Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore playeesok

playeesok

Published by นุสราสินี ณ พัทลุง, 2019-10-22 02:02:53

Description: playeesok

Search

Read the Text Version

การเพาะเลย้ี งปลายส่ี ก คาํ นํา ปลายส่ี กเปนปลานํ้าจดื ชนดิ หน่ึงชื่อทีใ่ ชเ รยี กปลายส่ี กแตกตา งกนั ออกไปตามถิน่ ที่อยอู าศัย เชน ทแ่ี มน ้าํ โขงจงั หวดั หนองคายเรยี ก\"ปลาเอนิ \" หรือ \"ปลาเอินคางหมู\" ในทอ งทบ่ี างแหงเรยี กปลาชนดิ นวี้ า \"ปลาย่ีสกทอง\" \"กะสก\" หรอื \"อีสก\" บรเิ วณแมน ํา้ นา น เรียก \"ปลาชะเอิน\" เนอ้ื มรี สดอี รอย มาก ปจ จุบนั เปน ปลาทหี่ ายาก มรี าคาสงู มาก เมือ่ เทยี บกบั จาํ พวกปลานํ้าจดื ทีม่ ีอยูในประเทศไทย ราคากโิ ลกรมั ละ 80-100 บาท ปลาย่สี กหนงั หนา เนื้อ เหลืองละเอียดออ น น่มิ รสหวาน ประกอบอาหารไดห ลายอยา ง เชน ตม ยาํ ตม เค็ม แกงเหลือง ทอดมนั ทอดฟู นึง่ รมควนั เจี๋ยน นึง่ กับเคร่ืองปรุงแบบจนี ชุบ แปง ทอดรับประทานไดอ รอ ย เชนกัน ปจ จุบนั แหลง ทมี่ ปี ลายีส่ กมากทีส่ ุด คอื แมนาํ้ โขง รองลงมาไดแกแ มน ้ํานา น สวนทแี่ มน ้ําแคว จังหวดั กาญจนบุรี แมน้ําแมก ลอง จังหวดั ราช บุรี แทบจะไมม ปี ลายส่ี กเหลอื อยเู ลย ปลายส่ี กทจี่ ับไดม ี ปริมาณลดลง เน่ืองจากแหลง นาํ้ อนั เปน ทีอ่ ยอู าศัยของสตั วนา้ํ เสื่อมโทรมไปตามธรรมชาติ และความ เจรญิ ของบา นเมือง เชน การสรา งเขือ่ นกั้นน้าํ การสรา งถนน การสรา งโรงงานอุตสาหกรรมและการปลอ ยสงิ่ โสโครกลงในแมนาํ้ ลําคลองทาํ ใหเ กดิ นํ้าเสยี เปน อันตรายตอ พนั ธสุ ัตวน าํ้ จํานวนปลายสี่ กลดนอยลง ประชาชนจงึ ควรหนั มาสนใจเลี้ยงปลาย่สี กใหม ากขน้ึ เพือ่ ทดแทนการจบจากธรรมชาติ ซ่ึงนบั วนั จะมี จาํ นวนนอ ยลงทกุ ที การเพาะพันธปุ ลายี่สกเสริมแหงนํ้าธรรมชาตจิ ะชวยอนรุ ักษพ นั ธปุ ลาชนิดนี้ไวกอ นที่จะ สญู พันธุไป สถานีประมงน้าํ จืดจังหวัดหนองคาย ประสบผลสําเรจ็ ในการผสมเทียมปลาย่ีสกไทยเมอ่ื ป พ.ศ. 2517 โดยใชพอ แมพันธุที่รวบรวมจากแม น้าํ โขง และเมอื่ เดอื นมกราคม 2533 สถานีฯ สามารถใชพอ แมพนั ธุ ปลายี่สกไทยท่ีเลี้ยงในบอ ดนิ มาทาํ การเพาะพันธุประสบผลสาํ เรจ็ เปนครงั้ แรก ดว ยการ ฉีดฮอรโมน สังเคราะห (suprefact) รว มกบั ยาเสรมิ ฤทธิ์ (motilium) ทางชองทอ งของแมปลา ประวตั แิ ละถิน่ กาํ เนิด ปลายี่สกมีเผาพนั ธเุ ชื้อสายเดียวกบั ปลาตะเพียน เชน เดยี วกับปลาตะโกก ปลากะโห ปลา นวลจันทรน ํ้าจดื และปลาสรอย ในภาคกลางพบ ปลาย่ี สก อาศยั อยใู นแมน ้าํ เจา พระยา แมน้าํ แมก ลอง แมนํ้าราชบุรี แมน ้าํ ปาสัก แควนอ ย แควใหญ ภาคเหนอื พบมากท่ีแมน าํ้ นาน จงั หวัดอตุ รดิตถ ภาคตะวนั ออก

เฉียงเหนือพบในแมน าํ้ โขง ตั้งแตจ ังหวัดเชียงราย จงั หวดั อบุ ลราชธานี มมี ากในจงั หวดั หนองคาย และ จังหวดั นครพนม เมอื่ 50 ปกอน ดร.สมทิ ท่ีปรึกษาราชการกรมรกั ษาสตั วน้าํ แหงรัฐบาลสยาม รายงานวาปลาย่ีสก เปน ปลาดีท่นี ยิ มของชาวราชบรุ ีพอๆ กับ ปลาจาดหรือปลาเวียนอนั มชี อื่ เสียงของจงั หวัดเพชรบรุ ี ใน ตางประเทศ เคยพบในประเทศมาเลเซยี และคาดวา คงจะพบในประเทศลาว เขมร และเวยี ดนาม ดว ย ตาม ธรรมชาติ ปลายส่ี กกินพชื ในน้าํ เปนอาหารหลกั และอาจกนิ สตั วห นา ดิน ลกู กุง ลกู ปู และไรน้าํ ดว ย อปุ นิสัย ปลาย่ีสกชอบอาศัยอยูในแมน ํ้าสายใหญ ทพ่ี ื้นทอ งนํ้ามีลกั ษณะเปน กรวดทราย ระดบั นํ้าลกึ 5-10 เมตร น้ําเยน็ ในสะอาด จืดสนิทและเปน บรเิ วณทีม่ นี ้าํ ไหล วงั น้ํากวางและมีกระแสน้ําไหลวน ลูกปลา จะไปรวมกันอยเู ปนฝงู ตามบริเวณทีเ่ ปน อา ว และพ้นื เปน โคลนหนาประมาณ 10-20 เซนตเิ มตร พอถึงเดอื นตลุ าคม ปลาจะเร่มิ วายทวนขนึ้ ไปเหนือน้าํ เพอ่ื วางไขแ ละจะกลับถ่นิ เดิมในเดอื นพฤษภาคมหรือ พอนํ้าเร่มิ มีระดับสงู ข้นึ ปลายส่ี กจะพากนั ไปอาศัย ตามหว ยวังทม่ี นี ํา้ ลึก กระแสนํ้าไหลคดเคย้ี ว พ้นื ดินเปน ดนิ ทรายและกรวดหนิ เปนทอ งทุง (คงุ ) หรือวงั นา้ํ ทีก่ วางใหญใกลเขาสงบ นํา้ ใสสะอาด ลกึ ต้งั แต 5-10 เมตร หมุนเวียนอยูอยางน้ีตลอดมา ลกั ษณะรูปราง ปลาย่ีสกมลี กั ษณะเดนคอื สีของลาํ ตัวเปน สเี หลืองนวล ลําตวั คอนขางกลมและยาวบริเวณ ดานขางมแี ถบสีดาํ ขางละ 7 แถบ พาดไปตามความ ยาวของลําตัว ลายตามตวั เหลา นจี้ ะปรากฏในลกู ปลาท่มี ี ขนาด 3-50 นิ้ว บรเิ วณหวั มสี ีเหลอื งแกมเขยี ว ริมปากบนมีหนวดส้ัน ๆ 1 คู มฟี น ทีค่ อหอยเพยี งแถว เดยี ว จาํ นวน 4 ซี่ เวลากินอาหารทาํ ปากยืดหดได เยอื่ มานตามเปนสีแดงเรื่อ ๆ ครบี หลงั ครบี หู ครีบทอ ง ครบี กน มี สีชมพแู ทรกอยูกบั พนื้ ครบี ซงึ่ เปนสีเทา ออน หางคอนขา งใหญและเวา ลึก ปลาย่สี กเปน ปลาขนาดใหญช นิด หนึ่งในจํานวนปลาน้ําจืดดว ยกันพบในจงั หวัดกาญจบรุ ี ขนาดใหญท สี่ ุดยาว 1.35 เมตร นํ้าหนกั 40 กโิ ลกรัม ลกั ษณะของปลาตวั ผู 1. ลําตัวเรียวยาว 2. ขนาดเลก็ กวาปลาตวั เมยี 3. ลักษณะเพศเปนวงรีเลก็ มสี ชี มพูเรือ่ ๆ ในฤดูผสมพนั ธุจะมีน้าํ เช้ือสขี าวไหลออกมาเปน จาํ นวนมาก 4. มีตมุ สิว (Pearl spot) ทีบ่ ริเวณแกม และขา งตวั มากกวา ตวั เมยี เมอื่ เอามอื ลบู จะสากมอื ลกั ษณะของปลาตวั เมีย 1. ลาํ ตัวอว นปอ ม ชอ งทองขยายกวา ง 2. ขนาดใหญก วา ปลาตวั ผู

3. ชองเพศกลมใหญ มีสีชมพปู นแดง และแผน ไขมนั (papillae plate) ขยายเปนวงลอ มรอบชอ ง เพศ 4. มีตุมสวิ เชน กนั แตน อยกวา ปลาตัวผู การคัดเลือกพอ แมพนั ธุ ปลาชอนทน่ี ํามาใชเปนพอแมพ นั ธุควรเปนปลาทมี่ ีรปู ราง ลกั ษณะสมบูรณ ไมบ อบชาํ้ และมี น้ําหนกั ต้งั แต 800 – 1,000 กรัมขึน้ ไป และ อายุ 1 ปขึ้นไป ลักษณะแมพ นั ธแุ ละพอพนั ธุป ลาชอ นท่ดี ซี ่งึ เหมาะสมจะนาํ มาใชในการเพาะพนั ธุ แมพนั ธคุ วรมสี ว นทอ งอมู เลก็ นอ ยลกั ษณะตง่ิ เพศมสี แี ดง หรือสชี มพู อมแดง ถา เอามอื บบี เบาๆทที่ อ งจะมไี ขไ หลออกมามลี ักษณะกลมสีเหลอื งออ น ใส สว นพอพนั ธตุ ่งิ เพศควร จะมสี ชี มพเู รอื่ ๆปลาไมค วรจะมรี ปู รา ง อวนหรือผอมมากเกินไป เปนปลาขนาดนาํ้ หนัก 800 – 1,000 กรัม ฤดูวางไข ปลายี่สกเปน ปลาท่ีวางไขในฤดหู นา เรม่ิ ต้ังแตปลายเดือนธนั วาคมถงึ เดอื นกมุ ภาพนั ธข องทกุ ป ปลาเพศผูมีนํ้าเชอื้ ดตี ัง้ แตเดือนพฤศจกิ ายน ระยะที่ปลาวางไขมากท่สี ดุ คอื ประมาณปลายเดอื นมกราคมถงึ เดือนกมุ ภาพนั ธ หรอื ถา นับทางจนั ทรคติ ประมาณกลางเดอื นสาม ในตน ฤดวู างไข ปลาจะวา ยนาํ้ เหนือนํ้า ไปยังแหลง วางไขใ นลกั ษณะคูใครคูมัน เมอ่ื ถึงแหลง วางไข จะรวมกันอยูเปนฝูงจบั เปนคู ๆ เลนนํา้ ตามรมิ ตลงิ่ ในตอนบา ยจับ คเู คลา เคลีย และโดดขน้ึ เหนอื นํ้า สง เสยี งดงั สนัน่ พอพลบคํา่ กว็ า ยออกไปวางไขก ลาง แมน้ําในขณะท่ปี ลาวางไขป ลาจะเช่ืองมาก ไมย อมหนีจากกันทําใหถกู จบั ไดงาย ปลาตัวเมยี ท่ถี กู จบั ได จะมี ไขไหลออกมา บางคร้ังตอ งใชผา อุดไวไ มใ หไ ขไ หล ไขท ไ่ี ดถ า ไปผสมกับนาํ้ เชื้อตวั ผูจะไดร บั การผสมดีมาก เพราะไขแก จัดเปนทน่ี า สงั เกตอยางหนง่ึ คอื ปลายีส่ กมกั จะวางไขในวนั พระข้นึ หรอื แรม 15 คาํ่ ชาวประมง จะคอยสังเกตกอ นถึงวันพระ 3 วนั ถาเห็นปลา เริม่ จบั คเู ลนน้ําริมตลงิ่ หลายคู แสดงวาปลาจะตองวางไขใ น วันพระทจี่ ะถงึ แนนอน แตถ า การเปลีย่ นแปลงของธรรมชาตอิ ยา งกะทนั หนั เชน ฝนตก หนกั หรือ ระดบั นา้ํ เปลี่ยนแปลง ปลาจะเลอ่ื นการวางไขตอ ไปอกี ขอ สงั เกตอีกอยา งหนึ่ง คือ กอนท่ปี ลาจะวางไข ชาวประมงจะจบั ปลาสรอยไดเ ปน จํานวนมาก พรอมท้ังปลาเทโพและปลากินเน้ือ บางชนิด เขา ใจวา ปลาสรอ ยจะคอยกนิ ไขป ลายสี่ ก และปลาเทโพจะกนิ ปลาสรอยอกี ตอหน่ึง เขา ลักษณะสมดลุ กนั ตามหลกั ธรรมชาติ แหลง วางไข แหลง วางไขของปลายสี่ กตามธรรมชาตจิ ะตองมเี กาะหรือแกง อยกู ลางนํา้ พ้นื เปนกรวดทราย มี กระแสนาํ้ ไหลวนิ าทีละ1.3 เมตร ความโปรง แสงของนํ้า 10 เซนติเมตร ท่ีระดับนํา้ ลกึ 0.5-2 เมตร มีสัตวห นา ดินชกุ ชมุ มาก บริเวณทา ยเกาะจะตองมีบุง หรอื แอง ซ่ึงเปนที่สะสมอาหารเมอ่ื ปลาพรอ มท่ี จะวางไข ก็วายนา้ํ ออกไปทายเกาะตรงบริเวณทกี่ ระแสน้ําไหลมาบรรจบกัน

ลักษณะของไขป ลาย่ีสก ไขป ลายสี่ กเปนไขค รึ่งจมครงึ่ ลอย จะฟกออกเปนตัวในเวลาประมาณ 70 ชั่วโมง ท่ีอุณหภูมิ 21.5- 24.0 องศาเซลเซียส ไขม สี เี หลืองเสนผา ศนู ยกลาง 2 มิลลเิ มตร เมอ่ื ถูกน้ําจะพองออกเปน 3 มลิ ลเิ มตร ลกู ปลาท่ีฟก เปนตัวใหม ๆ มคี วามยาวประมาณ 8 มลิ ลเิ มตร การหาพนั ธปุ ลายสี่ กเพ่ือเลีย้ ง อาจหาลูกปลาไดจ าก 2 ทางคอื ก. จากแหลง นา้ํ ธรรมชาติ ข. ซื้อพนั ธุปลาจากหนว ยราชการของกรมประมง ซง่ึ ไดจ ากการผสมเทียมปห นง่ึ ๆ หลายลา นตวั การผสมเทียมปลายสี่ ก สถานีประมงนา้ํ จดื จงั หวดั หนองคาย ประสบผลสําเร็จการผสมเทียมปลายส่ี กไทย เม่ือป พ.ศ.2517 โดยใชพ อ แมพ นั ธุธ รรมชาติท่ีรวบรวม จากแมนาํ้ โขง และเมอ่ื เดือนมกราคม 2533 สถานฯี สามารถใชพ อแม พันธปุ ลายีส่ กไทยทีเ่ ลี้ยงในบอ ดินมาทาํ การเพาะพนั ธปุ ระสบผลสําเรจ็ เปน ครัง้ แรก โดย แมพ นั ธุขนาด 7.4 กโิ ลกรมั ซง่ึ มคี วามสมบูรณเ พศและฉีดฮอรโมนสังเคราะห (suprefact) รวมกบั ยาเสริมฤทธ์ิ (motilium) บริเวณทีฉ่ ีดฮอรโ มนคือ ทางชอ งทอง สวนปลาเพศผขู นาด 5.0 กโิ ลกรมั มีเช้ือดี ไมต องฉดี ฮอรโมน การผสมไขก บั นา้ํ เชอื้ การผสมไขก บั น้ําเชอื้ ใชว ิธีผสมแหง เน่อื งจากไขปลายี่สกไทยเปลือกไขมสี ารเหนยี วจะทาํ ใหไ ข ตดิ กันเปน กอน ตอ งลางไขด ว ยน้าํ สะอาด หลาย ๆ ครง้ั การอนบุ าล เมือ่ ลกู ปลาวยั ออนมีอายุครบ 2 วนั เรม่ิ ใหอาหารโดยใชไ ขแ ดงตมบดละเอยี ดกับอาหารผง (artificial plankton) ละลายนา้ํ สาดใหลูกปลา กินวนั ละ 2 คร้งั ตอนเชา และเย็น ลกู ปลาอายุครบ 5 วัน จงึ ยา ย ลกู ปลาไปอนบุ าลในบอดนิ และใหอาหารผสมคอื ราํ ละเอียด:ปลาปน :กากถวั่ ปน = 9:6:5 หลงั จากอนบุ าล ครบ 1 เดือน ลูกปลายีส่ กไทยมขี นาด 2-3 เซนตเิ มตร การลําเลียงลูกปลา ลูกปลาเหมอื นเดก็ วยั ออ น ตอ งดูแลอยางใกลช ดิ ขนาดลูกปลาท่เี หมาะสมในการลําเลียงเพือ่ นําไป เลีย้ งคือ 1-1 1/2 นิว้ หรือ 3-5 เซนติเมตร ไมควรโตกวานี้ เพราะปลาย่สี กเปน ปลาแมน า้ํ ตกใจงาย ถา ขนาด โตกวานจ้ี ะกระโดดไดแ รง ทําใหปลาบอบช้ํา อัตราการรอดตายตํ่า การบรรจุลูกปลา ใหบ รรจใุ นนา้ํ สะอาด ถา บรรจดุ วยถงุ พลาสตกิ ท่ีใชในการลาํ เลยี งถุงหนึ่ง ๆ บรรจุลูกปลาไดประมาณ 100-500 ตวั แลว แต ขนาดของปลา ถึงที่บรรจุและระยะทาง โดยอัดออกซิเจนแลว มัดปากถงุ ใหแ นน เวลาทีเ่ หมาะสมในการลาํ เลียงน้นั ๆ ตอนกลางคนื เหมาะทีส่ ดุ เพราะอากาศ ไมรอ น อตั รา

การรอดตายจะมากกวาการลําเลยี งตอนกลางวนั ซึ่งอากาศรอ นเปนเหตใุ หป ลาออนเพลียและอาจตายได แตถ า จาํ เปน ตองลําเลียงกลางวัน ใหใ ส น้าํ แขง็ ขา งถงุ ทีบ่ รรจปุ ลาดว ย การเตรยี มบอเลย้ี ง บอท่ขี ุดเสร็จแลวสูบนาํ้ ออกใหห มดใสปุยคอกแหงอัตรา 200 กก./ไร ผสมปนู ขาว 10 เปอรเ ซน็ ต คลุกเคลาใหเ ขา กนั เพือ่ เปน การฆาไขแมลง บางชนดิ ท่วี างไขไวใ นปุยคอก แลว โรยใหรอบบอ จงึ เอานา้ํ เขา การระบายนํา้ เขา บอควรกรองใหด ี และควรเอานํ้าเขา บอกอนปลอยปลา 1 วนั หรือทําวันเดยี ว กบั ทจ่ี ะปลอ ย ปลาลงเลี้ยง ทั้งน้เี พ่อื ปอ งกันตัวแมลงท่ีจะคอยกนิ ลกู ปลา พยายามใหล ูกปลาคุนเคยกับบอ ดนิ รูจักหลบหลีก กอ นท่แี มลงจะลงไปอาศัยอยูในบอ ลูกปลาจะไดแ พลงกต อนในนาํ้ และรําขาวที่โรยใหกินเปน อาหาร วิธีน้ี ลูกปลาจะมอี ตั รารอดตายสูงข้ึน อกี วธิ ีหนงึ่ เมือ่ เตรยี มบอ ตากบอ แหงดแี ลว ใหใ สปุย คอกลงไประบายน้าํ เขา ประมาณ 50 เซนตเิ มตร ทิง้ ไว 7-10 วนั เมอ่ื ไรนาํ้ เกิดจึงเพม่ิ ระดับน้ําใหส ูงข้ึน แลวปลอ ยลกู ปลาลงไป วิธน้ลี กู ปลาจะมี อาหารธรรมชาติสมบูรณ แตจ ะมมี วนกรรเชยี งอยูมากมายคอยจบั ลูกปลากนิ ดงั นน้ั กอ นปลอยลกู ปลา ตอง ฆาแมลงเสยี กอ นโดยใชน ํ้ามนั พืช เชน น้ํามนั มะพรา วผสมกบั สบกู รดหรอื สบูซลั ไลท โรยใหทว่ั บอ เพอ่ื ฆา แมลง อัตราสวนน้าํ มนั พืช 5 ลิตร สบูก รด 2 กอน ตอ เนอื้ ทบ่ี อ 80 ตารางเมตร แมลงจะตายภายใน 5 นาที ควร ทาํ ในวนั ทม่ี ีแดดจดั การสาดนํา้ มนั ผสมสบคู วรทําเหนอื ลม เพือ่ ใหนา้ํ มันกระจายไดท ่ัว บอเร็วยงิ่ ขน้ึ นํ้ามนั พืชไมเ ปน อันตรายตอลูกปลา บอ เลี้ยงลกู ปลาย่สี ก ขนาดบอ ควรมเี นอื้ ทีต่ ้งั แต 800 ตารางเมตร ข้นึ ไป ลึกตงั้ แต 80 เซนตเิ มตร ถงึ 1 เมตร เลี้ยงลกู ปลา ขนาด 1 - 1 1/2 น้วิ อัตราการปลอ ย ลูกปลาขนาด 1-1 1/2 น้ิว ปลอ ยประมาณ 100,000 ตัว ตอเนือ้ ทบ่ี อ 800 เมตร หรือ 200,000 ตัวตอ เนอ้ื ท่บี อ 1 ไร ถา จะใหไดผลดี เน้อื ท่บี อ 800 ตาราง เมตร ปลอยลกู ปลานอยกวา 100,000 ตวั ลูกปลาจะเจริญเตบิ โตเร็วขึน้ บอเล้ียงลูกปลายี่สกใหญ ขนาดบอควรมีเนอ้ื ท่ีไมน อ ยกวา 1 ไร ระดับนาํ้ ลึก 1.20-2.0 เมตร ใชเลี้ยงปลาย่ีสกขนาด 10 เซนติเมตรขน้ึ ไป จนถึงขนาดทีต่ ลาดตองการ คือ น้ําหนกั 4 กโิ ลกรัมข้นึ ไป อัตราการปลอ ย ขนาด 10 เซนติเมตร จํานวน 200 ตวั ตอเนือ้ ที่ 1 ไร หากปลาไดร บั อาหารอดุ มสมบูรณ ปลาจะเจริญเติบโตเรว็ ยิง่ ขึ้น ภายในระยะเวลา 2 ป จะไดน ํ้าหนกั 4 กโิ ลกรมั เปนอยา งนอ ย บอ เลย้ี งพอ แมพนั ธุ เปน บอดินขนาด 1 ไร นาํ้ ลึกประมาณ 1.0 เมตร ปลอ ยปลาขนาด 1.0-7.0 กโิ ลกรัม จํานวน 30 ตวั (นํา้ หนกั รวมประมาณ 100 กิโลกรัม) เล้ยี งแบบรวมเพศ

การเลี้ยงปลายสี่ ก ผทู เี่ ล้ยี งเปนอุตสาหกรรมตอ งลงทนุ มาก เนือ่ งจากเปน ปลาขนาดใหญ เวลาเลยี้ งหลายปจ ึงจะได ขนาดทีต่ ลาดตองการ ผทู ่มี ีทนุ นอ ยควรจะ เลี้ยงปลายีส่ กเปนปลาสมทบ คือเลย้ี งรวมกับปลากินพชื ชนิดอ่นื ๆ เชน ปลาไน ปลาสวาย ปลาจนี ปลาเหลา นจี้ ะกนิ อาหารผวิ นาํ้ และกลางนาํ้ สวนปลายส่ี กจะ กนิ อาหารพ้ืนบอ อาหารทเี่ หลอื จากผิวน้าํ กลางน้าํ จะตกไปเปน อาหารปลายส่ี ก การเลยี้ งเปนปลาสมทบ อัตราการปลอยปลา กินพืช 3,000-4,000 ตัว ตอปลา ยีส่ ก 100 ตวั สาํ หรบั ผทู ม่ี ีทนุ เพียงพอและมีบอขนาดใหญอ าจเลีย้ งปลายสี่ ก ชนิดเดยี วได ทงั้ นี้กอนจะปลอ ยปลาลงเลี้ยงในบอ เม่ือรบั พันธุปลามาแลว ควรนํา ถงุ ไปวางแชน า้ํ ในบอ จึง เปด ปากถุง เติมนํา้ ในบอเขาถงุ ทลี ะนอ ยกอ นปลอ ยลูกปลาลงเล้ยี ง อาหารปลายสี่ ก การเลีย้ งปลาย่ีสกตอ งเอาใจใสเปน พิเศษ การใหอ าหารกม็ คี วามสําคญั เชนกนั ในธรรมชาติ หอย เปน อาหารท่ปี ลายส่ี กชอบมากที่สดุ สว นผสม ของอาหารที่ใหควรมี รํา 1 สวน ปลาปน 2 สว น กากถวั่ 2 สวน ใสน ํ้าพอคลุกเขา กันเปน กอ นกลม ๆ ขนาดเทา ลูกตะกรอ วางไวทกี่ ระบะไม ซึ่งแขวนอยมู ุมบอ ใตผ วิ นาํ้ ประมาณ 30 เซนติเมตร วธิ ีทจ่ี ะใหมีอาหารธรรมชาตใิ นบอปลากค็ ือ ใสป ุยมูลสัตวแ หง เชน มูลโค-กระบือ มลู เปด -ไกต าก แหง ฯลฯ สว ยการใสมูลสตั วส ดๆ ไมควร ทําจะทําใหเกดิ แกสแอมโมเนยี ละลายอยใู นน้ํามากข้ึน เปน อันตรายตอ ลูกปลา อตั ราการใสป ยุ คอก 1 ไรต อ 200 กโิ ลกรมั จะทําใหเกดิ อาหารตามธรรมชาติ พวก กงุ หอย เปน ตน ซึง่ ปลาย่สี กชอบกิน การใสป ุยควรใสเ หนอื ลม เพ่ือปุยจะไดก ระจายไปทวั่ บอ การสังเกตวา ใน บอ มีอาหารธรรมชาตเิ พยี งพอหรอื ไม ใช มือจมุ ลงไปในบอใหลึกถงึ ขอ ศอก ถามองไมเห็นฝา มือ แสดงวานา้ํ น้ันมีอาหารธรรมชาตมิ ากหากเล้ียงเปน พอ แมพ ันธุ โดยใหอาหารผสม (ราํ :เศษแผนยอ:ปลาปนxกากถั่ว = 3:2:1) วันละ 3 เปอรเซน็ ตของนํ้าหนกั ปลาทงั้ หมด การใหอ าหาร การใหอาหารเปน เรือ่ งสาํ คัญวันแรกๆ ใหทลี ะนอย เพอื่ เปนการหัดใหลูกปลารจู ักกินอาหาร และใหสังเกตดูปริมาณอาหารท่ปี ลากินวนั หนง่ึ ๆ ดว ย และคอ ย ๆ เพ่มิ อาหารใหทีละนอ ย ๆ ถา ใหม าก เกินไปอาหารเหลอื จะบูดเสยี ทาํ ใหน า้ํ เสยี เปน อันตรายแกป ลาในบอ เวลาใหอ าหาร ใหว นั ละ 2 เวลา คือ 3 โมงเชา และ 2 โมงเย็น เวลาจะใหอาหารควรมสี ัญญาณ เชน ใชมือตีนํา้ เปน ตน ประมาณ 7 วัน ปลาไดย นิ สญั ญาณ จะวา ยนา้ํ มากนิ อาหารเปน ฝงู ท้ังน้ี ควรสังเกตปริมาณและชนิดของอาหารทีใ่ ห ถามโี ปรตีนสงู ปลา จะเจริญเตบิ โตเรว็ การใหอาหารเชน นมี้ ผี ลดี คอื 1. ทําใหรูจ าํ นวนปลา 2. รูว าปลาเปน โรคหรอื ไม เพอื่ คดั ตัวทไ่ี มต อ งการออก 3. สังเกตไดว าปลาหายไปหรือไม 4. ทาํ ใหป ลาโตเรว็ ยิ่งข้นึ และเลีย้ งไดห นาแนนกวาการใหก ินอาหารจากธรรมชาตเิ พียงอยางเดยี ว

การใหอาหารปลาย่ีสกขนาดโต ควรเพิ่มกากถ่วั แผน ปลาปน สาหราย ผักบงุ รํา ปลายขา วตม บด ผสมกัน คลกุ กับขาวสุก หรอื งาคัว่ อยา ง ละเอียด 10 เปอรเ ซน็ ต การเจริญเตบิ โต การเจรญิ เตบิ โตของปลาย่ีสก นอกจากเรอ่ื งอาหารแลว การระบายน้าํ การเปลยี่ นน้ําเปน ส่งิ จาํ เปน อยางยิง่ นอกจากนี้ อยา ปลอ ยปลาในอัตรา ที่หนาแนน เกนิ ไป เมอ่ื เล้ยี งได 1 ป จะมนี า้ํ หนกั 1-2 กโิ ลกรัมเปน อยา งนอ ย แตก ารซื้อขายในตลาด มักนยิ มปลาซึ่งมขี นาดหนกั กวา 4 กโิ ลกรมั ขึ้นไป การแบง เล้ียงและการคดั ขนาด เปน สง่ิ จาํ เปนและสาํ คญั มาก ถาหนาแนน เกนิ ไป ปลาจะไมเจรญิ เติบโตเทา ท่คี วร ปลาโตขนึ้ ตองการ เนื้อทม่ี าก ปลาใหญจ ะแยง อาหาร ปลาเล็ก การคดั ขนาดควรกระทําทกุ 6 เดือนตอครัง้ ศตั รู ศตั รลู กู ปลาย่สี ก ไดแก คางคก กบ แมลงวัยออน นอกจากนี้มีเหบ็ หนอนสมอ งกู ินปลา ปลา ชอ น และนกกนิ ปลา สาํ หรับนกกินปลาจะมากิน ปลาขณะทีฝ่ ูงปลาขน้ึ มากินอาหาร บางคร้ังอาจจะมีนกมา คอยจอ งจบั กนิ ปลาในขณะที่น้าํ ในบอเสยี ปลาลอยหัว ซ่ึงจะเปน ขอ สงั เกตวา มเี หตผุ ดิ ปกตไิ ดเ กิดข้นึ ในบอ แลวอกี ประการหนึง่ ดว ย ผลผลติ ตอ ไร ปลายีส่ กไทยทเ่ี ลย้ี งดว ยความหนาแนน 1 ตวั /ตอตารางเมตร มีผลผลติ เฉล่ียตอ ไรสงู กวาการเลย้ี ง ดวยความหนาแนน 2 ตัว/ตารางเมตร ประมาณ 42 เปอรเซ็นต สว นอัตราการเปลยี่ นอาหารเปนเนอ้ื ใกลเคยี ง กนั และมีแนวโนมวา นาจะเลยี้ งเปน การคาได ตนทนุ การผลติ ตนทุนการผลิตเน้ือปลาย่สี กไทย โดยเฉลยี่ กโิ ลกรัมละ 41.04 บาท 1 ตัว/ตารางเมตร เทากบั 54.50 บาท 1 ตัว/ 2 ตารางเมตร เทากบั 63.00 บาท หมายเหตุ ราคาอาหาร (12.50 บาท/อาหารปลา 1 กก.) อตั ราการรอด ประมาณ 90% แนวโนม การเลี้ยงปลาย่สี กในอนาคต ปลาย่สี กเปนปลาท่คี อนขา งจะหายากในปจ จบุ นั เม่ือเปรยี บเทียบกับปลานา้ํ จืดดว ยกันแลว นับได วา มีราคาสงู ทส่ี ุดทั้งนส้ี ามารถนําสวนประ กอบ ตา ง ๆ ของปลามาใชป ระโยชน อาทิ เนอ้ื หนัง เกลด็ มี รสชาตอิ รอ ย ดังนัน้ หากการเลย้ี งปลายส่ี ก ไดรบั ความสนใจอยางจรงิ จงั ก็จะทําใหม ีเนื้อปลาย่ีสก รับประทานโดยไมต องรอฤดกู าลอกี ตอไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook