกึ ษาชุมชนเพอื่ มงุ่ ให้ เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และการศึกษาตลอดชีวิตให้เป็นสังคมคุณธรรม และพร้อมรับมือกับความเปล่ียนแปลงทุก รูปแบบ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ และประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีไดร้ ับไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ กิจกรรมการ จัดการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง และการทาเกษตรผสมผสาน เป็นการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มี ความรู้ ความเขา้ ใจ เรอ่ื งปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมภี มู ิค้มุ กนั ในตวั ทดี่ ี โดยอาศยั ความ รอบรู้ และระมัดระวังในการนาความรู้มาใช้ในการวางแผนดาเนินงาน การนาความรู้เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน ชีวิตประจาวัน คือการใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน ไม่ใช้จ่ายในเร่ืองที่เห็นว่าไม่จาเป็น มีการจัดการค่าใช้จ่ายในแต่ละวัน แบ่งเงินส่วนหน่ึงไว้ใชจ้ ่าย ในยามฉุกเฉินรวมถึงนาเงินที่เหลือจากค่าใช้จา่ ยในแต่ละวันมาออมไว้ โดยมีการคิดคานวณ ก่อนที่จะซื้อของสิ่งหนง่ึ ว่าของน้ันสามารถใชไ้ ดน้ านแค่ไหนคุ้มหรอื ไม่กับการซ้ือในแต่ละครงั้ การกระทานน้ี อกจากจะ ได้ของใช้ทม่ี ีประสิทธิภาพแลว้ ยงั เปน็ การประหยดั เงิน และมสี านึกในคุณธรรม ซือ่ สัตย์ สจุ รติ มีความขยนั หมัน่ เพียร มานะอดทน ใช้สติปัญญาในการดารงชีวติ ดว้ ยความรอบครอบ โดยสามารถนามาประยุกตใ์ ห้เกิดผลในทางปฏิบัติใน การดารงชีวิต ประจาวันทง้ั ต่อตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ล เพื่อเรง่ สนองนโยบาย และพัฒนาคุณภาพ การจดั การศึกษาต่อเนื่อง ให้สามารถดาเนนิ การขับเคล่ือนตามทิศทาง บทบาท ภารกิจ ได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ และเกิดประสทิ ธผิ ลอย่างสงู ทส่ี ุด กศน.อาเภอบางไทร มีความตระหนักและเห็นความสาคัญของการศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และการทาเกษตรผสมผสาน ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. ในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรปู แบบตา่ ง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการบริหารจัดการความเสี่ยง อย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยนื จึงได้จัดทาหลักสตู รนี้ข้ึน เพื่อให้ประชาชนใน พื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของการทาการเกษตรแบบผสมผสาน เพื่อให้สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลสงู สดุ ทัง้ ต่อตนเอง และผอู้ ื่น หลักการของหลกั สตู ร ตระหนกั ถงึ วิธีการทาการเกษตรแบบผสมผสาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จดุ มงุ่ หมาย 1. เพ่อื สง่ เสริมให้ผูเ้ ขา้ รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับเร่อื งของการทาเกษตรผสมผสานตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. เพื่อให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมสามารถประยุกตใ์ ชห้ ลักปรชั ญาเศรษฐกิจเพยี งกับภาคการเกษตรได้ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
-๗- เป้าหมาย ประชาชนและผู้สนใจอาเภอบางไทร ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 4 ชวั่ โมง ภาคปฏิบตั ิ 2 ชั่วโมง รวม 6 ชวั่ โมง โครงสรา้ งหลกั สูตร ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหา การจดั จานวนชว่ั โมง กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 เกษตร 1.เพ่ือส่งเสริมให้ผเู้ ข้ารับ 1.1. ความหมายของ 1. อบรมให้ความรู้ 2 4 เรือ่ ง ผสมผสาน การอบรมประชาชนมี ศาสตรพ์ ระราชา - ศาสตร์พระราชา - หลกั ปรัชญาของ บนพนื้ ฐานของ ความรู้ ความเขา้ ใจ หลักปรัชญาของ ความพอเพยี ง เกีย่ วกบั หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามศาสตร์ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และการทาเกษตร เศรษฐกิจพอเพยี ง พระราชา จานวน 2.เพ่ือใหผ้ ้เู ข้ารับการ ผสมผสาน - การทาเกษตร 6 ชว่ั โมง อบรมสามารถนาความรู้ ดา้ นศาสตรพ์ ระราชามา ผสมผสาน ประยกุ ต์ใชใ้ น 2.1 การทาเกษตร 2. จดั กระบวนการ ชีวติ ประจาวนั ได้ ผสมผสาน การทาปุ๋ย เรยี นรู้โดยเรอื่ งการ ชีวภาพ การทาบัญชี ทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ครวั เรอื น การสรา้ ง 3. สาธิตและฝกึ มูลค่าผลิตภัณฑท์ าง ปฏิบตั กิ ารทาปุย๋ การเกษตร หมักชวี ภาพ เพอื่ 2.2 การประยุกต์ใช้ ปลกู ผักและ ศาสตรข์ องพระราชาใน ผลติ ภัณฑท์ างการ ชุมชน เกษตร - การปลูกพชื ผกั สวน 4. รว่ มกนสรปุ องค์ ครวั ความรทู้ ีไ่ ด้ จาก - การทาปยุ๋ ชีวภาพ เร่ืองการทาเกษตร - การทาบญั ชี ผสมผสาน และ ครวั เรือน ศาสตร์พระราชา 2.3 สรปุ องค์ความรู้จาก เพอ่ื นาความรไู้ ป การอบรมและฝึกปฏบิ ัติ ประยุกต์ใช้ในแต่ละ ชมุ ชนท่มี ีบริบทท่ี แตกตา่ งกันโดย วทิ ยากร และครู กศน.ตาบล สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
-๘- สือ่ การเรยี นรู้ 1. สือ่ บุคคล/วิทยากร 2. เอกสารประกอบการเรยี น 3. ฝึกปฏบิ ัติจริง การวดั ผลประเมนิ ผล 1. แบบประเมินความพงึ พอใจ 2. แบบประเมนิ ผลการจัดการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 3. แบบตดิ ตามผ้เู รียนหลังจบหลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ือง 4. แบบรายงานผลการจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่อง เกณฑก์ ารจบหลักสูตร 1. มีเวลาเรยี นและฝึกปฏิบตั ไิ ม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 2. มีผลการประเมินผ่านตลอดหลักสตู ร ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 3. มผี ลการประเมนิ ชิน้ งาน โดยวทิ ยากร ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
-๙- ศาสตรพ์ ระราชา ศาสตร์พระราชา คือ ศาสตร์การจัดการและการอนุรักษ์ดิน น้า ป่า ท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษา คิดค้น และวิจัย แล้วพระราชทานให้กับปวงชนชาวไทย เพื่อ ใช้ในการจัดการลุ่มน้า ตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า สู่ปลายน้า จากภูผาสู่มหานที เม่ือนาองค์ความรู้นี้มาปฏิบัติตามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎใี หม่ จะนาไปสู่การพ่งึ พาตนเองและการพฒั นาอย่างย่ังยืน พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ช น ก า ธิ เ บ ศ ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ม ห า ร า ช บ ร ม น า ถ บ พิ ต ร ทรงพระราชทานองค์ความรู้ผ่านพระราชดารัส พระราชปรารภ และพระบรมราโชวาท ในหลากหลายวาระ ซ่ึง โครงการฯ น้อมนามาเป็นหลกั การ และแนวทางในการปฏิบตั ิ อาทิ ดิน “...ดินน้ันพัฒนาข้ึนมาได้โดยไม่ยากนัก ดินจะเค็มจะเปร้ียวจะจืดอะไรก็ตาม สามารถท่ีจะทาให้ดีข้ึนได้ภายในไม่กี่ปี โดยใชเ้ ทคนิคแบบโบราณคือ ใชป้ ๋ยุ หมกั หรอื ใชต้ ะกอนท่ีลงมาตามลาหว้ ย มาพฒั นาดินอนั นเ้ี ปน็ วิธที งี่ า่ ย...” พระราชดารสั เมอ่ื วนั ท่ี 14 มีนาคม พ.ศ. 2536 ณ พระตาหนกั ภูพงิ คราชนเิ วศน์ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชยี งใหม่ น้า “...หลักสาคัญว่า ต้องมีน้า น้าบริโภคและน้าใช้ น้าเพ่ือการเพาะปลูก เพราะชีวิตอยู่ท่ีน่ัน ถ้ามีน้า คนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้า คนอย่ไู มไ่ ด้ ไม่มไี ฟฟ้า คนอย่ไู ด้ แตถ่ า้ มีไฟฟา้ ไมม่ ีน้าคนอยู่ไมไ่ ด.้ ..” พระราชดารสั เม่อื วันท่ี 17 มนี าคม พ.ศ. 2529 ณ พระตาหนักจติ รลดารโหฐาน สวนจติ รลดา พระราชวังดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๑๐ - ป่า “...การที่จะมตี ้นนา้ ลาธารไปชวั่ กาลนานนั้น สาคัญอยู่ท่ีการรกั ษาปา่ และปลูกป่าบรเิ วณต้นนา้ ซง่ึ บนยอดเขา และเนิน เขาสูงขึ้น ต้องมีการปลูกป่าโดยไม้ยืนต้นและปลูกไม้ฟืน ซึ่งไม้ฟืนน้ันราษฎรสามารถตัดไปใช้ได้ แต่ต้องมีการปลูก ทดแทนเป็นระยะ ส่วนไม้ยืนต้นนั้นจะช่วยให้อากาศมีความชุ่มช้ืน เป็นข้ันตอนหน่ึงของระบบการให้ฝนตกแบบ ธรรมชาติ ทงั้ ยงั ชว่ ยยดึ ดินบนเขาไม่ใหพ้ ังทลายเมอ่ื เกิดฝนตกอกี ดว้ ย ซงึ่ ถา้ รกั ษาสภาพปา่ ไว้ดีแล้ว ท้องถ่นิ จะมนี ้าไว้ใช้ ชัว่ กาลนาน...” พระราชดารสั เมื่อวนั ท่ี 14 เมษายน พ.ศ. 2520 ณ อ.ชยั บาดาล จ.ลพบรุ ี ป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง “การปลูกป่าถ้าจะให้ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาอยู่ได้ ให้ใช้วิธี ปลูกไม้ 3 อย่าง แต่มีประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ ไม้เศรษฐกิจ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลูกรับซับน้า และปลูกอุดช่วงไหล่ตามร่องห้วย โดยรบั นา้ ฝนอยา่ งเดยี ว ประโยชนอ์ ย่างที่ 4 ได้ระบบอนุรักษ์ดินและน้า” พระราชดารสั เม่ือวันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2523 ณ โรงแรมรินคา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ปลูกป่าโดยไม่ตอ้ งปลกู “ถ้าพูดเร่ืองปลูกป่าน้ีจะยืดยาวมาก ไม่มีส้ินสุด แต่จะต้องอธิบายอย่างนี้ว่า ถ้าได้เลือกท่ีท่ีเหมาะสม แล้วก็ท้ิงให้อยู่ อยา่ งน้นั โดยไมไ่ ปรงั แกปา่ ตน้ ไมก้ ็จะขึ้นเอง” พระราชดารัส เมื่อวันอาทิตยท์ ่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2537 ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวังดุสติ กรุงเทพมหานคร ปา่ เปยี ก “...ปา่ เปียก หรืออาจเรียกว่า ภูเขาป่า กไ็ ด้ แตใ่ นปจั จบุ นั ฝนตกนอ้ ย จึงจาเป็นต้องจดั สรา้ งระบบส่งน้าด้วยวธิ ีสูบน้าขนึ้ ไปพักในบ่อพักน้าบนภูเขา แล้วทาระบบกระจายน้าช่วยการปลูกป่าแบบกึ่งถาวร คือประมาณ 3-4 ปี เม่ือไม้โต พอสมควรกจ็ ะมีความชุ่มช้ืนและจะช่วยดูดความชื้นจากธรรมชาตดิ ้วย จากนั้นจึงย้ายระบบส่งน้าดังกล่าวไปช่วยพ้ืนที่ ใหม่ต่อไปอีก...” สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๑๑ - พระราชดารสั เมือ่ วันที่ 3 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2529 ณ ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาห้วยทรายฯ อ. ชะอา จ.เพชรบรุ ี หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นท่ีมาของนิยาม “3 ห่วง 2 เงื่อนไข” ท่ี คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วย ความ “พอประมาณ มีเหตผุ ล มภี ูมคิ มุ้ กนั ” บนเงอื่ นไข “ความรู้” และ “คุณธรรม” ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่าง พอเพยี งและประหยัด ตามกาลงั ของเงนิ ของบคุ คลนัน้ โดยปราศจากการก้หู นี้ยมื สนิ และถา้ มเี งินเหลือ กแ็ บง่ เกบ็ ออม ไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชีวิต อย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูก ปลกู ฝัง สรา้ ง หรือกระตุ้น ให้เกดิ การใช้จ่ายอยา่ งเกนิ ตัว ในเรือ่ งท่ีไมเ่ กย่ี วข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดารงชวี ติ เชน่ การบรโิ ภคเกินตวั ความบันเทงิ หลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแตง่ ตวั ตามแฟชนั่ การพนนั หรอื เส่ยี งโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่ บคุ คลหน่ึงไม่สามารถหลดุ ออกมาได้ ถ้าไมเ่ ปล่ียนแนวทางในการดารงชวี ติ บทสรุป ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 หว่ ง 2 เง่ือนไข ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 หว่ ง ห่วง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคท่อี ยใู่ นระดบั พอประมาณ ห่วง 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ ห่วง 3. การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ ท่ีจะ เกดิ ขน้ึ โดยคานงึ ถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกล ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2 เง่อื นไข 1. เง่อื นไข ความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วิชาการต่าง ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนา ความรเู้ หล่านน้ั มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในข้ันปฏบิ ัติ 2. เง่อื นไข คุณธรรม ทีจ่ ะต้องเสริมสรา้ งประกอบดว้ ย มคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มคี วามชื่อสตั ยส์ จุ ริต และมคี วาม อดทน มคี วามพากเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดาเนนิ ชีวติ สว่ นคาถามทวี่ า่ 3 หว่ ง 2 เงือ่ นไข 4 มติ ิ คืออะไร สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๑๒ - หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ตรงกบั หลักธรรม สัปปรุ ิสธรรม 7 1.(ความพอประมาณ) มตั ตญั ญุตา เปน็ ผู้รจู้ ักประมาณ อัตตญั ญตุ า เปน็ ผรู้ ู้จักตน 2. (ความมเี หตุผล) ธัมมัญญุตา เป็นผรู้ ้จู ักเหตุ อัตถญั ญตุ า เป็นผู้รูจ้ กั ผล 3. (การมภี มู คิ ุ้มกันทีด่ ใี นตวั ) กาลัญญุตา เป็นผู้รู้จกั กาล ปริสัญญุตา เปน็ ผ้รู จู้ ักบรษิ ทั ชุมชน ปคุ คลญั ญตุ า หรือ ปุคคลปโรปรญั ญุตา เปน็ ผรู้ ู้จกั บุคคล สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๑๓ - ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มหี ลกั พจิ ารณาอยู่ 5 ส่วน 1. กรอบแนวคิด เปน็ ปรัชญาทช่ี ้ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัตติ นในทางท่คี วรจะเป็น โดยมพี นื้ ฐานมาจากวิถี ชวี ติ ด้งั เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนามาประยุกตใ์ ชไ้ ด้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา ม่งุ เน้นการรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤตเพอื่ ความมัน่ คง และความยง่ั ยืนของการพฒั นา 2.คุณลักษณะ เศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนามาประยกุ ต์ใช้กบั การปฏบิ ัตติ นได้ในทกุ ระดบั โดยเน้นการปฏิบัติบนทาง สายกลาง และการพัฒนาอยา่ งเปน็ ขัน้ ตอน 3.คานยิ าม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลกั ษณะ พร้อม ๆ กนั ดงั น้ี 3.1 ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ไ่ี ม่น้อยเกนิ ไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบยี ดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น เช่น การผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยู่ในระดบั พอประมาณ 3.2 ความมเี หตุผล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ระดบั ของความพอเพียงนนั้ จะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งมเี หตผุ ล โดย พจิ ารณาจากเหตุปจั จัยทเ่ี ก่ียวข้อง ตลอดจนคานึงถงึ ผลที่คาดว่าจะเกดิ ข้ึนจากการกระทานัน้ ๆ อยา่ งรอบคอบ 3.3 การมีภูมิคุ้มกนั ทด่ี ีในตวั หมายถงึ การเตรยี มตัวให้พร้อมรบั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านตา่ งๆทจี่ ะ เกิดข้นึ โดยคานึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณต์ ่างๆ ท่คี าดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกล้และไกล 4.เง่อื นไข การตัดสนิ ใจและการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยู่ในระดบั พอเพียงนัน้ ต้องอาศยั ทัง้ ความรู้ และคณุ ธรรม เปน็ พ้นื ฐาน 4.1 เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กี่ยวกบั วชิ าการต่างๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งอย่างรอบดา้ นความรอบคอบ ท่ี จะนาความรู้เหล่านั้นมาพจิ ารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกนั เพอื่ ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวังในขน้ั ปฏิบัติ 4.2 เงอื่ นไขคณุ ธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยมคี วามตระหนักในคุณธรรม มคี วามซื่อสตั ยส์ ุจริต และมี ความอดทน มคี วามเพียรใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชีวติ 5.แนวทางปฏบิ ตั ิ/ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั จากการนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ คือ การพฒั นาท่สี มดุล และยั่งยนื พร้อมรับต่อการเปลยี่ นแปลง ในทุกดา้ น ทั้งด้านเศรษฐกจิ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม ความร้แู ละเทคโนโลยี วิธกี ารทาปยุ๋ อนิ ทรีย์ตา่ งๆ การทาปุ๋ยไวใ้ ชเ้ องโดยท่ไี มพ่ ่ึงพาสารเคมที าใหเ้ รามั่นใจได้วา่ ปยุ๋ ท่ีเราใส่บารงุ พชื ผกั ทีเ่ ราปลกู จะปลอดภัย แน่นอน ซง่ึ การทาป๋ยุ นีน้ อกจากจะได้ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ทป่ี ลอดภัยแล้วเรายังสามารถนามาใชเ้ ป็นกิจกรรมยามว่างร่วมกัน ภายในครอบครวั หรือ ในชุมชนได้อีกดว้ ย การทาปุ๋ยโดยมหี ลกั การคอื เลยี้ งดนิ ใหด้ นิ เล้ียงพชื และ ใหพ้ ืชเล้ียงเรา วิธกี ารทาปุ๋ยนา้ สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๑๔ - สว่ นผสม 1. ผลไม้ หรือ ผกั 3 ส่วน 2. กากนา้ ตาล หรอื นา้ ตาลทรายแดง 1 ส่วน 3. หัวเชอ้ื จุลนิ ทรีย์ 1 ส่วน 4. นา้ สะอาด 10 ส่วน สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๑๕ - วิธีการทาปยุ๋ แห้ง ส่วนผสม 1. อนิ ทรียว์ ัตถุ เช่นใบไม้ หญ้า ฟาง 4 ส่วน 2. มูลสัตว์หรอื ปยุ๋ คอก 1 ส่วน 3. รา (ถ้ามี) 4. นา้ สะอาด + ปุ๋ยน้า สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๑๖ - บทที่ ๓ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จานวน ๖ ชว่ั โมง เป้าหมาย จานวน ๒๐ คน จดั ได้ ๒๐ คน วนั ที่ 2๒ ธันวาคม 2565 ณ ศนู ย์เรยี นรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา มดี ังนี้ ๑. ข้นั วางแผน (Plan) ๑.๑ สารวจความต้องการ วเิ คราะห์ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย ๑.๒ ประชมุ ช้แี จงผเู้ กี่ยวข้องและแตง่ ตงั้ คณะ ดาเนินงาน ๑.๓ จดั ทาหลักสตู ร/ อนมุ ัตหิ ลักสตู ร ๑.๔ ประสานเครือขา่ ย ๒. ขัน้ ดาเนนิ การ (Do) ดาเนินการจัดกิจกรรม ๒.๑ จดั ฝกึ อบรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จานวน ๖ ชว่ั โมง 1. อบรมใหค้ วามรู้เร่ืองศาสตร์พระราชา 2. จดั กระบวนการเรยี นรู้เรอ่ื ง - ศาสตรพ์ ระราชา - หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - การทาเกษตรผสมผสาน - ข้ันตอนการทาปุย๋ หมกั ชีวภาพ - ขอ้ แนะนาและเทคนคิ การทาปยุ๋ หมักชวี ภาพ - การนาพลังงานทดแทนมาปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั 3. เสวนาสรปุ วธิ กี ารนาความรู้ เรือ่ งเกษตรผสมผสาน และศาสตร์พระราชา มาปรบั ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ๓. ขน้ั ตรวจสอบ (Check) ๓.๑ ประเมินความพงึ พอใจ (แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ)์ ๓.๒ การนเิ ทศติดตามผล ๔. ข้นั ปรบั ปรุงแก้ไข (Action) ๔.๑ นาผลการนิเทศมาปรับปรุงพัฒนา สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๑๗ - ขอ้ มูลผเู้ ข้าร่วมโครงการ เป้าหมายผเู้ ข้าร่วมโครงการจานวนท้งั หมด ๒๐ คน จัดได้ ๒๐ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๙ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4๕.๐๐ เพศหญงิ จานวน ๑๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5๕.๐๐ รวม จานวน ๒๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ ๒. อายุ คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ โดยมีอายุเฉล่ียตงั้ แต่ ตา่ กวา่ ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๕.๐0 อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๐.๐๐ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๔ คน คิดเปน็ ร้อยละ 3๕.๐0 อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน ๗ คน คดิ เป็นร้อยละ ๔๐.00 และอายุ ๖๐ ปขี ึ้นไป จานวน ๘ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๒๐ คน ๓. ระดบั การศกึ ษา จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๐๐ ตา่ กว่าประถมศกึ ษา จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๐๐ ประถมศกึ ษา จานวน ๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๕.๐๐ มัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน ๔ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๒๐.๐๐ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน ๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๐๐ อนปุ รญิ ญา/ปว.ส. จานวน ๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๕.๐๐ ปริญญาตรี จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๕.๐๐ สงู กว่าปรญิ ญาตรี จานวน ๒๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม ๔. ผูเ้ ข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉลีย่ ประกอบอาชีพ รับราชการ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3๐.๐0 รับจา้ ง จานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๐.๐๐ คิดเป็นรอ้ ยละ 1๕.๐0 เกษตรกร จานวน ๔ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3๕.๐๐ คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ คา้ ขาย จานวน ๓ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ พ่อบา้ น/แมบ่ ้าน จานวน 7 คน อาชีพอ่ืน ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๒๐ คน ผลการดาเนนิ งาน ๑. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ที่ตั้งเป้าหมายไว้ จานวน ๒๐ คน จัดได้ ๒๐ คน ประกอบอาชีพตาม กลมุ่ เปา้ หมาย ๒๐ คน ๒. วิทยากรให้ความรู้ โดยวิธกี ารบรรยาย วิธกี ารสาธิต และวธิ ีการฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากท่ีสุด (ตามเอกสารบทที่ ๔ แบบสอบถามความพงึ พอใจและสรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ) สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๑๘ - ปัญหาและอุปสรรคในการปฏบิ ตั งิ าน งบประมาณในการจดั ซ้อื วสั ดุมจี านวนจากัด ขอ้ เสนอแนะ งบประมาณจัดสรรค่าวสั ดุให้เพียงพอตอ่ จานวนผเู้ รยี น สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๑๙ - บทท่ี ๔ สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา จานวน ๖ ชว่ั โมง เปา้ หมาย จานวน ๒๐ คน จัดได้ ๒๐ คน วนั ที่ 2๒ ธนั วาคม 2565 ณ ศนู ย์เรยี นรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา มีดังนี้ ข้อมูลพื้นฐานของผูป้ ระเมินความพงึ พอใจ คาช้แี จง แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี ๒ ตอน ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลท่ัวไป คาชี้แจง โปรดใสเ่ ครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ ง ทต่ี รงกบั ขอ้ มลู ของท่านเพยี งช่องเดยี ว เพศ ชาย หญงิ อายุ ตา่ กวา่ ๑๕ ปี ๑๕-๒๙ ปี ๓๐-๓๙ ปี ๔๐-๔๙ ปี ๕๐-๕๙ ปี ๖๐ ปขี ้ึนไป ระดบั การศกึ ษา ต่ากวา่ ประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อนปุ ริญญา/ปว.ส. ปริญญาตรี สงู กวา่ ปริญญาตรี อ่นื ๆ โปรดระบ.ุ ............................................................................................ ประกอบอาชพี ผูน้ าท้องถิ่น อบต./เทศบาล พนกั งานรัฐวิสาหกจิ ทหารกองประจาการ เกษตรกร รบั ราชการ ค้าขาย รับจา้ ง อสม. แรงงานต่างดา้ ว พ่อบา้ น/แมบ่ ้าน อน่ื ๆ โปรดระบุ.......................... สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๒๐ - ตอนที่ ๒ ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมและความพงึ พอใจของผู้เรยี น/ผ้รู ับบริการ คาชแี้ จง โปรดใส่เครอ่ื งหมาย ลงในช่อง ท่ีตรงกบั ความคดิ เหน็ ของทา่ นเพยี งช่องเดียว ระดับความพึงพอใจ ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ มาก ปาน น้อย หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดา้ นเนื้อหา ทสี่ ุด มาก กลาง น้อย ทีส่ ุด 1 เนอื้ หาตรงตามความต้องการ 2 เน้ือหาเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ 3 เนอ้ื หาปัจจบุ ันทนั สมยั 4 เนื้อหามปี ระโยชนต์ อ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย 9 วิธีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจต่อวิทยากร 10 วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถในเร่ืองทถี่ ่ายทอด 11 วิทยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 12 วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซักถาม ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และสง่ิ อานวยความสะดวก 14 การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ...............................................................................................................................………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ...............................................................................................................................………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๒๑ - บทท่ี ๕ สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จานวน ๖ ช่วั โมง เป้าหมาย จานวน ๒๐ คน จัดได้ ๒๐ คน วันที่ 2๒ ธนั วาคม 2565 ณ ศูนย์เรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีดังน้ี ตอนที่ ๑ ข้อมูลทวั่ ไป โครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา เปา้ หมาย ๒๐ คน จัดได้ ๒๐ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๙ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4๕.๐๐ เพศหญิง จานวน ๑๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5๕.๐๐ รวม จานวน ๒๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ 20 18 16 14 12 10 8 6 รวม 4 หญิง 2 ชาย 0 คน ชาย หญิง รวม สรุปผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง จานวน ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๐๐ ที่เหลือ เป็นเพศชาย จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๐๐ สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๒๒ - ๒. อายุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ โดยมีอายุเฉลี่ยตั้งแต่ ต่ากว่า ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๕.๐0 อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๒๐.๐๐ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๔ คน คดิ เป็นร้อยละ 3๕.๐0 อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน ๗ คน คดิ เป็นร้อยละ ๔๐.00 และอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จานวน ๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๒๐ คน 20 ชาย 18 หญิง 16 รวม 14 12 รวม 10 ชาย 8 6 4 2 0 ต่ากวา่ 15 ปี 15-29 30-39 40-49 50-59 60 ปี ขนึ ้ ไป รวม สรปุ ผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา สว่ นใหญ่ มีอายุ ๖๐ ปีข้ึนไป จานวน ๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๐๐ รองลงมา มีอายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน ๗ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๕.๐๐ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๐.๐๐ และสดุ ท้าย มีอายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๕.๐๐ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๒๓ - ๓. ระดบั การศกึ ษา จานวน ๕ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๒๕.๐๐ ตา่ กวา่ ประถมศึกษา จานวน ๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๐.๐๐ ประถมศึกษา จานวน ๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๕.๐๐ มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๐.๐๐ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน ๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๐.๐๐ อนปุ ริญญา/ปว.ส. จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๕.๐๐ ปรญิ ญาตรี จานวน ๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๕.๐๐ สงู กวา่ ปริญญาตรี จานวน ๒๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม 20 18 16 14 12 10 8 6 4 รวม 2 ชาย 0 ชาย หญิง รวม สรปุ ผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา ส่วนใหญ่ จบการศกึ ษาตา่ กว่าประถมศกึ ษา จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๐๐ รองลงมา จบระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย / จบระดับอนุปรญิ ญา/ปว.ส. / จบระดบั ประถมศึกษา จานวนระดับละ ๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๕.๐๐ และสดุ ทา้ ย จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จบการศึกษาระดับปริญญาตรี และจบการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรี จานวนระดับละ ๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๕.๐๐ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๒๔ - ๔. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉลี่ยประกอบอาชีพ รับราชการ จานวน ๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คิดเปน็ ร้อยละ 3๐.๐0 รับจ้าง จานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๐.๐๐ คิดเป็นร้อยละ 1๕.๐0 เกษตรกร จานวน ๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ 3๕.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คา้ ขาย จานวน ๓ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ พ่อบ้าน/แม่บา้ น จานวน 7 คน อาชีพอืน่ ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๒๐ คน 20 18 16 14 12 10 ชาย 8 6 หญิง 4 รวม 2 0 รวม ชาย สรปุ ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพพ่อแม่/แมบ่ ้าน จานวน ๗ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๕.๐๐ รองลงมา ประกอบอาชีพรับจ้าง จานวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๐๐ ตามมาด้วย ประกอบอาชีพเกษตรกร จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๐๐ และ สดุ ทา้ ยประกอบอาชีพค้าขาย จานวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๐๐ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๒๕ - ตอนท่ี ๒ ความพงึ พอใจต่อการจัดกจิ กรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา เป้าหมาย ๒๐ คน จดั ได้ ๒๐ คน ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพงึ พอใจ หมาย มาก ปาน น้อย เหตุ ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจด้านเน้ือหา ทีส่ ุด มาก กลาง นอ้ ย ท่สี ุด 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 2 เนอื้ หาเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ 16 ๔ - - - 3 เน้ือหาปจั จบุ ันทันสมัย 1๗ ๓ - - - 4 เน้อื หามีประโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 1๕ ๕ - - - ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 1๘ ๒ - - - 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 1๙ 1 - - - 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย 1๙ 1 - - - 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร 1๘ 2 - - - 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถา่ ยทอด 11 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ อ่ื เหมาะสม 1๘ 2 - - - 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซกั ถาม ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก 1๙ 1 -- 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณแ์ ละสิ่งอานวยความสะดวก 14 การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้เกดิ การเรยี นรู้ 1๘ ๒ - - - 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ญั หา 1๘ ๒ - - - 1๘ ๒ - - - 1๘ ๒ - - - 1๘ ๒ - - - 1๙ 1 - - - สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๒๖ - สว่ นประเมินผลความพึงพอใจดว้ ยเกณฑค์ ะแนนเฉลยี่ รวม มีคา่ คะแนน ๑ คะแนนและเกณฑร์ ะดับความพงึ พอใจเปน็ นี้ มคี า่ คะแนน ๒ มีคา่ คะแนน ๓ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ปรบั ปรุง มคี า่ คะแนน ๔ ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ พอใช้ มีคา่ คะแนน ๕ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคดิ เห็น ปานกลาง ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ดี ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดีมาก และคา่ คะแนนเฉล่ียมีเกณฑ์ดังน้ี หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ปรับปรุง คะแนนเฉล่ีย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ พอใช้ คะแนนเฉล่ยี ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ดี คะแนนเฉล่ยี ๓.๕๐ – ๔.๕๐ หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดมี าก คะแนนเฉล่ีย ๔.๕๐ – ๕.๐๐ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๒๗ - สรปุ ความพงึ พอใจในภาพรวม จากการจัดกิจกรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา เปา้ หมาย ๒๐ คน จัดได้ ๒๐ คน พบว่าแบบสอบถามท้งั ๑๕ ข้อ ผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 16 ๔ - - - 2 เน้ือหาเพียงพอตอ่ ความต้องการ 1๗ ๓ - - - 3 เนือ้ หาปจั จุบนั ทันสมยั 1๕ ๕ - - - 4 เนอื้ หามีประโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 1๘ ๒ - - - 18 16 14 12 10 8 6 น้อยท่ีสดุ มากท่สี ดุ 4 น้อย 2 ปานกลาง 0 มาก มาก มากทีส่ ดุ ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ดุ สรปุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเนื้อหา เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด จานวน ๑๘ คน รองลงมา เน้ือหาเพียงพอต่อความต้องการ ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด จานวน ๑๗ คน เน้ือหาตรงตามความ ต้องการระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด จานวน ๑๖ คน และ สุดท้าย เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย ระดับความพึงพอใจ มากท่ีสดุ จานวน ๑๕ คน สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๒๘ - ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 1๙ 1 - - - 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 1๙ 1 - - - 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 1๘ 2 - - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 1๘ 2 - - - 9 วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 1๙ 1 -- 20 18 16 14 12 10 8 6 4 น้อยท่สี ดุ มากท่ีสดุ 2 น้อย มาก 0 ปานกลาง มาก มากทส่ี ดุ ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ดุ สรปุ ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม / การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และวิธีการวัดผล/ ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ระดับความพึงพอใจมากที่สุด จานวน ๑๙ คน รองลงมา การจัดกิจกรรม เหมาะสมกับเวลา และการจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย ระดับความพึงพอใจมากท่ีสดุ จานวน ๑๘ คน สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๒๙ - 1๘ ๒ - - - 1๘ ๒ - - - ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วทิ ยากร 1๘ ๒ - - - 10 วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเรือ่ งทถ่ี ่ายทอด 11 วทิ ยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ่อื เหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซกั ถาม 18 16 14 12 10 8 น้อยท่ีสดุ 6 น้อย มากท่สี ดุ 4 2 ปานกลาง มาก 0 มาก ปานกลาง มากท่สี ดุ น้อย น้อยท่สี ดุ สรุปตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วทิ ยากร วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองที่ถ่ายทอด / วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม และ วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีส่วนรว่ มและซกั ถาม ระดับความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ จานวน ๑๘ คน สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๓๐ - 1๘ ๒ - - - 1๘ ๒ - - - ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 1๙ 1 - - - 13 สถานที่ วสั ดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก 14 การสื่อสาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการเรยี นรู้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลือและการแก้ปญั หา 20 18 16 14 12 10 8 น้อยท่ีสดุ 6 น้อย มากที่สดุ 4 ปานกลาง 2 มาก มาก 0 ปานกลาง มากทีส่ ดุ น้อย น้อยท่ีสดุ สรปุ ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ระดับความพึงพอใจมากที่สุด จานวน ๑๙ คน รองลงมา สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก และ การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ระดับ ความพึงพอใจมากทส่ี ดุ จานวน ๑๘ คน สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๓๑ - สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๓๒ - รปู ภาพประกอบ โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จานวน ๖ ชัว่ โมง เปา้ หมาย จานวน ๒๐ คน จดั ได้ ๒๐ คน วันท่ี 2๒ ธนั วาคม 2565 ณ ศนู ยเ์ รียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๓๓ - รปู ภาพประกอบ โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จานวน ๖ ชัว่ โมง เปา้ หมาย จานวน ๒๐ คน จดั ได้ ๒๐ คน วันท่ี 2๒ ธนั วาคม 2565 ณ ศนู ยเ์ รียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๓๔ - บรรณานกุ รม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ๒๕๖๕. โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา. สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
- ๓๕ - ทป่ี รกึ ษา คณะผู้จัดทา นายสวสั ดิ์ บญุ พรอ้ ม ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอนครหลวง นางสาววชิ ชุตา แก้วโมรา รกั ษาการในตาแหน่งผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางไทร นางสาวหทัยรตั น์ ศิรแิ กว้ บรรณารกั ษช์ านาญการ นางสาวฐติ พิ ร พาสี ครู ครู คณะทางาน/ผ้รู วบรวมข้อมลู /สรุปผล/รายงานผล/จดั พมิ พร์ ปู เลม่ นายสมพร จติ รเี หิม ครู กศน.ตาบล นางสาวนภิ าพร โกษะ ครู กศน.ตาบล นางสาวปยิ รตั น์ สุขสมพชื ครู กศน.ตาบล นางสาวศุทธินี จนั ยะนัย ครู กศน.ตาบล นางสาวจฑุ ามาศ แสงสวา่ ง ครู กศน.ตาบล นางสาวชาลสิ า ศรีไทย ครู กศน.ตาบล นางสาวสรินทร โกษะ ครูศูนยก์ ารเรียนชุมชน สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
- ๓๖ - สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: