บนั ทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/๙๗๖ วนั ที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๔ เร่อื ง รายงานสรุปผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง โครงการการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ เรียน ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ตามที่ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาอาเภอบางไทร ได้ อนุมตั กิ ิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงโครงการการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) ข้าพเจ้านายสมพร จิตรีเหิม ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ผู้รับผิดชอบกิจกรรมเศรษฐกิจ พอเพียงโครงการการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) วันที่ ๑๙ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ หมูํ ๓ ศูนยก์ ารเรียนร๎ูตามหลักปรัชญษของเศรษฐกิจพอเพียงตาบล ราชคราม อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีเป้าหมาย ประชาชนในตาบลราชคราม จานวน ๖ คน จดั ได้ ๑๓ คน บดั นีก้ จิ กรรม/โครงการ ดังกล่าวได้ดาเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงานผล การจดั กิจกรรม/โครงการ ดงั เอกสารรูปเล่มแนบท้ายนี้ จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ (นายสมพร จติ รเี หิม) ครู กศน.ตาบล (นางสาวฐติ พิ ร พาส)ี หวั หน้างานการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ทราบ อน่ื ๆ ………………………….. (นางสาวมุกดา แขง็ แรง) ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอภาชี รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร
คานา กศน.ตาบลราชคราม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้ ดาเนินการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงโครงการการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกษตร ผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื ใหป้ ระชาชนทีเ่ ข้ารว่ มโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกบั การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) และ สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ และเพ่ือใหป้ ระชาชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถเรียนรู้ และเข้าใจ ถงึ วธิ กี ารปลกู ผกั สวนครวั และการดแู ลรกั ษา บารุงผกั ที่ปลูกได้ ทาง กศน.ตาบลราชคราม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง โครงการการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) จะเป็นประโยชน์กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในคร้ังน้ีไม่มากก็น้อย และ หากการจดั โครงการในครัง้ นี้มขี อ้ บกพรอ่ งประการใด ทาง กศน.ตาบลราชคราม ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร ต้องขออภัยไว้ ณ ท่ีนดี้ ้วย รายงานสรุปฉบับน้ีเป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทาโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจน ประเมินผลโครงการเพ่อื เป็นการเพม่ิ พนู ความรู้และเป็นแนวทางในการจดั ทาโครงการในคร้งั ตอ่ ไป สมพร จิตรเี หมิ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๔
สารบัญ หน้า เรอ่ื ง ๑ บันทกึ ข้อความ ๙ คานา ๒๐ สารบัญ ๒๓ บทที่ ๑ บทนา ๒๕ บทที่ ๒ เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง ๓๕ บทที่ ๓ สรุปผลการดาเนนิ งาน ๓๖ บทท่ี ๔ แบบสอบถามความพึงพอใจ บทท่ี ๕ สรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ ภาคผนวก รูปภาพประกอบโครงการฯ แบบรายงาน กศ.ตน. บรรณานกุ รม คณะผ้จู ดั ทา
บทที่ ๑ บทนา ๑. ช่ือ โครงการการเรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ นโยบายเร่งดว่ นเพอ่ื ร่วมขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 2. ความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ของ กศน. ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชวํ งวยั และการสร๎างสงั คมแหํงการเรยี นรู๎ 1) สํงเสรมิ สนับสนุนใหค๎ นทกุ ชวํ งวยั มีทักษะ ความรู๎ ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตอยํางเหมาะสม เตม็ ตามศกั ยภาพในแตลํ ะชํวงวัย ๔. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา ๔.๕ พลกิ โฉม กศน.ตาบล สํู “กศน.ตาบล ๔G” ข๎อ ๑) – ขอ๎ ๔) ๕. ยุทธศาสตรด์ ้านส่งเสริมและจดั การศึกษาเพื่อเสริมสรา้ งคุณภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๕.๓ สํงเสริมให๎หนํวยงานและสถานศึกษาใช๎พลังงานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล๎อม รวมทั้งลด การใช๎ทรพั ยากรทสี่ ํงผลกระทบตํอส่งิ แวดล๎อม จดุ เนนการดาเนนิ งานประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. สงสริมการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชวี ติ สาหรับประชาชนท่ีเหมาะสมกับทกุ ชวงวัย 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสราง นวตั กรรมและผลิตภณั ฑที่มคี ุณภาพ มีความหลากหลาย ทนั สมยั และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูรบั บริการ และสามารถออกใบรบั รองความรคู วามสามารถเพ่ือนาไปใชในการพฒั นาอาชพี ได 3. พฒั นาหลกั สตู ร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจัดการศึกษา และการเรียนรู ในทกุ ระดับ ทุกประเภท เพ่อื ประโยชนตอการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมกับทุกกลุมเปาหมาย มี ความทันสมยั สอดคลองและพรอมรองรับกับบรบิ ทสภาวะสังคมปจจุบัน ความตองการของผูเรียน และสภาวะ การเรยี นรูในสถานการณตาง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ข้ึนในอนาคต 3.2 พฒั นาแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่ือให สามารถ “เรียนรูไดอยางทวั่ ถึง ทกุ ท่ี ทุกเวลา”
สรุปผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒ การจัดการศึกษาและการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสานักงาน กศน. จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562 สงผลกระทบตอระบบการจดั การเรยี นการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได ออกประกาศและมมี าตรการเฝาระวังเพอื่ ปองกันการแพรกระจายของเชือ้ ไวรสั ดังกลาว อาทิ กาหนดใหมีการเว นระยะหางทางสังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุก ประเภท เพอ่ื จัดการเรียนการสอน การสอบ ฝกอบรม หรือการทากิจกรรมใด ๆ ที่มผี ูเขารวมเปนจานวนมาก การปดสถานศึกษาดวยเหตุพิเศษ การกาหนดใหใชวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม อาทิ การจัดการ เรียนรูแบบออนไลน การจัดการเรียนรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ตาง ๆ รวมถึงการส่ือสารแบบทางไกลหรือดวยวิธีอิเล็กทรอนิกส ในสวนของสานักงาน กศน. ไดมีการพัฒนา ปรับ รูปแบบ กระบวนการ และวธิ กี ารดาเนนิ งานในภารกิจตอเน่ืองตาง ๆ ในสถานการณการใชชีวิตประจาวัน และ การจัดการเรียนรูเพ่ือรองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ไดให ความสาคัญกบั การดาเนินงานตามมาตรการการปองกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรูทุกประเภทหากมีความจาเปนตองมาพบกลุม หรืออบรมสัมมนา ทาง สถานศึกษาตองมีมาตรการปองกันที่เขมงวด มีเจลแอลกอฮอลลางมือ ผูรับบริการตองใสหนากากอนามัยหรือ หนากากผา ตองมีการเวนระยะหางระหวางบุคคลเนนการใชส่ือดิจิทัลและเทคโนโลยีออนไลนในการจัดการ เรียนการสอน ภารกิจตอเน่อื ง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรยี นรู 1.3 การศึกษาตอเนื่อง 4) การจดั กจิ กรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิตใน รูปแบบตางๆ ใหกับประชาชน เพ่ือเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางม่ันคง และมีการบริหาร จัดการความเสย่ี งอยางเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสูความสมดุลและย่งั ยนื
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๓ 2. ดานหลกั สูตร ส่ือรปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู การวดั และประเมนิ ผลงานบริการทางวชิ าการ และ การประกันคณุ ภาพการศึกษา 2.1 สงเสริมการพฒั นาหลกั สูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพอื่ สงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลักสตู รทองถิน่ ที่สอดคลองกับสภาพบรบิ ทของพ้ืนท่แี ละความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คณุ ภาพภายในท่สี อดคลองกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขน้ึ เพ่อื พรอมรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนาบคุ ลากรใหมคี วามรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสาคญั ของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และ จัดใหมีระบบสถานศึกษาพ่ีเล้ียงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สาหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก ใหพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาใหไดคณุ ภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนด 6. ดานบคุ ลากรระบบการบรหิ ารจดั การ และการมีสวนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพฒั นาบุคลากร 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตาบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงข้ึน เพ่ือการบริหารจัดการ กศน.ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผูอานวย ความสะดวกในการเรยี นรูเพ่อื ใหผูเรยี นเกดิ การเรยี นรูทม่ี ีประสทิ ธิภาพอยางแทจรงิ 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรูได อยางมคี ุณภาพโดยสงเสรมิ ใหมีความรูความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การ วดั และประเมินผล และการวจิ ัยเบื้องตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ให มีความรู ความสามารถและมคี วามเปนมืออาชีพในการจัดบรกิ ารสงเสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิตของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการบริหาร การดาเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทาหนาท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือขายท้ังในและตาง ประเทศในทุกระดับ โดยจดั ใหมกี ิจกรรมเพ่อื เสริมสรางสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานรวมกัน ในรปู แบบทหี่ ลากหลายอยางตอเนื่องอาทิ การแขงขันกฬี า การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นาประสทิ ธิภาพ ในการทางาน
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๔ 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานขอมลู ใหมีความครบถวนถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศอยางเป็น ระบบเพ่อื ใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใชเปนเครื่องมือสาคัญในการบริหารการวางแผน การปฏบิ ัติงาน การตดิ ตามประเมนิ ผล รวมทงั้ จดั บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเรงรัด การเบิกจายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายทก่ี าหนดไว 3) พฒั นาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยง กนั ทวั่ ประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพ่ือประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียน และการบรหิ ารจัดการอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังในประเทศ และตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนเพ่ือสรางความเขาใจ และใหเกิด ความรวมมือในการสงเสรมิ สนบั สนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูใหกบั ประชาชนอยางมีคณุ ภาพ 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ บรหิ ารจัดการบนขอมูลและหลักฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสมั ฤทธ์ิมคี วามโปรงใส 6.4 การกากับ นิเทศติดตามประเมิน และรายงานผล 1) สรางกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยใหเช่อื มโยงกับหนวยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครอื ขายทงั้ ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาท่เี กยี่ วของทุกระดบั พฒั นาระบบกลไกการกากับ ติดตามและรายงาน ผลการนานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตละเร่ืองไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออ่ืน ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกากับนิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมีประสิทธิภาพ 4) พฒั นากลไกการตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการตามคารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการประจาปของ หนวยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาป ของสานักงาน กศน.ใหดาเนินไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ เปนไปตามเกณฑ วิธกี าร และระยะเวลาท่ีกาหนด
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๕ ๒. หลักการและเหตุผล สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายและจุดเน้นการ ด า เ นิ น ง า น ป ร ะ จ า ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ .ศ .๒ ๕ ๖ ๔ ๑ ๑.๑ “ ต่าง ๆ และ ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได ความสมดุลและยั่งยืน กศน.อาเภอบางไทร เป็นหน่วยงานจัดกิจกรรม ได้เห็นความสาคัญของการสร้างการรับรู้ในเร่ืองหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) เพ่ือให้ประชาชนได้นาไปปรับใช้ใน ชีวิตประจาวัน จึงได้จัดโครงการนี้ข้นึ ๓. วัตถปุ ระสงค์ ๓.๑ เพ่ือให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการดาเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) และสามารถนาความรู้ไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวันได้ ๓.๒ เพ่ือใหป้ ระชาชนท่ีเขา้ รว่ มโครงการสามารถเรียนรู้ และเข้าใจถึงวิธีการปลูกผักสวนครัว และการ ดแู ลรกั ษา บารงุ ผักทปี่ ลกู ได้ ๔. กลมุ่ เปา้ หมาย จานวน ๖ คน ๔.๑ เชงิ ปรมิ าณ ๔.๑.๑ ประชาชน และผสู้ นใจ ตาบลราชคราม ๔.๒ เชงิ คุณภาพ ๔.๒.๑ ประชาชนรอ้ ยละ ๘๐ ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) ๔.๒.๒ ประชาชนร้อยละ ๘๐ ที่เข้ารว่ มโครงการเรียนรู้ และเขา้ ใจถึงวิธกี ารปลูกผกั สวนครัว และการดูแลรกั ษา บารุงผกั ที่ปลกู ได้
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรียนรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๖ ๕. วิธีดาเนินการ กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พื้นทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ วนั ท่ี - ๑. วางแผนการ ๑. เพื่อวางแผน ผบู้ รหิ าร และ ๒๗ คน กศน.อาเภอ ๑ – ๑๐ ดาเนินงานของ และกาหนด บุคลากร กศน. บางไทร - โครงการ วตั ถุประสงค์ใน อาเภอบางไทร โครงการ กมุ ภาพนั ธ์ การจัดโครงการ ทไ่ี ดร้ บั กศน.อาเภอ ๒๕๖๔ ๔๑,๗๐๐ ๒. จัดทาและขอ ๑. เพ่ือกาหนด ผูบ้ รหิ าร และ การ บางไทร วนั ที่ บาท อนมุ ตั โิ ครงการ แผนการ บคุ ลากร กศน. อนมุ ัติ ๑ – ๑๘ ดาเนินงานและ อาเภอบางไทร จานวน กศน.ตาบล ๒๓ กุมภาพันธ์ ๓. วิธกี าร รายละเอียด แหง่ ๒๕๖๔ ดาเนนิ งานตาม ของโครงการ ประชาชนท่ัวไป ๑ โครงการ และขออนุมตั ิ ทกุ ตาบล โครงการ ๑๙ - อบรมหลัก โครงการ ๑๓๙ คน กมุ ภาพันธ์ ปรชั ญาของ ๑. เพ่ือให้ ๒๕๖๔ เศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนท่ีเขา้ เกษตรผสมผสาน รว่ มโครงการมี (โคก หนอง นา ความรู้ ความ โมเดล) เขา้ ใจ เกยี่ วกับ หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) ๔. สรุปและ ๑. เพ่ือสรุปผล ผู้รบั ผิดชอบ ๒๓ คน กศน.อาเภอ ๑๙-๒๘ - รายงานผลการ การดาเนนิ งานใน โครงการ บางไทร กมุ ภาพันธ์ ดาเนนิ งาน การจัดโครงการ ๒๕๖๔
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรียนร้หู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๗ ๖. งบประมาณ งบประมาณประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๔ แผนงาน : พื้นฐานดา๎ นการพฒั นาและเสริมสร๎างศกั ยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ผลผลติ ท่ี ๔ ผูร๎ บั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ งบดาเนนิ งาน (เศรษฐกิจพอเพยี ง) รหสั งบประมาณ ๒๐๐๐๒๓๖๐๔๐๐๐๐๐๐ รหสั กิจกรรมหลกั ๒๐๐๐๒๑๔๐๐P๒๗๓๐ แหลงํ ของเงนิ ๖๔๑๑๒๐๐ จานวนเงนิ ๔๑,๗๐๐.- บาท (ส่ีหม่นื หน่ึงพันเจด็ ร๎อยบาทถว๎ น) ประมาณการ คาํ ใช๎จาํ ยดงั น้ี ๗.1 ตน๎ มะเขอื ไขเํ ตํา ๑๖๒ ตน๎ ๆ ละ ๓๐ บาท เปน็ เงนิ ๔,๖๘๐ บาท ๗.2 ต๎นมะเขอื ยาว ๑๖๒ ต๎น ๆ ละ ๓๐ บาท เปน็ เงนิ ๔,๖๘๐ บาท ๗.3 ต๎นมะละกอแขกดา ๑๖๒ ตน๎ ๆ ละ ๓๐ บาท เป็นเงนิ ๔,๖๘๐ บาท ๗.4 ต๎นมะเขือเปราะ ๑๖๒ ตน๎ ๆ ละ ๓๐ บาท เปน็ เงนิ ๔,๖๘๐ บาท ๗.5 ต๎นกระเพราะ ๑๖๒ ตน๎ ๆ ละ ๓๐ บาท เปน็ เงิน ๔,๖๘๐ บาท ๗.6 ต๎นโหระพา ๑๖๒ ตน๎ ๆ ละ ๓๐ บาท เปน็ เงนิ ๔,๖๘๐ บาท ๗.7 กระดาษปรฟู ๑๓ โหล ๆ ละ ๕๐ บาท เป็นเงิน ๖๕๐ บาท ๗.8 ปากกาเคมี ๒ หัว ๒๓ ชุด ๆ ละ ๑๗๐ บาท เปน็ เงนิ ๓,๙๑๐ บาท ๗.9 สมดุ ปกอํอน ๑๖๒ เลมํ ๆ ละ ๑๐ บาท เป็นเงิน ๑,๖๒๐ บาท ๗.10 ดินสอดา ๑๖๒ แทํงๆ ละ ๕ บาท เป็นเงนิ ๘๑๐ บาท ๗.11 ดนิ ปลกู ต๎นไม๎ ๕๗ ถงุ ๆ ละ ๕๐ บาท เปน็ เงิน ๒,๘๕๐ บาท ๗.12 ปุ๋ย ๑๕ - ๑๕ -๑๕ ๖๐ กก.ๆ ละ ๔๕ บาท เป็นเงนิ ๒,๗๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๔๑,๗๐๐ บาท หมายเหตุ ขอถวั จ่ายตามทจี่ ่ายจรงิ ทกุ รายการ ๗. ระยะเวลา วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๘. สถานท่ี ณ หมํู ๓ ศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๙. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ ๙.๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ๙.๒ กศน.ตาบลราชคราม ๑๐. โครงการที่เกยี่ วข้อง ๑๐.๑ โครงการจัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาทักษะชีวิต ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑๐.๒ โครงการจดั การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ๑๐.๓ โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑๐.๔ โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรียนร้หู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๘ ๑๑. หนว่ ยงานเครือข่าย ๑๑.๑ สานักงานเกษตรอาเภอ ๑๑.๒ แหล่งเรียนรู้ ๑๑.๓ ปราชญช์ าวบา้ น/ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ๑๒. ผลลัพธ์ (OUT COME) ๑๒.๑ ประชาชนท่เี ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ ๑๒.๒ ประชาชนท่ีเข้ารว่ มโครงการเรียนรู้ และเขา้ ใจถึงวธิ ีการปลกู ผักสวนครวั และการดแู ลรกั ษา บารุงผักทปี่ ลกู ได้ ๑๓. ดชั นีชีว้ ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ ๑๓.๑ ตัวชว้ี ดั ผลผลิต (OUTPUT) ๑๓.๑.๑ รอ้ ยละ ๘๐ ของประชาชนท่ีเข้ารว่ มโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ ในเร่ืองหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) และนาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน ๑๓.๑.๒ ประชาชนร้อยละ ๘๐ ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการเรยี นรู้ และเขา้ ใจถงึ วิธกี ารปลกู ผกั สวนครวั และการดูแลรกั ษา บารุงผกั ท่ีปลูกได้ ๑๓.๒ ตัวชีว้ ัดผลลพั ธ์ (OUTCOME) ๑๓.๒.๑ ประชาชนทเ่ี ข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรือ่ งหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ๑๓.๒.๒ ประชาชนท่เี ขา้ ร่วมโครงการเรยี นรู้ และเข้าใจถึงวิธีการปลกู ผกั สวนครวั และการดูแล รกั ษา บารงุ ผกั ท่ปี ลูกได้ ๑๔. การติดตามและประเมนิ ผล ๑๔.๑ แบบบนั ทึก ๑๔.๒ แบบประเมินความพึงพอใจ ๑๔.๓ แบบติดตามผูเ้ รียน
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรียนร้หู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๙ บทท่ี ๒ เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง การดาเนินกิจกรรม/โครงการใช๎ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งนี้ผู๎ดาเนินการได๎ศึกษาเอกสารและ งานทเ่ี ก่ียวขอ๎ งกบั การเสริมสร๎างภูมิปัญญาทางบัญชีเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช๎จํายตามแนวคิดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชน โดยผู๎ดาเนินกิจกรรม/โครงการได๎ทาการศึกษาจากเอกสาร แนวคดิ ทฤษฎีท่ีเกีย่ วข๎อง และ นาเสนอตามลาดบั ดงั นี้ 1. แนวคดิ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช๎จาํ ย 3. แนวคิดเก่ียวกับการบัญชีและภมู ปิ ญั ญาทางบญั ชี แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สานักงานคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ได๎กลําวถึงความเป็นมา ของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยสรุปวํา ตลอดเวลากวําคร่ึงศตวรรษ นับต้ังแตํพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัว ขึ้นเถลิง ราชสมบัติบรมราชาภิเษกภายใต๎นพปฎลมหาเศวตฉัตร ซ่ึงได๎พระราชทานพระปฐมราชโองการ “เราจะครอง แผํนดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแหํงมหาชนชาวสยาม” พระองค์ได๎ทรงทํุมเทพระวรกาย และพระ สติปัญญา รํวมทุกข์รํวมสุขกับพสกนิกรของพระองค์ และบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ ในด๎าน ตํางๆ ท้ังด๎าน เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล๎อม โดยคานึงถึงประโยชน์สุขของพสกนิกรเป็น ที่ต้ัง โดยใช๎หลัก คุณธรรมและความรู๎ความเข๎าใจทางหลักวิชาความชานาญและประสบการณ์เกี่ยวกับ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับภูมิสงั คมของแตลํ ะพ้นื ท่ี เปน็ แนวปฏบิ ัติในการ พฒั นา “คาวํา พอเพียง มีความหมายกว๎างออกไปอีก ไมํได๎หมายถึงการมีพอสาหรับใช๎ของตัวเอง มี ความหมายวํา “พอมีพอกิน” วันนั้นได๎พูดถึงวําเราควรจะปฏิบัติให๎พอมีพอกิน พอมีนี้แปลวําเศรษฐกิจ พอเพียงนัน้ เอง ถ๎าแตํละคนมพี อมพี อกนิ กใ็ ชไ๎ ด๎ ยิง่ ถ๎าประเทศมีพอมีพอกินก็ย่ิงดี พอเพียงหมายความ วํามีกิน มอี ยูํ ไมฟํ มุ่ เฟือย ไมํหรหู รากไ็ ด๎ แตํวาํ พอเพยี งกค็ ือพอเทํานั้นเอง คนเราถ๎าพอในความต๎องการ มันก็จะมีความ โลภนอ๎ ย ก็จะเบียดเบยี นผอ๎ู นื่ นอ๎ ย พอเพยี งนีอ้ าจจะมีมา อาจจะมีของหรูหราก็ได๎ แตํวํา ไมํต๎องเบียดเบียนคน อ่ืน ต๎องให๎พอประมาณ พูดจาก็พอเพียง ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง ฉะนั้นความพอเพียงน้ีก็ แปลวาํ ความพอประมาณและมเี หตผุ ล” ณัฏฐพงศ์ ทองภักดี (2550) ได๎สรุปประเด็นพระราชดารัชของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํูหัวท่ี พระองค์ทรงมีพระราชดารัสในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2540 ซ่ึงเป็นข๎อคิดและข๎อแนะนาท่ีสาคัญได๎ดังน้ี การ เปน็ เสอื นัน้ ไมสํ าคัญ สาคญั ทป่ี ระชาชนควรมีเศรษฐกิจแบบพออยํูพอกิน หรือการทาโครงการใดๆ ต๎องทาด๎วย ความรอบคอบอยาํ โตเกินไป นอกจากน้ีแนวพระราชดาริยังมีการประยุกต์ใช๎ในหลาย หนํวยงาน โดยเฉพาะใน ภาเกษตรกรรม เมือ่ มหี ลายฝ่ายนาไปใชก๎ เ็ กดิ ความเข๎าใจกันมากข้ึน โดยสรุป เชํน พอพียง คือพออยูํพอกิน ไมํ ฟุ่มเฟือยหรือหรูหราเกินไป แตํให๎มีความพอเพียง แตํถึงแม๎บางสิ่ง บางอยํางจะดูสิ้นเปลือง แตํนําจะทาให๎มี ความสุขก็นําจะมีไว๎ครอบครองได๎ ถ๎าคนภายในประเทศเพียง จานวนหนึ่งในสี่ของจานวนคนทั้งหมด รู๎จักทา อะไรด๎วยความอะลมุํ อลํวย ทาอะไรด๎วยเหตุผลและผลก็ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงและคนจะมีความสขุ
สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๐ กรอบแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กรอบแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อยํูภายใต๎กรอบแนวคิด “3 หํวง 2 เง่ือนไข” กลําวคือ 3 หํวง ประกอบไปด๎วย ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และการมีภูมิค๎ุมกันที่ดีในตัว โดยท่ีท้ังหมดนั้นอยูํ ภายใต๎ 2 เงื่อนไข คอื การมีความร๎ูและคณุ ธรรม สามารดาเนินกจิ กรรมด๎านตาํ งๆ อยํางสมดุล สามารถจาแนก ไดด๎ งั นี้ ทม่ี า: สถาบันบัณฑิตพฒั นาบริหารศาสตร์. ศนู ย์ศึกษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง, 2551 1. ความพอประมาณ (Moderation) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม แหํงชาติ อธิบายความหมายของความพอประมาณ วําหมายถึง ความพอดีที่ไมํน๎อยเกินไปและไมํ มากเกินไป ไมสํ ุดโตํงเกนิ ไป ขณะเดียวกันความพอดีนน้ั จะต๎องเป็นไปในลักษณะที่ไมํเบียดเบียนตนเอง และผู๎อ่ืน เชํน การ ผลิตและการบริโภคท่ีอยูํในระดับพอประมาณจากพระราชดารัสด๎านความประหยัด ประมาณ รู๎วําส่ิงใดควร จํายออกไป และส่ิงใดควรรักษาไว๎ โดยใช๎การประมาณตน และประมาณ สถานการณ์ ประมาณตนให๎รู๎วํา ตนเองต๎องการอะไร มีความจาเป็นสาหรับตนมากแคํไหน และใน สถานการณ์ท่ีกาลังเผชิญอยูํต๎องทาอยํางไร ถงึ จะพอเพยี งแกํตนเอง 2. ความมีเหตผุ ล (Reasonableness) การยึดเหตุผลและความถูกต๎องปรับความคิด ความต๎องการจากส่ิงท่ีเป็นคุณคําเทียม ซ่ึงเกิด จาก ความวิปรติ ผันผวนของสังคมและไมํคงทนย่ังยืน ให๎กลับไปสูํการยอมรับนับถือคุณคําแท๎ตาม ธรรมชาติของสิ่ง ตํางๆ การอยูํอยํางมีเหตุผล การใช๎ข๎อมูลอยํางมีคุณภาพ ตัดสินใจด๎วยข๎อมูลความรู๎ ร๎ูเขารู๎เรา รู๎เทําทันการ เปล่ียนแปลงไปทาตามๆกัน ร๎ูตัวเอง รู๎ท๎องถิ่น รู๎ศักยภาพ รู๎ทุนชุมชน รู๎ปัญหาร๎ู โลกาภิวัตน์ แสวงหาความร๎ู ศึกษาในระดับสูงข้ึนตามศักยภาพของตนเอง มีแผนท่ีชีวิตครอบครัว แผนที่ ชุมชน แผนยุทธศาสตร์ แผนงาน องค์กร แผนงบประมาณครอบครัว รายรับ-รายจําย หนี้สิน แผนการ ลงทุน แผนเศรษฐกิจพอเพียง ทาดีมี คณุ ภาพ ด๎วยความสม่าเสมอ และการมีเหตุผลมาจากการเรียนร๎ูที่ เหมาะสม ทาให๎คนพัฒนาศักยภาพของตน และสามารถใช๎ทรัพยากรอยํางมีเหตผุ ล (เสรี พงศพ์ ศิ , 2549:59)
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๑ 3. การมีภูมคิ ุ้มกนั ในตัวทด่ี ี (Self-immunity) ณัฏฐพงศ์ ทองภักดี, (2550: 13) กลําววํา พลวัตในมิติตํางๆ ทาให๎มีการเปลี่ยนแปลงใน สภาวะ ตํางๆอยํางรวดเร็วขึ้น จึงต๎องมีการเตรียมตัวพร๎อมรับผลกระทบที่คาดวําจะเกิดข้ึนจากการ เปล่ียนแปลงด๎าน ตํางๆ การกระทาที่เรียกได๎วําพอเพียงไมํคานึงถึงเหตุการณ์และผลในปัจจุบัน แตํจาเป็นต๎องคานึงถึงความ เป็นไปได๎ของสถานการณ์ตํางๆที่เกิดขนึ้ ในอนาคตภายใต๎ข๎อกากัดของข๎อมูลที่มี อยํูและสามารถสร๎างภูมิคุ๎มกัน พรอ๎ มรับการเปล่ียนแปลง และการมีภูมิค๎ุมกันจะทาให๎พร๎อมรับ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงในด๎านตํางๆ เพ่ือให๎สามารถปรับตัวและรับมือได๎อยํางทันทํวงที นอกจากคุณลักษณะท้ังสามคือความพอประมาณ ความมี เหตุผล และการมีภูมิคุ๎มกันในตัวที่ดี ในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยังมีเงื่อนไขสาคัญ 2 ประการ คือ เงือ่ นไขความร๎แู ละเงือ่ นไขคุณธรรม 1. เง่ือนไขความรู๎ ประกอบไปด๎วยความรอบคอบและความระมัดระวัง หากบุคคลมีความร๎ู เพียงพอ ตํอเร่ืองน้ันๆ จะชํวยให๎การตัดสินใจมีความถูกต๎องมากยิ่งข้ึน ท้ังนี้ต๎องอาศัยการศึกษาค๎นคว๎า เพิ่มเติมอยําง เหมาะสม รวมถึงการใช๎วจิ ารณญาณในการรบั ขอ๎ มูลท่ีได๎ศึกษา เพื่อนามาปรับและ ประยุกต์ใช๎ให๎เหมาะสมกับ ตนเอง (กลมุํ พัฒนากรอบแนวคดิ ทางเศรษฐศาสตรข์ องปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง, 2546) ความรอบร๎ูคือ มีความร๎ูเก่ียวกับวิชาการตํางๆ อยํางรอบด๎าน ในเร่ืองตํางๆที่เก่ียวข๎องเพ่ือใช๎ เป็น ประโยชน์พน้ื ฐานเพ่อื นาไปใชใ๎ นการปฏบิ ตั ิอยํางพอเพยี ง การมีความรอบรู๎ยํอมทาใหม๎ กี ารตดั สินใจ ที่ถกู ตอ๎ ง ความรอบคอบ คอื มีการวางแผนโดยสามารถท่ีจะนาความรู๎และหลักวิชาตํางๆ มาพิจารณา เชื่อมโยง สมั พนั ธก์ นั ความระมัดระวัง คือ ความมีสติ ตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนได๎ ในการนาแผนปฏิบัติ ท่ีต้ัง อยูํบนหลักวิชาตํางๆ เหลํานั้นไปใช๎ในทางปฏิบัติ โดยเป็นการระมัดระวังให๎ร๎ูเทําทันเหตุการณ์ที่ เปลี่ยนแปลง ไปด๎วย 2. เง่อื นไขคณุ ธรรม ประกอบด๎วยความตระหนกั ในคุณธรรม มคี วามซอื่ สัตย์สุจริต และมี ความอดทน มีความเพยี ร ใช๎สติปญั ญาในการดาเนนิ ชวี ิต การไมเํ บียดเบยี นตนเอและผู๎อ่ืน และ คุณธรรมตํางๆ ท่ีชํวยกากับ การดาเนินชีวิตให๎อยํูในครรลองที่เหมาะสม จะเห็นได๎วําหลักคุณธรรมเหลําน้ี เป็นหลักคุณธรรมใน พระพุทธศาสนาและเป็นสิ่งท่ีเราได๎รับการปลูกฝัง อบรมจากสังคมอยูํเสมอ (กลุํม พัฒนากรอบแนวคิดทาง เศรษฐศาสตร์ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอ,๒๕๔๖) แนวคดิ เกีย่ วกับพฤตกิ รรมการใช้จา่ ย ความหมายของพฤตกิ รรม ในการศึกษาพฤติกรรมการใช๎จํายของนักศึกษาท่ีเป็นวัยรุํนนั้นจาเป็นต๎องเข๎าใจความหมาย เกี่ยวกับ วัยรํุนและพฤติกรรมตํางๆ ของวัยรุํน เพื่อใช๎เป็นแนวทางในการศึกษาและอธิบายพฤติกรรม เหลํานั้นได๎อยําง ถูกต๎องดังน้ี พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง การกระทาทุกอยํางของวัยรํุน ไมํวําการกระทาน้ันจะทาโดย ร๎ูตัว หรือไมํรู๎ตัวก็ตาม และไมํวําการกระทานั้นจะพึงประสงค์หรือไมํ ดังนี้การเดิน การยืน การคิด การ ตัดสินใจ การปฏิบตั ติ ามหน๎าท่หี รอื การละทงิ้ หน๎าท่ีเป็นพฤติกรรมท้งั สนิ้ ซึ่งพฤตกิ รรมแบํงเปน็ ลกั ษณะ ใหญํ ๆ คอื 1. พฤติกรรมภายนอก (Over Behavior) คือ พฤติกรรมท่ีสามารถมองเห็นได๎ด๎วยตาเปลํา เชํน การ นั่ง การเดนิ การย้ิม การหวั เราะ เป็นต๎น 2. พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) คือพฤติกรรมท่ีไมํสามารถมองเห็นด๎วยตาเปลํา บางคร้ัง จาเปน็ ต๎องใชเ๎ ครอื่ งมือทางวิทยาศาสตร์ชํวยจงึ ทราบพฤตกิ รรมนัน้ ไดพ๎ ฤติกรรมประเภทน้ีมีช่ือ เรียกวํา (Molar Behavior) หรือบางทีเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ก็ไมํสามารถจะชํวยให๎ทราบพฤติกรรม น้ันได๎ซึ่งเรียกวํา พฤติกรรมโมเลกลุ (Molecular Behavior) เชํน การคดิ การตดั สินใจความร๎ูสึก การตคี วามหมาย เป็นต๎น (พัช รา นาคศริ ิ. 2550: 30-42)
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๒ ลักษณะการเกดิ ของพฤตกิ รรม พงค์รัตนะ. (2551: 17-19) กลําววํา การเกิดของพฤติกรรมน้ันจาเป็นต๎องมีแรงจูงใจ (Motive) เสมอ และแรงจงู ใจ หรอื สงิ่ กระต๎ุน อาจมีไดท๎ ง้ั ภายนอกและภายในราํ งกาย ดังน้ี 1. แรงกระตุ๎นจากภายใน (Internal Stimulus) ได๎แกํ ความต๎องการอาหาร ความต๎องการ พักผํอน และความตอ๎ งการมเี กยี รติ 2. แรงกระต๎ุนจากภายนอก (External Stimulus) ได๎แกํ แรงกระต๎ุนที่เกิดจากสิ่งแวดล๎อม ภายนอก ราํ งกาย เชนํ ภัยอนั ตรายตาํ งๆ ท่ีทาใหเ๎ กิดพฤตกิ รรม เชนํ วิง่ หนตี อํ ส๎หู ลบหลีก ทง้ั นส้ี าเหตทุ ีท่ าใหเ๎ กดิ พฤตกิ รรมของมนษุ ย์สามารถสรุปได๎ 7 อยําง ดงั นี้ 1. พฤติกรรมตอ๎ งมแี รงจงู ใจเปน็ แรงผลกั ดัน 2. พฤตกิ รรมมเี ป้าหมาย แตพํ ฤติกรรมอยํางเดยี วกนั ไมํจาเป็นต๎องมแี รงจงู ใจเหมอื นกนั 3. เป้าหมายบางอยาํ งมอี ิทธิพลตอํ พฤติกรรมน้ันยาก 4. พฤติกรรมของคนยอํ มขึน้ อยํูกับความต๎องการหรือความคาดหวังของแตลํ ะบุคคล 5. พฤติกรรมยํอมขน้ึ อยกํู ับสิ่งแวดล๎อม 6. พฤตกิ รรมของคนยํอมขน้ึ อยํกู ับประสบการณ์และความสนใจ 7. พฤติกรรมของคนข้ึนอยูกํ บั สติปัญญาและวนิ ยั นอกจากนนี้ ักพฤตกิ รรมศาสตร์และสุขศึกษาได๎พยายามหาเหตุผลมาอธิบายวําพฤติกรรมของ คนเกิด ขึ้นมาได๎อยํางไร ซ่ึงมีการพัฒนาแนวความคิด ทฤษฎีและวิธีทางพฤติกรรมศาสตร์และ สุขศึกษา ขึ้นมาหลาย ทฤษฎโี ดยแบํงเป็น 3 กลมุํ ใหญๆํ ดังน้ี แนวความคิดท่ี 1 ปัจจัยในตัวบุคคล (Intra-individual causality assumption) รากฐาน แนวความคิดนี้มาจากการสมมติฐานเบื้องต๎นวํา สาเหตุของการเกิดพฤติกรรมหรือปัจจัยท่ีมีอิทธิพลตํอ พฤติกรรม ความรู๎เจตคติความเช่ือ คํานิยม แรงจูงใจ ความตั้งใจใฝ่พฤติกรรม เป็นต๎น จากแนวความ เชื่อ ดงั กลําว นักพฤติกรรมศาสตร์ในกลํุมนี้จึงสนใจศึกษาและสร๎างทฤษฎีเกี่ยวกับ ทฤษฎีการเรียนร๎ู ทฤษฎีเจตคติ และการเปลี่ยนแปลงเจตคติทฤษฎีการสร๎างแรงจูงใจ ทฤษฎีคํานิยม เป็นต๎น วิธีการศึกษา ก็จะยึดทฤษฎี ดังกลําวเป็นหลัก โดยเน๎นการให๎ความรู๎การเปล่ียนเจตคติการสร๎างแรงจูงใจการสร๎าง คํานิยม เป็นต๎น การ วดั ผลของการดาเนินการสุขศกึ ษากจ็ ะวดั ในรูปของการเปลย่ี นแปลงความร๎เู จตคติ และคํานิยม ซ่ึงเรียกวํา KAP Study (Knowledge Attitude Practice) ผลการวิเคราะห์KAP ทางด๎าน การวางแผนครอบครัวของประเทศ กาลังพัฒนาหลายประเทศ พบวําความร๎ูและเจตคติของการศึกษา และการวิจัยบางอยํางมีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมบางอยํางก็ไมพํ บวาํ ความร๎ู เจตคติและการปฏบิ ัตมิ ี ความสมั พันธก์ ัน แนวความคิดกลํุมที่ 2 ปัจจัยภายนอกบุคคล (Extra-individual causality assumption) กลํุม น้ีมี รากฐาน แนวความคิดมาจากสมมติฐานท่ีวําสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมมาจากปัจจัยภายนอกตัว บุคคล นัก พฤติกรรมศาสตร์กลุํมนี้สนใจศึกษาปัจจัยทางด๎านสิ่งแวดล๎อมและระบบโครงสร๎างทางสังคม เชํน ระบบ การเมือง การเศรษฐกิจ การศกึ ษา ศาสนา องค์ประกอบด๎านประชากรและลักษณะทาง ภูมิศาสตร์วํามีอิทธิพล ตํอพฤติกรรมของคนอยํางไร ทฤษฎีที่น ามาประยุกต์ใช๎จะเกี่ยวข๎องกับ ทฤษฎีทาง ประชากรศาสตร์ สงั คมศาสตร์จติ วทิ ยาสงั คมและเศรษฐศาสตร์เป็นตน๎ แนวความคิดกลํุมท่ี 3 ปัจจัยหลายปัจจัย (Multiple causality assumption) กลํุมน้ีมีรากฐาน แนวความคิดมาจากสมมติฐานท่วี าํ พฤตกิ รรมของคนน้ันเกดิ มาจากท้ังปัจจัยภายในบุคคลและปัจจัย ภายนอก บุคคล ซึ่งจะนาทฤษฎีทางจิตวิทยาสังคม สังคมศาสตร์ประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ด๎าน อ่ืนๆ เข๎ามา ประยุกต์ใช๎ในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาพฤติกรรมและพยายามหาวิธีการแก๎ไข ปัญหาโดยผสมผสาน วชิ าชีพสาขาตาํ งๆ เขา๎ มารํวมดาเนินการ
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๓ พฤตกิ รรมการบริโภค พัชรา นาคศิริ (2550:11-13) ได๎อธิบายถึงความหมายของผู๎บริโภคไว๎วํา ผู๎บริโภค (Consumer) หมายถึง ผ๎ูที่มีความต๎องการซื้อ (Need) มีอานาจซ้ือ (Purchasing Power) ทาให๎เกิดพฤติกรรมการซื้อ (Purchasing Behavior) การบริโภคเป็นการแสวงหาสิ่งตํางๆ เพ่ือนามาสนองความต๎องการของแตํละ บุคคล ซ่งึ มีความแตกตํางกันออกไปยกเว๎นความจาเป็นพืน้ ฐานทีเ่ กิดจากความต๎องการทางด๎านรํางกายท่ี มีเหมือนกัน เชนํ เมอ่ื ถงึ เวลาพักรบั ประทานอาหารในเวลา 12.00 น.กจ็ ะร๎สู ึกหิวให๎ต๎องหาอาหารมา สนองความหิวนั้น จึง กลายเป็นรูปแบบการใช๎จํายเงินไปอีกรูปแบบหน่ึง เป็นต๎น มีผู๎กลําวกันวําการหา เงินเป็นส่ิงท่ีส าคัญ แตํการ รู๎จักใช๎เงินมีความสาคัญกวําเป็นค ากลําวท่ีถูกต๎องและมีเหตุผลการใช๎จํายเงิน เพื่อซ้ือสินค๎า และบริการน้ัน เป็นส่ิงสาคัญ ซึ่งมีผลตํอความกินดีอยํูดีของแตํละบุคคลหรือครอบครัว ข้ัน ตอนแรกของการซ้ือสินค๎าและ บริการอยํางชาญฉลาด ซึ่งจะกํอให๎เกิดประโยชน์สูงสุดตํอผ๎ูบริโภค คือ จะต๎องมีการวางแผนการใช๎จํายเงิน เสยี กํอน โดยการจัดสรรเงนิ รายไดส๎ าหรบั สง่ิ ตาํ งๆ ดังตอํ ไปน้ี 1. จัดหาส่ิงจาเป็นในชวี ติ ซง่ึ ไดแ๎ กํปจั จยั สี่ 2. เกบ็ สะสมรายได๎ในยามจาเปน็ และใช๎เพือ่ การลงทนุ ในระยะยาว 3. ซือ้ หาสงิ่ อานวยความสะดวกสบายอยํางทจ่ี าเป็น จะเห็นไดว๎ าํ ท้ังสามสํวนนมี้ ีความสาคญั ด๎วยกนั ท้ังสน้ิ ดังนั้นจึงต๎องมกี ารพิจารณาวําจะใช๎เงิน เพ่ือสํวน ตํางๆ เหลําน้ีแตํละสํวนมากน๎อยเพียงใด การที่สามารถประหยัดเงินจากการซ้ือหาสินค๎าและ บริการได๎จึง เทํากับวาํ มรี ายได๎เพมิ่ ขึ้นและสามารถทจ่ี ะนาไปใช๎ประโยชนใ์ นสวํ นอื่นๆ ตํอไปได๎ การบริโภคนั้น โดยนิยาม หมายถึง การใช๎เงินเพ่ือสินค๎า และบริการใดๆ ก็ตามในปัจจุบัน ท้ังนี้ เพื่อ สนองความต๎องการของบุคคล ดังนั้น จะเห็นไดว๎ าํ การบริโภคเป็นเรอื่ งท่มี คี วามส าคญั มากกลําวคือ มนุษย์จะ ใชเ๎ งนิ ที่หามาไดเ๎ พือ่ การบริโภคมากทีส่ ุด จากแนวความคดิ ของพฤตกิ รรมทีก่ ลาํ วมา สรุปความหมายของพฤติกรรมของวัยรุํนวํานําจะ หมายถึง การกระทา การแสดงออก ซ่ึงบางอยํางสามารถมองเห็นได๎หรือไมํสามารถมองเห็นได๎ด๎วยตา เปลําตํอ สถานการณ์ตํางๆ ซ่ึงมีความสาคัญกับการสินใจในการตํอการใช๎จํายเงินในด๎านการบริโภคตํางๆ เพ่ือสนอง ความต๎องการของแตํละบุคคล ซ่ึงการกระทาดังกลําวอาจจะเหมือนกัน และแตกตํางเชํน คําอาหาร คํา เคร่อื งดืม่ คาํ ท่พี ักอาศัย คําเสอ้ื ผ๎า เครื่องนงุํ หมํ คาํ รกั ษาพยาบาล คําความบนั เทิงและ นนั ทนาการ เปน็ ตน๎ พฤติกรรมทไ่ี มพ่ อเพียง คุณูปการของแนวพระราชดาริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง อาจสามารถเห็นประจักษ์ได๎ดีข้ึนหาก มองใน มุมกลับโดยการวิเคราะห์ถึงผลในทางลบตํอระบบเศรษฐกิจของพฤติกรรมท่ีอาจเรียกได๎วําไมํ พอเพียงของ ประชาชนผ๎ูบริโภค นักธุรกิจการค๎าและนักธุรกิจการเงิน ซ่ึง พงค์รัตนะ. (2551: 19-23) ได๎ กลําวถึง พฤติกรรมดังกลําวไวด๎ งั นี้
สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๔ 1. พฤติกรรมที่ไมพ่ อประมาณกบั แนวคิดเชิงเศรษฐศาสตร์ พฤติกรรมท่ีไมํพอประมาณเป็นสํวนหนึ่งของพฤติกรรมที่ไมํพอเพียง ดังน้ันพฤติกรรมที่พอเพียงคือ พฤติกรรมของความพอประมาณ คือความรูจ๎ กั พอ ซง่ึ มีรายละเอียดดงั น้ี 1.๑ พฤตกิ รรมท่ีไมํพอประมาณ ในการบริโภคที่เพิ่มขึ้นอยํางไมํส้ินสุดแสดงถึงความไมํพอประมาณในการบริโภคเพราะคนจะมี พฤติกรรมต๎องการบริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ ตราบใดท่ีการบริโภคเพ่ิมขึ้นกํอให๎เกิดความพึงพอใจเพ่ิมขึ้น สํวนการ ท่ีความพึงพอใจในการบริโภคสินค๎าหน่ึงๆ มีอัตราการเพิ่มที่ลดลงจะมีผลทาให๎เกิดการบริโภค สินค๎ามากกวํา หน่งึ อยําง ในท่ีสดุ การบริโภคจะตอ๎ งเป็นไปตามกฎเกณฑ์สองข๎อ คือ (ก) ผู๎ริโภคได๎รับ ความพึงพอใจสูงสุดจาก การบริโภคโดยรวม และ (ข) ในระยะยาวคําใช๎จํายเฉล่ียความไมํพอประมาณ อาจขยายให๎กว๎างข้ึนไปได๎อีก กลาํ วคือ กาหนดใหค๎ วามพึงพอใจมิได๎ขน้ึ อยกูํ บั เฉพาะส่งิ ท่แี ตํละบคุ คลมี อยํูหรือบริโภคเทํานั้นแตํให๎ข้ึนอยํูกับ ส่ิงท่ีบุคคลอื่นๆ มีอยูํด๎วย หรืออีกนัยหนึ่งความพึงพอใจจะถูกาหนด โดยระดับความ “มั่งค่ัง” ของคนอ่ืนเชํน เพ่ือนบ๎าน เพื่อนรํวมงาน เพื่อนเรียน หรือแม๎แตํคนไกลตัว เชํน ดารา นักร๎อง หรือผู๎มีชื่อเสียง โดยแยก ออกเป็นสองความเป็นไปได๎คือ หากบุคคลรู๎สึกพึงพอใจเพิ่มขึ้น ถ๎ารู๎วําคนอื่นมีความมั่งคั่งมากขึ้น ก็กลําววํา บุคคลน้ันมีลักษณะ Altruistic แตํถ๎า ร๎ูสึกพอใจน๎อยลงก็ กลําวได๎วําบุคคลนั้น มีลักษณะ Envious ซ่ึงผลที่ ตามมาประการหน่ึงของลักษณะหลัง ก็คืออาจมีความ พยายามแขํงกัน บริโภคหรือการเลียนแบบการบริโภค (Emulation of consumption) เพ่ือให๎เกิด ความรู๎สึกวําตนมีความเทําเทียมคนอื่น อีกประการหน่ึง พฤติกรรมที่ไมํพอประมาณขน้ึ อยํูกับระดับการ บรโิ ภคในอดีตของตนเอง ซึ่งจะสํงผลตํอระดับความพึงพอใจใน การบรโิ ภคในปจั จุบัน หรอื ในอนาคต ตัวอยํางเชํน หากเปรียบเทียบคนสองคนท่ีมีฐานะเทําเทียมกัน สมมติวํา คือนายพอ และนายเพียง และสมมติวํานายพอเคยมีฐานะท่ีตํ ากวํานี้มากํอน ในขณะท่ีนายเพียงมีฐานะระดับ นี้มาโดยตลอด ทฤษฎีนี้จะ บํงช้ีวํานายพอมีความพึงพอใจตํอระดับความเป็นอยํูในปัจจุบันมากกวํา นายเพียง ท้ัง ๆ ท่ีท้ังคูํมีฐานะ เทําเทียมกันในปัจจุบัน ทฤษฎีนี้ถือวํา ความพึงพอใจของคนมีลักษณะเป็น Habit formation คือถูก กาหนดโดยอุปนิสัยการบริโภคในอดีตซ่ึงหากใช๎คาไทยๆ ก็อาจกลําวได๎วําความพึงพอใจ แบบนี้อาจ กํอให๎เกิดพฤติกรรมที่มีลักษณะ “จมไมํลง” เน่ืองจากวําจะมีผลทาให๎คนต๎องการบริโภคมากข้ึน เรื่อยๆ หรืออยํางน๎อยก็ต๎องรักษาระดับการบริโภคไมํให๎ตํ ากวําที่เคยเป็นในอดีตงานวิจัยท้ังในเชิงทฤษฎีและ เชิง ประจักษ์ทางเศรษฐศาสตร์ในระยะหลังๆ พบวํารูปแบบความพึงพอใจแบบจมไมํลง (Habit formation) หรือแบบลอกเลียนบริโภค (Emulation) สามารถใช๎คาอธิบายพฤติกรรมการบริโภค การออม การลงทุน (ท้ัง การลงทนุ โดยตรงและการลงทุนในหลกั ทรัพย์ทางการเงิน) ได๎คอํ นขา๎ งมาก 1.2 ความเส่ียงในระดับการบรโิ ภค ความเป็นจริงในชีวิตของคนทุกๆ คนก็คือปัจจัยหรือสภาพแวดล๎อม รวมท้ังความเป็นอยํูท่ี เปลย่ี นแปลงไปตามกาลเวลา มากครงั้ ท่ีความเปล่ียนแปลงเหลํานี้อยูํนอกเหนือการควบคุมระดับการ บริโภคก็ เชนํ กัน ยํอมมีความผันผวนและไมํแนํนอน โดยปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบตํอการบริโภคที่สาคัญ ๆ ได๎แกํ ความ ไมํแนํนอนในรายไดท๎ ีจ่ ะได๎รับ การเปลีย่ นแปลงของราคาสินค๎า ซ่ึงส่ิงเหลํานี้เป็นเร่ืองใน อนาคตทั้งสิ้นและไมํมี ใครท่สี ามารถคาดการณไ์ ดอ๎ ยํางแมํนยา เตม็ ท่ี ดังน้ัน จึงเป็นธรรมดาท่ีจะต๎องมี ความเส่ียงเกิดข้ึน อันจะสํงผล ใหเ๎ กิดความผันผวนในระดับการบริโภค โดยเฉพาะเมื่อความเป็นจริงใน อนาคตตํางจากที่คาดคะเนเอาไว๎ ซึ่งมี ผลทาให๎รายได๎ของคนเหลํานี้ท้ังหมดลดลงและทาให๎จาเป็นต๎อง ลดการบริโภคลงอยํางมาก โดยไมํมีใครเลยท่ี คาดการณไ์ ด๎กอํ นลํวงหน๎าในระดบั เศรษฐกิจมหภาค รายได๎ ในอนาคตมาจากการลงทุน ไมํวําจะเป็นการลงทุน โดยผ๎ปู ระกอบการรายใหญํ หรอื พอํ คา๎ แมคํ ๎า หาบเรํ แผงลอยรายเล็กๆ ท่ีเห็นได๎ชัด คือ รายได๎กาไร เงินปันผล ดอกเบ้ีย ซ่ึงมีที่มาโดยตรงจากการลงทุน และ แม๎แตํรายได๎เงินเดือนคําจ๎างก็มีที่มาจากรายได๎จากการลงทุน ประกอบกิจการของนายจ๎าง ดังนั้นจึงกลําว ได๎วําแหลํงความเส่ียงในระดับเศรษฐกิจมหภาคมาจากความไมํ แนํนอนของผลตอบแทนจากการลงทุน เป็นหลัก กลําวคือในระดับบุคคล ความเสี่ยงของรายได๎มาจากสาเหตุ
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๕ สํวนตัว เชํน การเปล่ียนหรือให๎ถูก ออกจากงาน ความเจ็บป่วยท่ีมีผลตํอการหารายได๎ เป็นต๎นแตํในระดับมห ภาค ความเส่ียงเหลําน้ีมี แนวโน๎มท่ีจะหักล๎างกันไป เน่ืองจากความไมํแนํนอนในระดับบุคคลมีลักษณะสํุม (Random) 1.3. ผลของพฤตกิ รรมท่ไี มพํ อประมาณภายใต๎ความเสีย่ ง พฤติกรรมที่ไมํพอประมาณกับพฤติกรรมการลงทุนแบบเสี่ยง หมายถึง พฤติกรรมจมไมํลง (Habit formation) หรือพฤติกรรมเลียนแบบบริโภค อาจมีผลทาให๎ทัศนะตํอความเส่ียงของบุคคล เปลี่ยนไป โดยเฉพาะในชํวงเศรษฐกิจขาขึ้น โดยผํานทางการเปล่ียนแปลงของความพึงพอใจในการ บริโภคหนํวยท๎าย (Marginal utility) ท้ังนีส้ ามารถแยกอธิบายได๎ดังน้ี 1) พฤติกรรมจมไมํลง ซึ่งกาหนดให๎ความพึงพอใจของบุคคลขึ้นอยํูกับระดับการบริโภค ในอดีต โดยผํานกระบวนการที่กํอให๎เกิดความ “ความเคยชิน” หรือจะเป็นไปอยํางช๎า ๆ แตํจะสะสมไป เร่ือยๆ ตาม กาลเวลา ย่ิงในชํวงเศรษฐกิจขาขึ้น ความเคยชินตํอระดับ การบริโภคสูงข้ึนก็กํอตัว อยําง ตํอเนื่อง เพราะไมํมี เหตุการณ์ที่ระดับการบริโภคต๎องตกต่าลงมาขัดจังหวะกระบวนการน้ีบุคคลน้ัน ๆ ก็ เร่ิมมีความรู๎สึกวําตน สามารถและ “สมควร” บริโภคในระดับ ท่ีสูงขึ้นได๎หรือกลําวอีนัยหน่ึงก็คือร๎ูสึกวํา ตนเองได๎ก๎าวข้ึนอีกชน ช้ันหนึ่งทีส่ ูงขนึ้ ในสงั คม ซงึ่ ผลท่ตี ามมาก็คือความพึงพอใจตํอระดับการบริโภคในปัจจุบัน จะลดลง (เม่ือเทียบ กับกรณีที่ไมํมีความรู๎สึกวําตนได๎เลื่อนระดับชนชั้นในสังคม) จนทาให๎เกิด ความรู๎สึกอยากบริโภคมากข้ึน เนอื่ งจากความพงึ พอใจหนํวยท๎ายมคี ําสูงข้นึ นน่ั เอง 2) พฤติกรรมเลียนแบบการบริโภค กาหนดให๎ความพึงพอใจของบุคคลขึ้นอยํูกับการบริโภคของ คนรอบข๎างในสังคม ซ่ึงสภาวะเศรษฐกิจขาขึ้นก็มีแนวโน๎ม เพ่ิมขึ้นเชํนเดียวกัน ดังน้ันบุคคลก็จะมีความ พึง พอใจตํอระดับการบริโภคในปัจจุบันของตนเองลดลง (เม่ือเทียบกับ กรณีที่ไมํมีพฤติกรรมแบบน้ี) และ ความ พึงพอใจหนํวยท๎ายเพ่ิมขน้ึ ดงั เชนํ ในกรณีของพฤติกรรมจมไมํลง 3) ผลตํอทัศนะตอํ ความเสี่ยงของพฤติกรรมทง้ั สองขา๎ งต๎น อาจเขา๎ ใจได๎โดยเปรียบเทียบความ พึง พอใจหนวํ ยท๎ายในการบรโิ ภคข๎ามห๎วงเวลา (Intertemporal marginal utility) ทั้งนี้เน่ืองจากความ พึงพอใจ หนํวยท๎ายในการบริโภคในอนาคตอาจเพิ่มมากขึ้นเม่ือเทียบกับ ความพึงพอใจหนํวยท๎ายของ การบริโภคใน ปัจจุบัน ถึงแม๎ระดับ การบริโภคในอนาคตจะสูงกวําก็ตาม ดังน้ันความพึงพอใจจึงดูเสมือน วํามีลักษณะ Increasing marginal utility (หรืออยํางนอ๎ ยก็มีลกั ษณะ Diminishing marginal utility น๎อยลง) และดังท่ีได๎ กลําวไว๎แล๎ววําลักษณะการเปล่ียนแปลงของ marginal utility มีความสัมพันธ์ตํอ ทัศนะ ตํอความเสี่ยง (หรือ ตํอ Risk aversion) การท่ีเสมือนวํามีIncreasing marginal utility จึงทาให๎ บางคนมีพฤติกรรมท่ีเสมือนวํา รักความเส่ียง (Risk loving) แทนที่จะหลีกเลี่ยงความเส่ียง(Risk averse) หรืออยํางน๎อยก็ชอบความเส่ียงมาก ข้ึน 2. ความไร้เหตุผลในเชิงเศรษฐศาสตร์ ผลของพฤตกิ รรมแบบจมไมลํ งและพฤติกรรมเลียนแบบการบริโภคยังอยํูภายใต๎สมมติฐานวํา บุคคลที่ มีพฤติกรรมทั้งสองประการเป็นบุคคลที่ใช๎เหตุผลในการวางแผนการบริโภคการลงทุนในทฤษฎี การบริโภค ความมีเหตุผลหมายถึงการที่บุคคลวางแผนการบริโภคเพ่ือให๎ตนเองได๎รับความพึงพอใจมาก ที่สุดภายใต๎ ความสามารถในการหารายได๎ที่ตนมีอยูํทั้งในปัจจุบันและในอนาคตผลตํอเนื่องจากความมี เหตุผลในทาง เศรษฐศาสตร์มีอยํางน๎อยสามประการคือประการแรกทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มิได๎จากัดวํา บุคคลจะต๎องมี ความเห็นแกํตัวเพียงอยํางเดียวตามที่คนสํวนใหญํเข๎าใจกัน ท้ังนี้เพราะหากคนเรามีความ พึงพอใจในความอยูํ ดีกินดีของคนอ่ืนกลําวคือมีพฤติกรรมแบบ altruism แล๎วความมีเหตุผลก็จะ หมายถึงการชํวยเหลือเกื้อกูล บุคคลอน่ื เพราะการชวํ ยเหลอื บุคคลอ่ืนกํอให๎เกิดความพึงพอใจในสํวนของ ผู๎ให๎ความชํวยเหลือเองด๎วยสํวนจะ ใหค๎ วามชํวยเหลือมากน๎อยเทําไรก็ขึ้นอยูํกับระดับของ altruism ใน แตํละบุคคลประการที่สองความมีเหตุผล ในทางเศรษฐศาสตร์ยังหมายถึงบุคคลต๎องเป็นคนรอบคอบและ มองการไกลกลําวคือจะต๎องไมํเพียงใช๎รายได๎
สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๖ ในปัจจุบันเป็นตัวกาหนดการใช๎จํายเพื่อการบริโภคแตํต๎อง คานึงถึงความสามารถในการหารายได๎ในด๎วยซึ่ง เป็นเร่ืองท่ีต๎องการการวิเคราะห์ท่ีรอบคอบและ สมเหตุสมผลประการที่สามการที่บุคคลต๎องประเมิน ความสามารถในการหารายได๎ในอนาคตก็แสดงวํา ความมีเหตุผลในการบริโภคต๎องขยายขอบเขตไปสํูความมี เหตุผลในการลงทุนซึ่งรวมไปถึงการบริหาร ความเสีย่ งทถ่ี กู ตอ๎ งและความเหมาะสม ความมีเหตผุ ลในการบรหิ ารความเสยี่ งต๎องการองคป์ ระกอบทส่ี าคัญสองประการคือ 1) การประเมินความเส่ียงที่ถูกต๎องซ่ึงต๎องอาศัยข๎อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงที่ถูกต๎องโดยรวมท้ัง ข๎อมูล ความเสย่ี งในระบบเศรษฐกิจโดยรวม (Aggregate risks) และความเส่ียงเฉพาะกิจกรรม (Specific risks) หรือ ความเส่ยี งในกิจการลงทนุ ท่ีทาอยูํหรือกาลังจะทา 2) การวางแผนการลงทุนท่ีเหมาะสมภายใต๎โครงสร๎างความเส่ียง (Risk structure) ท่ีเป็นอยูํ เพ่ือให๎ ระดบั ความไมํแนํนอนของการบรโิ ภคในอนาคตอยใูํ นลักษณะที่กํอใหเ๎ กิดความพงึ พอใจสูงสุดแกํ ผ๎ูบริโภค (ซึ่งก็ คือผู๎ลงทุนในวันน้ี)ตามความหมายข๎างต๎นความไร๎เหตุผลในการบริโภคจึงหมายถึงการใช๎ จํายเกินตัวหรือเป็น เกนิ ความสามารถในการหารายได๎ข๎างต๎นท้ังในปัจจุบันอนาคตสํวนความไร๎เหตุผลใน การบริหารความเส่ียงจะ หมายถึงการลงทุนเกินตัวซ่ึงมีสาเหตุมาจากการไมํใชํข๎อมูลที่ถูกต๎องใช๎ข๎อมูล น๎อยเกินไปหรือใช๎อยํางฉาบฉวย ขาดการวิเคราะหท์ ่รี อบคอบปญั หาของการประเมินคําความนําจะเป็น อยํางที่เรียกได๎วําเข๎าข๎างตัวเองดูจะเป็น ปัญหาระดบั พ้นื ฐานพอสมควรในหลายๆปรากฏการณ์ทาง เศรษฐกิจตัวอยําง เชํน การซื้อลอตเตอร่ีซ่ึงถ๎าหาก คิดอยํางรอบคอบแล๎วจะรู๎วําการซ้ือลอตเตอรี่ให๎คํา คาดหวังของผลตอบแทนสุทธิเป็นลบ(Negative expected payoff) เน่ืองจากมูลคําเงินรางวัลปรับด๎วย คําความนําจะเป็นนั้นน๎อยกวําราคาท่ีต๎องจํายไปใน การซื้อลอตเตอรี่และทั้งที่เป็นอยํางนั้นลอตเตอร่ีก็ ยังคงขายดีเป็นปกติซึ่งอาจอธิบายได๎วําผ๎ูให๎ค๎าความนําจะ เป็นทต่ี นเองจะถูกรางวัลสงู กวาํ ความนาํ จะ เป็นทแ่ี ท๎จรงิ ทางคณติ ศาสตร์ประเด็นที่นําสนใจคือความเก่ียวเน่ือง ระหวํางพฤติกรรมท่ีไมํพอประมาณ กับความไร๎เหตุผลอาจเป็นไปได๎หรือไมํวํารูปแบบความพึงพอใจที่เป็น พ้ืนฐานของพฤติกรรมท่ีไมํ พอประมาณมีผลทาให๎เกิดแนวโน๎มที่คนจะประเมินความนําจะเป็นแบบเข๎าข๎าง ตนเองการทีค่ นซ้อื ลอตเตอรีส่ ํวนใหญํเป็นคนรายได๎ดีในเขตเมืองเปน็ ไปได๎หรอื ไมวํ ําเป็นเพราะพวกเขาต๎องการ ซื้อความหวัง ในการยกระดับฐานะของตนเองให๎เทําเทียมหรือใกล๎เคียงกับ “คนสํวนใหญํ” ท่ีพวกเขาพบเห็น ในเขต เมอื งอยูํทกุ เม่ือเชอ่ื วนั สรุปจะเห็นได๎วําพฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการกระทาท่ีมาจากแรงจูงใจในการกระทบในสิ่ง นั้น ๆ เพ่ือสร๎างความพึงพอใจให๎กับตนเองหากเป็นความต๎องการท่ีไมํส้ินสุดก็จะนาไปสูํความไมํพอดีหรือ ความไมํ พอเพียงตํอความต๎องการในส่ิงตํางๆที่เป็นสิ่งเร๎าเย๎ายวนให๎หลงใหลพฤติกรรมของมนุษย์ตกอยูํ ในความไมํ พอเพยี งก็จะทาใหช๎ ีวิตเกดิ ความเปลย่ี นแปลงไปตามสภาพของสิ่งแวดล๎อมท่ีแปรเปลี่ยนไป ตามสมัยนิยมที่การ บริโภคอุปโภคอยูํบนความเส่ียงทาให๎พฤติกรรมในการบริโภคโดยเฉพาะการบริโภค สินค๎าท่ีเลียนแบบการ บริโภคเพ่ือให๎เกิดความร๎สู กึ วําตนมีความเทาํ เทยี มคนอ่ืนซึง่ จะทาให๎เกิดพฤติกรรม ท่ีไมํพอประมาณนาไปสํูการ ตัดสินใจที่ขาดซ่ึงเหตุผลอันทาให๎ให๎การใช๎จํายของคนขาดการยับย้ังช่ังใจจึง เกิดความเส่ียงและความผันผวน ในการบริโภคเพราะรายได๎ไมํสมดุลกับรายจํายรายได๎น๎อยและรายจําย มาก ทาให๎พฤติกรรมการใช๎จํายเป็น พฤตกิ รรมท่ีไมพํ อประมาณแบบจมไมํลงที่เป็นพฤตกิ รรมเลียนแบบบ๎ู รโิ ภค แนวคดิ เกีย่ วกับการบญั ชีและภมู ิปญั ญาทางบญั ชี ความหมายของการบัญชี สมาคมผู๎สอบบัญชีรับอนุญาตของประเทศสหรัฐอเมริกา (The American Institute of Certified Public Accountants : AICPA) ได๎ใหค๎ วามหมายของการบญั ชไี ว๎ดังนี้ การบัญชี หมายถงึ ศลิ ปะของการจดบันทึก การจ าแนกให๎เป็นหมวดหมูํและการสรุปผลส่ิง สาคัญใน รูปตัวเงิน รายการ และเหตุการณ์ตําง ๆ ซ่ึงเกี่ยวข๎องกับทางด๎านการเงิน รวมทั้งการแปล ความหมายของผล การปฏบิ ัติดังกลําวดว๎ ย
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๗ สมาคมนักบัญชีและผ๎ูสอบบัญชีรับอนุญาตแหํงประเทศไทย (The Institute of Certified Accountants and Auditor of Thailand : ICAAT) ซึ่งปัจจุบันคือ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรม ราชูปถัมภ์ ไดใ๎ ห๎ความหมายของการบญั ชี ไวด๎ ังนี้ การบัญชี (Accounting) หมายถึง ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จาแนกและทาสรุปข๎อมูล อัน เกี่ยวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงินผลงานขั้นสุดท๎ายของการบัญชีก็คือ การให๎ข๎อมูลทาง การเงินซึ่ง เป็นประโยชนแ์ กบํ คุ คลหลายฝา่ ย และผ๎ทู ี่สนใจในกจิ กรรมของกจิ การ จากความหมายของการบัญชีดังกลําว อาจสรุปได๎วํา การบัญชี คือ การเก็บรวบรวมข๎อมูล เอกสาร การจดบันทึก การจาแนกจัดหมวดหมํูรายการ และทาการสรุปข๎อมูลในรูปตัวเงิน เพ่ือสะท๎อน รายการและ เหตุการณ์ตําง ๆ ที่เกิดข้ึนจากการประกอบธุรกิจและแปลผลเพื่อนาไปใช๎ประโยชน์ในการ ตัดสินใจเชิง เศรษฐกจิ ปัจจยั ดา้ นการสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาทางการบญั ชี สุภัทรษร ทวีจันทร์ (2556) ได๎กลําวถึงแนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยด๎านการสํงเสริมภูมิปัญญา ทางการ บญั ชีไวด๎ งั น้ี 1. การรับรู๎และสํงเสริมองค์ความรู๎ (Knowledge Recognition) หมายถึง การมีจุดมํุงหมายใน อนาคตท่ีเป็นภาพเดียวกัน มีการรับร๎ู ความเข๎าใจและเป้าหมายในทิศทางเดียวกัน เพ่ือกระบวนการขับ เคลอ่ื นทีเ่ กิดประโยชน์สงู สดุ 2. ทกั ษะปฏิบัติในการจดบันทึกบัญชีครัวเรือน (Skill Practice) หมายถึง ความสามารถด๎าน การจด บันทกึ รายละเอยี ดจากเหตุการณท์ เ่ี กดิ ขึ้นจริงในชวี ิตประจาวนั ได๎อยํางตํอเนือ่ งและเป็นปัจจุบนั 3. ทกั ษะการคิดหลักบัญชี (Thinking System) หมายถึง ความสามารถในการคิดและปฏิบัติ โดยยึด หลักการระบบทางการบัญชีท่ีถูกต๎อง เพ่ือให๎สามารถนาไปใช๎ได๎อยํางเหมาะสมและเป็นไปตาม กระบวนการที่ ชดั เจน ถกู ต๎อง 4. การประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวัน (Knowledge Implementation) หมายถึง ความสามารถ ใน การนาองค์ความร๎ูด๎านการจัดทาบญั ชีครวั เรือนไปบรู ณาการและประกอบการวางแผนการด าเนินชีวิต ได๎อยําง เหมาะสม และมปี ระสทิ ธิภาพมากที่สดุ แนวคดิ เกยี่ วกับการทาบัญชีครวั เรอื น ความหมายของบัญชีครวั เรือน นภาพร ลิขิตวงศ์ขจร (2550, หน๎า 26) ได๎กลําวไว๎วํา การบัญชีครัวเรือน เป็นการจดบันทึก รายรับ รายจาํ ยประจ าวันของครวั เรอื น เชาวลีย์ พงศผ์ าติโรจน์ และ วรศักด์ิ ทมุ มานนท์(2552, หน๎า 2) กลาํ วไว๎วํา บญั ชคี รวั เรือน เปน็ บัญชี ที่ใช๎สาหรับบันทึกรายได๎และรายจํายท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจาวันของเราวําในแตํละวันเรามี รายได๎เข๎ามาแล๎ว จํายคําใชจ๎ าํ ยออกไปเทําไร ภัทรา เรืองสินภิญญา (2554, หน๎า 1) บัญชีครัวเรือน เป็นบัญชีที่ใช๎สาหรับบันทึกรายได๎และ รายจําย ผู๎จัดทาบัญชีครัวเรือนจะได๎รับประโยชน์คือ มีรายได๎เพ่ิมขึ้น มีคําใช๎จํายลดลง มีเงินออม เพิ่มข้ึน มี หนี้สินลดลง และในท่ีสุดจะสามารถแก๎ไขปัญหาหน้ีสินได๎อยํางย่ังยืน อันเป็นไปตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งท่ีมํุงเนน๎ ใหเ๎ กิดความพอเพียงหรอื พอประมาณกบั ตนเอง อยไํู ดอ๎ ยํางพอกิน พอใช๎ไมํเดือดร๎อน เป็นการ ยดึ ทางสายกลาง โดยอาศัยทั้งความรู๎และคณุ ธรรมเปน็ พ้นื ฐาน
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๘ ประโยชนข์ องการทาบญั ชคี รัวเรอื น ภัทรณรนิ ทร์ นลิ วดีพุฒพิ ชั ร (2554) ได๎กลาํ วถงึ ประโยชนข์ องการจดั ท าบัญชีครวั เรือนไว๎ดงั น้ี 1. ทาใหส๎ ามารถเห็นรายรบั และรายจาํ ยอยาํ งชัดเจน 2. ประชาชนตระหนกั ถึงคําใชจ๎ าํ ยทีต่ นเองจาํ ยเร่ืองใดมากทส่ี ุด 3. ประชาชนเม่อื ทราบถงึ ท่ีมาของคําใช๎จาํ ยสามารถลดคําใช๎จาํ ยลง ทาให๎มีเงนิ ออมมากขึ้น 4. ประชาชนร๎จู กั การประหยดั เพม่ิ มากขน้ึ 5. ประชาชนสามารถนาข๎อมูลคําใช๎จํายสินค๎าอุปโภค บริโภคท่ีเกิดขึ้นในเดือนที่ผํานมา เปรียบเทียบ สนิ คา๎ ทซ่ี ้อื มาในรอบเดือนปจั จุบนั ไดอ๎ ยํางชดั เจน ขณะท่ี กาญจนา ประสพศิลป์(2553) ไดก๎ ลําวถงึ ประโยชน์ของการจดั ท าบญั ชีครวั เรือนไวด๎ งั นี้ 1. ทาใหต๎ นเองและครอบครวั ทราบรายรบั -รายจาํ ย หนี้สิน และเงินคงเหลือในแตลํ ะวนั 2. นาข๎อมลู การใช๎จํายเงินในครอบครัวมาจัดเรียงลาดับความสาคัญของรายจําย และวางแผน การใช๎ จํายเงนิ โดยพิจารณาแตลํ ะรายการในแตลํ ะวันวาํ มรี ายจํายใดท่ีมีความสาคัญมาก และรายจําย ใดไมํจาเป็นให๎ ตัดออก เพอ่ื ใหก๎ ารใช๎จํายเงินภายในครอบครัวมีพอใช๎ และเหลือเก็บเพื่อการออมทรัพย์ สาหรับใช๎สิ่งที่จาเป็น ในอนาคต บญั ชคี รัวเรือนถอื เป็นสํวนสาคัญในการปฏบิ ตั ติ ามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง แนวคิดเกย่ี วกบั รายรับของครวั เรือน ได๎ให๎ความหมายของรายรับหรือรายได๎คือ เงิน หรือสินทรัพย์ท่ีวัดมูลคําได๎ที่ได๎รับจากการประกอบ อาชีพ หรือผลตอบแทนท่ีได๎รับจาการลงทุนในรูปแบบตํางๆ เชํน รายได๎จากคําจ๎างแรงงาน เงินเดือน รายได๎ จากการขายสินค๎าหรอื บริการ เปน็ ตน๎ (วารสารศนู ย์บรกิ ารวชิ าการ, 2550) รายรบั คือ เงิน หรือสินทรัพยท์ วี่ ัดมูลคาํ ได๎ท่ีไดร๎ บั จาการประกอบอาชพี หรอื ผลตอบแทนที่ ได๎รับจาก การให๎ผ๎ูอื่นใช๎สินทรัพย์ หรือผลตอบแทนจากากรลงทุนในรูปแบบตํางๆ เชํน รายได๎จาก คําจ๎างแรงงาน เงนิ เดอื น รายได๎จาการขายสนิ คา๎ หรอื บรกิ าร เป็นต๎น (ศูนยเ์ รยี นรเู๎ กษตรกรรมย่งั ยืน ชมุ ชน, 2551) แนวคดิ เกี่ยวกับรายจา่ ยของครวั เรอื น รายจาํ ยหรือคําใชจ๎ าํ ย คือ เงิน หรือสินทรัพย์ท่ีวัดมูลคําได๎ท่ีจํายออกไปเพื่อให๎ได๎สิ่งตอบแทน กลับมา สง่ิ ตอบแทนอาจเปน็ สนิ คา๎ หรอื บรกิ าร เชนํ คาํ อาหาร คําน้า คําไฟฟ้า (คําสาธารณปู โภค) คํา น้ามัน คําหนังสือ ตาราเรยี น เปน็ ต๎น หรือรายจํายอาจไมํได๎รับเป็นส่ิงตอบแทนคือสินค๎าหรือบริการก็ได๎ เชํน เงินบริจาคเพ่ือการ กุศล เงนิ ทาบญุ ทอดกฐิน ทอดผ๎าป่า เปน็ ต๎น (วารสารศูนยบ์ ริการวิชาการ, 2550) รายจําย คือ เงิน หรือสนิ ทรัพย์ท่ีวัดมูลคําได๎ ที่จํายออกไปเพ่ือให๎ได๎สิ่งตอบแทนกลับมา ส่ิง ตอบแทน อาจเป็นสินค๎าหรือบริการ เชํน คําอาหาร คําน้า คําไฟฟ้า (คําสาธารณูปโภค) คําน้ามัน คํา หนังสือตาราเรียน เป็นต๎น (ศูนย์เรยี นร๎ูเกษตรกรรมยัง่ ยนื ชมุ ชน, 2551) หลกั การปฏบิ ตั ิของการบันทกึ บัญชรี ายรับ-รายจ่าย หลักการบันทึกบัญชีครัวเรือนคืออาจจะเริ่มจากการมองรวมภาพใหญํกํอนวํา ในเดือนหนึ่งๆ หรือปี หนง่ึ ๆ มรี ายการอะไร ดังนี้ (วารสารศนู ยบ์ รกิ ารวิชาการ, 2550) รายการคําใช๎จํายใหญํๆ มีอะไรบ๎างท่ีคํอนข๎างคงท่ี เชํน หรือเงินคําเรียนหนังสือบุตร หรือเงิน คํา วัตถุดิบในการผลิตสินค๎า เชํน คําปุ๋ย คําพันธุ์พืช และมีรายการยํอยๆ ที่เกิดขึ้นประจาวันมีอะไรบ๎าง เชํน คําอาหาร คาํ นา้ คาํ ไฟฟ้า (คาํ สาธารณูปโภค) คําน้ามัน เงนิ ทาบุญทอดกฐิน ทอดผา๎ ปา่ เป็นต๎น หนสี้ ินกเ็ ปน็ คาํ ใช๎จาํ ยรายการใหญํที่เปน็ ภาระผูกพนั ท่ตี ๎องชดใช๎คืนในอนาคต ได๎แกํ คํา ดอกเบ้ียเงินที่ ไปกู๎และต๎องใช๎คืนรายเดือนรายปี จากกรก๎ูยืมเงินจากเพื่อนบ๎าน จากกองทุน หรือธนาคาร ตํางๆ หรือการซ้ือ ของด๎วยเงนิ เชอื่ การซอ้ื ด๎วยบตั รเครดิต หรือดว๎ ยเงนิ ผํอนชาระหรอื การเชาํ ซื้อ การจานา จานอง ขายฝาก เป็น ตน๎
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๑๙ เงนิ คงเหลอื คอื เงนิ หรือทรพั ย์สินที่วัดมูลคาํ ได๎ หลังจากนารายรับหักรายจํายแล๎ว ถ๎ารายรับ มากกวํา รายจํายจะเกิดเงินคงเหลือ หรือในหลักทางบัญชีเรียกวํา “กาไร” แตํหากหลังจากนารายรับหัก รายจํายแล๎ว พบวาํ รายจาํ ยมากกวาํ รายรบั จะทาให๎เงินคงเหลอื ตดิ ลบ หรอื ทางบัญชเี รียกวาํ “ขาดทุน” น่ันเอง หลกั การทาบัญชรี ายรับ-รายจ่าย มีดงั น้ี 1) จดั ทาแบบฟอรม์ บญั ชรี ายรบั -รายจํายอยํางงําย ใหส๎ ะดวกตํอการจดบันทึกรายการ 2) จดบันทึกรายการเรียงลาดบั ตามเหตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ จริงท่เี กดิ ขึ้น 3) สรุปยอดเงินรายรบั -รายจําย ประจาวันเปรียบเทยี บผลการดาเนินกจิ การประจาวนั ข้อควรระวงั ในการจดั ทาบัญชคี รัวเรือนมดี งั น้ี 1) ลมื บนั ทกึ บัญชี ทาให๎ขาดความตอํ เนื่องในการบนั ทึกและสงํ ผลให๎ไมํอยากบนั ทกึ 2) ผ๎ูจัดทาเข๎าใจผิดในรายการบัญชี ไมํเข๎าใจรายการท่ีเป็นรายรับจึงไมํได๎บันทึกบัญชี เข๎าใจผิด รายการหนสี้ นิ แตํบนั ทึกเปน็ รายรบั ทาใหม๎ ไิ ด๎เก็บเงินไวส๎ าหรบั จาํ ยชาระหนใี้ นอนาคต 3) การเขียนช่ือรายการผดิ การบันทึกตัวเลขผิด การบวกหรอื การลบจานวนเงนิ ผิด อาจเกิดการลืมจด บันทึกรายการบญั ชีหรอื บันทกึ รายการซ๎ าๆ กันหลายรายการ สาเหตุดังกลําวอาจทาให๎ครอบครัววางแผนการจํายเงินผิดพลาด ปัญหาดังกลําวแก๎ไขโดยการ คานวณจานวนเงนิ กระทบยอดเงนิ คงเหลือในบญั ชกี ับยอดเงินฝากธนาคารทีค่ รอบครัวมีอยํูจริง หรือ ยอดเงินที่ เกบ็ ไว๎สาหรับใชจ๎ ํายจริง หากพบวํายอดคงเหลือในบัญชีเทํากับยอดคงเหลือในบัญชีเงินฝาก ธนาคาร แสดงวํา การจดั ทาบญั ชีถูกตอ๎ ง แตหํ ากกระทบยอดแล๎วยอดเงินท้ังสองไมํเทํากันอาจเกิดจาก การบันทึกบัญชีผิดพลาด หรอื เงนิ สดของครอบครวั สญู หาย
สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๐ บทท่ี ๓ สรุปผลการดาเนนิ งาน ขั้นตอนการดาเนินงานในการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง โครงการการเรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) เป้าหมาย จานวน ๖ คน จัดได้ ๑๓ คน วนั ที่ ๑๙ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ หมู่ ๓ ศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา มดี งั น้ี ๑. ข้ันวางแผน (Plan) ๑.๑ สารวจความต้องการ วิเคราะห์ความตอ้ งการ ของกลุ่มเป้าหมาย ๑.๒ ประชมุ ช้ีแจงผู้เกี่ยวขอ้ งและแตง่ ตั้งคณะ ดาเนินงาน ๑.๓ จัดทาหลกั สตู ร/ อนมุ ตั หิ ลักสตู ร ๑.๔ ประสานเครือขา่ ย ๒. ขนั้ ดาเนนิ การ (Do) ดาเนินการจดั กิจกรรม ๒.๑ จัดฝึกอบรม การจดั กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง โครงการการเรยี นรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) ๓. ขน้ั ตรวจสอบ (Check) ๓.๑ ประเมนิ ความพงึ พอใจ (แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์) ๓.๒ การนเิ ทศตดิ ตามผล ๔. ข้นั ปรับปรงุ แกไ้ ข (Action) ๔.๑ นาผลการนิเทศมาปรับปรุงพฒั นา
สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๑ ขอ้ มูลผู้เข้ารว่ มโครงการ เปา้ หมายผเู้ ขา้ รว่ มโครงการจานวนทง้ั หมด ๖ คน จดั ได้ ๑๓ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๘.๔๖ เพศหญงิ จานวน ๘ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๑.๕๔ รวม จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ ๒. อายุ คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ โดยมีอายเุ ฉลีย่ ต้งั แต่ ตา่ กวา่ ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๕.๓๙ อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๒ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐๗.๖๙ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๘.๔๖ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน ๕ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๘.๔๖ และอายุ ๖๐ ปขี ึน้ ไป จานวน ๕ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๑๓ คน ๓. ระดับการศกึ ษา จานวน ๓ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๓.๐๙ ตา่ กวา่ ประถมศกึ ษา จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๗.๖๙ ประถมศกึ ษา จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๗.๖๙ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จานวน ๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๔๖.๑๕ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๗.๖๙ อนุปรญิ ญา/ปว.ส. จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๗.๖๙ ปริญญาตรี จานวน ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน ๑๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม ๔. ผเู้ ข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉล่ียประกอบอาชพี รับราชการ จานวน ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๓.๘๓ รับจา้ ง จานวน ๗ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๕.๓๙ คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๗.๖๙ เกษตรกร จานวน ๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๓.๐๙ คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ ค้าขาย จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ พ่อบา้ น/แมบ่ ้าน จานวน ๓ คน อาชีพอ่ืน ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๑๓ คน
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๒ ผลการดาเนนิ งาน ๑. จานวนผู้เขา้ ร่วมโครงการฯ ที่ตงั้ เป้าหมายไว้ จานวน ๖ คน จดั ได้ ๑๓ คน ประกอบอาชีพตาม กลุ่มเปา้ หมาย ๑๓ คน ๒. วิทยากรให้ความรู้ โดยวิธกี ารบรรยาย วธิ ีการสาธติ และวธิ กี ารฝกึ ปฏบิ ัติจริง ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากที่สุด (ตามเอกสารบทที่ ๔ แบบสอบถามความพึงพอใจและสรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏบิ ัติงาน - ข้อเสนอแนะ -
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๓ บทท่ี ๔ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการการเรียนรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) วนั ท่ี ๑๙ เดือนกุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 256๔ สถานท่จี ดั หมูํ ๓ ศูนย์การเรยี นร๎ูตามหลักปรชั ญษของเศรษฐกิจพอเพยี งตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ขอ้ มูลพ้ืนฐานของผู้ประเมนิ ความพงึ พอใจ คาชแี้ จง แบบประเมินความพงึ พอใจ มี ๒ ตอน ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลท่ัวไป คาชแี้ จง โปรดใสเ่ ครือ่ งหมาย ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกบั ข้อมูลของท่านเพียงช่องเดียว เพศ ชาย หญงิ อายุ ตา่ กว่า ๑๕ ปี ๑๕-๒๙ ปี ๓๐-๓๙ ปี ๔๐-๔๙ ปี ๕๐-๕๙ ปี ๖๐ ปขี ้นึ ไป ระดบั การศกึ ษา ตา่ กวา่ ประถมศึกษา ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย อนปุ ริญญา/ปว.ส. ปริญญาตรี สงู กว่าปรญิ ญาตรี อืน่ ๆ โปรดระบุ............................................................................................. ประกอบอาชีพ ผู้นาทอ้ งถนิ่ อบต./เทศบาล พนกั งานรฐั วิสาหกิจ ทหารกองประจาการ เกษตรกร รบั ราชการ ค้าขาย รับจ้าง อสม. แรงงานตา่ งด้าว พ่อบา้ น/แม่บ้าน อนื่ ๆ โปรดระบุ..........................
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๔ ตอนท่ี ๒ ดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมและความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รบั บริการ คาช้แี จง โปรดใส่เครื่องหมาย ลงในช่อง ทตี่ รงกับความคิดเห็นของท่านเพียงชอ่ งเดียว ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ มาก ปาน นอ้ ย ทสี่ ดุ มาก กลาง นอ้ ย ท่ีสุด ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเนือ้ หา 1 เนอื้ หาตรงตามความต้องการ 2 เนอ้ื หาเพียงพอต่อความต้องการ 3 เนื้อหาปจั จบุ นั ทนั สมัย 4 เนื้อหามปี ระโยชนต์ อ่ การนาไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลุม่ เป้าหมาย 9 วธิ ีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องทถ่ี า่ ยทอด 11 วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ่อื เหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซกั ถาม ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก 14 การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ 15 การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอืน่ ๆ................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๕ บทท่ี ๕ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการการเรยี นรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) วันท่ี ๑๙ เดอื นกุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 256๔ สถานทจี่ ดั หมํู ๓ ศูนยก์ ารเรยี นรู๎ตามหลักปรชั ญษของเศรษฐกิจพอเพยี งตาบลราชคราม ตอนท่ี ๑ ข้อมูลท่วั ไป อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ผ้เู รียนโครงการการเรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) เป้าหมาย ๖ คน จดั ได้ ๑๓ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๕ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๘.๔๖ เพศหญิง จานวน ๘ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๑.๕๔ รวม จานวน ๑๓ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ 14 ชาย 12 หญิง 10 รวม 8 6 4 2 0 คน
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๖ ๒. อายุ คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ โดยมีอายุเฉลีย่ ตง้ั แต่ ตา่ กวา่ ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๕.๓๙ อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๗.๖๙ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๘.๔๖ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน ๕ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๓๘.๔๖ และอายุ ๖๐ ปขี น้ึ ไป จานวน ๕ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๑๓ คน 14 ชาย 12 หญิง 10 รวม 8 รวม 6 ชาย 4 2 0 ต่ากวา่ 15 ปี 15-29 30-39 40-49 50-59 60 ปี ขนึ ้ ไป รวม
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นร้หู ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๗ ๓. ระดบั การศึกษา จานวน ๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๒๓.๐๙ ต่ากว่าประถมศกึ ษา จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๗.๖๙ ประถมศกึ ษา จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๗.๖๙ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน ๖ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๖.๑๕ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๗.๖๙ อนุปริญญา/ปว.ส. จานวน ๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๗.๖๙ ปริญญาตรี จานวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน ๑๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม 14 12 10 8 6 ชาย 4 หญิง 2 รวม 0 รวม ชาย
สรุปผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๘ ๔. ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการฯ โดยเฉลย่ี ประกอบอาชพี รบั ราชการ จานวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ ๕๓.๘๓ รับจา้ ง จานวน ๗ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๕.๓๙ คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๗.๖๙ เกษตรกร จานวน ๒ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๒๓.๐๙ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ ค้าขาย จานวน ๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น จานวน ๓ คน อาชีพอน่ื ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๑๓ คน 14 12 10 8 6 ชาย หญิง 4 รวม 2 0 รวม หญิง ชาย
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรยี นร้หู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๒๙ ตอนที่ ๒ ความพงึ พอใจตอ่ การจัดกจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพียง โครงการการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) เปา้ หมาย ๖ คน จัดได้ ๑๓ คน ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนื้อหา มาก ปาน นอ้ ย 1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ ที่สุด มาก กลาง น้อย ท่สี ุด 2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนอ้ื หาปัจจบุ ันทนั สมัย 91 3 - - 4 เนอื้ หามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต 82 3 - - ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 83 2 - - 5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 82 3 - - 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 92 2 - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย 91 3 - - 9 วิธกี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 83 2 - - ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 82 3 - - 10 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่องที่ถา่ ยทอด 91 3 - - 11 วทิ ยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม 12 วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนรว่ มและซักถาม 10 1 2 - - ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 91 3 - - 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 91 3 - - 14 การสื่อสาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ 15 การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา 92 2 - - 82 3 - - 91 3 - -
สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๓๐ ส่วนประเมนิ ผลความพึงพอใจดว้ ยเกณฑค์ ะแนนเฉลีย่ รวม คะแนนและเกณฑร์ ะดับความพงึ พอใจเปน็ นี้ ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ปรับปรงุ มีคา่ คะแนน ๑ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเห็น พอใช้ มีค่าคะแนน ๒ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ปานกลาง มคี ่าคะแนน ๓ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดี มีค่าคะแนน ๔ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดมี าก มีคา่ คะแนน ๕ และคา่ คะแนนเฉลีย่ มีเกณฑด์ งั นี้ คะแนนเฉลย่ี ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ปรบั ปรงุ พอใช้ คะแนนเฉล่ยี ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เห็น ปานกลาง ดี คะแนนเฉล่ยี ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดีมาก คะแนนเฉลยี่ ๓.๕๐ – ๔.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น คะแนนเฉลย่ี ๔.๕๐ – ๕.๐๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็
สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๓๑ สรุปความพงึ พอใจในภาพรวม จากการกิจกรรมเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการการเรียนรูห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) เปา้ หมาย ๖ คน จดั ได้ ๑๓ คน พบว่าแบบสอบถามท้ัง ๑๕ ข้อ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมีความพงึ พอใจในระดบั “ดีมาก” ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนือ้ หา มาก ปาน น้อย 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ ทสี่ ดุ มาก กลาง น้อย ท่ีสดุ 2 เนอ้ื หาเพียงพอต่อความต้องการ 3 เนอื้ หาปัจจุบันทันสมยั 91 3 - - 4 เนื้อหามปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 82 3 - - 83 2 - - 82 3 - - 9 8 7 6 5 4 3 น้อยท่ีสดุ มากที่สดุ 2 น้อย 1 ปานกลาง 0 มาก มาก มากที่สดุ ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ
สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นร้หู ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๓๒ ข้อ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม มาก ปาน นอ้ ย 5 การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม ทส่ี ดุ มาก กลาง น้อย ที่สุด 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 92 2 - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย 91 3 - - 9 วธิ กี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 83 2 - - 82 3 - - 91 3 - - 9 8 7 6 5 4 3 น้อยที่สดุ มากที่สดุ น้อย มาก 2 ปานกลาง 1 มาก 0 มากท่ีสดุ ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ
สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการการเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๓๓ ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร มาก ปาน น้อย 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถา่ ยทอด ที่สดุ มาก กลาง น้อย ทสี่ ุด 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนรว่ มและซกั ถาม 10 1 2 - - 91 3 - - 91 3 - - 10 9 8 7 6 5 4 น้อยที่สดุ มากที่สดุ 3 น้อย 2 ปานกลาง มาก 1 มาก ปานกลาง 0 มากท่ีสดุ น้อย น้อยที่สดุ
สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการการเรียนรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๓๔ ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก มาก ปาน น้อย 13 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อานวยความสะดวก ท่ีสุด มาก กลาง นอ้ ย ทส่ี ุด 14 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา 92 2 - - 82 3 - - 91 3 - - 9 8 7 6 5 4 น้อยท่ีสดุ มากที่สดุ 3 น้อย มาก 2 ปานกลาง ปานกลาง 1 มาก 0 มากท่ีสดุ น้อย น้อยท่ีสดุ
สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๓๕
สรุปผลการดาเนินงานโครงการการเรียนรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) | ๓๖ รปู ภาพประกอบ กจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการการเรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน (โคก หนอง นา โมเดล) วนั ท่ี ๑๙ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 สถานทจี่ ดั ณ หมํู ๓ ศูนยก์ ารเรยี นร๎ูตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
บรรณานกุ รม ณัฏฐพงศ์ ทองภักดี. (2550). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:ความเป็นมาและความหมายปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี งกับการบรหิ ารการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร. สถาบันบณั ฑติ พัฒนาบริหาร ศาสตร.์ นภาพร ลิขติ วงศ์ขจร.(2550).บัญชคี รัวเรอื น: เคร่ืองมอื สเู่ ศรษฐกิจพอเพียง. วารสารศูนย์บริการ วชิ าการ, 15(3), 25-29 ปราโมทย์ ไม๎กลัด. (2556). วิถีชีวิตวัยรุ่นไทย ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. ออนไลน์. สืบค๎น เมื่อ วันที่ 15 มกราคม 2559 จาก http://lovekingsim61.blogspot.com/ พัชรา นาคศิริ. 2550. พฤติกรรมการใช้จ่ายเงินของนักศึกษาที่กู้ยืมเงินจากกองทุนให้กู้ยืมเพ่ือ การศึกษาศึกษาเฉพาะกรณีของจังหวัดพิษณุโลก. สารนิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกริก. พงค์ รัตนะ. 2551. พฤติกรรมการใช้จ่ายตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของครูผู้สอนระดับ ประถมศึกษา ในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเพชรบูรณ์เขต 1. สารนิพนธ์กศ.ม. (การ บรหิ ารการศึกษา). กรงุ เทพฯ: บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ภัทรภร กิจชัยนุกูล. (2556). ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อค่าใช้จ่ายของประชาชนในเขต กรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธ์วิทยาศาสตร์มหาบณั ฑติ . สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์. ภัทรา เรืองสินภิญญา. (2555). บัญชีครัวเรือน” เร่ืองใกล้ตัวที่ถูกมองข้าม. วารสารวิทยาการ จดั การ และสารสนเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 7(1) ศิริวงค์ มะศักดิ์และคณะ. (2557). แนวทางการส่งเสริมการทาบัญชีรายรับ – รายจ่ายเพ่ือ พัฒนาการ ออมของ นักเรียนโรงเรียนสังวาลย์วิทยา จ. เชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล๎านนา. ศูนย์ข๎อมูลและบริการสถาบันรามจิตติ. (2553) . โครงการสารวจพฤติกรรมการจัดการการเงิน ส่ ว น บุ ค ค ล . อ อ น ไ ล น์ . สื บ ค๎ น เ มื่ อ วั น ท่ี 13 ม ก ร า ค ม 2559. จ า ก http://www.ramajitti.com/research_project_money.php สุภัทรา บุญปัญญโรจน์. (2550). ภาวะบรโิ ภคนยิ มของวยั รุ่นไทย : ปัจจยั ผลักดนั สูส่ งั คมไทย. วารสาร รามคาแหง. ฉบับมนุษยศาสตร์, 27(1). สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สงั คมแห่งชาติฉบบั ท1่ี 1 (พ.ศ. 2555–2559). สานักนายรัฐมนตร.ี สุภัทรษร ทวีจันทร์. (2556). การบูรณาการบัญชีครัวเรือนเพ่ือเสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชี ตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษาชุมชนบ้านกลาง ตาบลขะยูง อาเภออุทุมพรพิสัย จังหวัด ศรีสะเกษ. วารสารบณั ฑิตศึกษา, 10(48). สุธาสินี บัวชาบาล. (2557). การศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายของนักศึกษา วิทยาลัยการปกครอง ท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น. การประชุมวิชาการระดับชาติด๎านการบริหารกิจการ สาธารณะ ครั้งท่ี 2 “ชุมชนท๎องถ่ิน: พลังแหํงการปฏริ ูปประเทศไทย. อภิยุทธ นวอัจฉริยะกิจ. (2557). พฤติกรรมการใช้จ่ายของนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพที่อาศัย หอพัก 53 ในเขตพื้นที่เทศบาลตาบลหนองป่าคร่ัง อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. การศึกษา ค๎นควา๎ อสิ ระ. มหาวิทยาลัยเชยี งใหมํ.
ท่ปี รึกษา คณะผู้จดั ทา นางสาวมกุ ดา แข็งแรง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอภาชี นางสาววชิ ชุตา แกว้ โมรา รักษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร นางสาวหทยั รัตน์ ศริ ิแก้ว บรรณารกั ษ์ชานาญการ นางสาวฐติ พิ ร พาสี ครู ครูผูช้ ว่ ย คณะทางาน/ผรู้ วบรวมข้อมูล/สรปุ ผล/รายงานผล/จัดพิมพร์ ูปเล่ม นายสมพร จติ รเี หิม ครู กศน.ตาบล
Search
Read the Text Version
- 1 - 43
Pages: