“หลกั การทางานของอุปกรณ์ในสถานีไฟฟ้าแรงสูง” แบบ GIS
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GIS สถานีไฟฟ้าแรงสูงแบบใชฉ้ นวนก๊าซ ( Gas Insulated Substation :GIS )เป็นสถานีไฟฟ้าท่ีมีอุปกรณ์ต่างๆ ติดต้งั อยภู่ ายในท่อโลหะ โดยการอดั ก๊าซ SF6 เพ่ือเป็นก๊าซฉนวนไวภ้ ายใน จึงสามารถลดระยะปลอดภยั ทางไฟฟ้าลงได้ ทาให้สถานีไฟฟ้าแรงสูงแบบ GISมีขนาดเลก็ ลงมาก สามารถออกแบบใหต้ ิดต้งั แบบกลางแจง้ ,ภายในอาคาร, ใตพ้ ้นื ดินหรือภายในอุโมงคก์ ไ็ ด้ โดยทวั่ ไปจะพจิ ารณาตามวตั ถุประสงคห์ ลกั ของการติดต้งั ใชง้ าน เช่นตอ้ งการความเชื่อมน่ั สูง , มีพ้ืนที่วา่ งจากดั ,ไม่ตอ้ งการมีภาระการบารุงรักษามาก เป็นตน้ ดงั น้นัปัจจุบนั จึงมีความนิยมติดต้งั สถานีไฟฟ้าแบบ GIS กนั มากข้ึน
คุณสมบัติ SF6 ก๊าซ SF6 มีช่ือเรียกวา่ ซลั เฟอร์-เฮก-ซาฟลูออไรด์ (Sulphur-hexafluoride)เป็นก๊าซท่ีไม่มีสี ไม่มีกล่ิน โครงสร้างของโมเลกลุ ดงั รูปที่ 1 จะอยใู่ นสภาวะสมมาตร(symmetrically) เป็นอยา่ งยงิ่ โดยมีอะตอมของซลั เฟอร์อยทู่ ี่จุดศูนยก์ ลางและลอ้ มรอบดว้ ยอะตอมฟลูออรีน 6 อะตอม ซ่ึงก่อใหโ้ ครงสร้างของโมเลกลุ แบบ octahedron อิเลก็ ตรอนของอะตอมฟลูออรีน 6อะตอมจะเขา้ จบั กบั อิเลก็ ตรอนอิสระของอะตอมซลั เฟอร์อีก 6 อะตอม ซ่ึงทาใหอ้ ะตอมท้งั สองประเภทจบั กนั เขา้ เป็นคู่ๆ อยา่ งสมบูรณ์จึงทาใหโ้ มเลกลุ ของก๊าซ SF6 มีความเสถียรภาพและไม่เกิดปฏิกิริยาทางเคมีใดๆ โดยสามารถทนอุณหภูมิไดถ้ ึง 500 °c และสามารถนาไปใชก้ บั วสั ดุที่เป็นฉนวนไดท้ ุกๆ ประเภท เน่ืองจากก๊าซมีน้าหนกั โมเลกลุ คอ่ นขา้ งสูง ดงั น้นั ก๊าซ SF6 จึงมีความหนาแน่นสูงมากคือ ตกประมาณ 5 เท่าของอากาศ และความเร็วเสียงในก๊าซ SF6 จะตกประมาณ 130 เมตร/วนิ าที ความเป็นฉนวนของก๊าซ SF6ก๊าซ SF6 มีคา่ ความเป็นฉนวนสูงมาก เนื่องจากอิเลก็ ตรอนจะถูกจบั และยดึ ไวแ้ น่นกบั โมเลกลุ ของก๊าซ จะเหลืออยกู่ แ็ ต่เพียงอิออนลบทาใหก้ ๊าซ SF6 มีคุณสมบตั ิเป็นอิเลก็ โตรเนกาตีฟ สูงมาก ดงั น้นั ประจุไฟฟ้าที่มกั จะเกิดข้ึนจากอิเลก็ ตรอนอิสระที่ถูกเร่งใหม้ ีความเร็วในสนามแม่เหลก็ จึงถูกต่อตา้ นดว้ ยคุณสมบตั ิของอิออนลบ คุณสมบตั ิขอ้ น้ีเองของก๊าซ SF6 รวมท้งั ความเสถียรทาใหต้ อ้ งการพลงั งานในการทาใหก้ ๊าซเกิดการอิออนไนเซชนั่ สูงมาก ตกประมาณ 19EV จึงจะทาใหก้ ๊าซมีค่าความเป็นฉนวนสูง ค่าความเป็นฉนวนของก๊าซ SF6 จะเพิ่มข้ึน เม่ือคา่ ความดนั ของก๊าซสูงมากข้ึนท่ีคา่ ความดนั บรรยากาศ ค่าความดนั เป็นฉนวนน้ีจะสูงกวา่ คา่ ความเป็นฉนวนของอากาศประมาณ 2.5 เท่า
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISอุปกรณ์ใน GIS ในแต่ละ Bay ของ GIS จะประกอบไปดว้ ยอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ซ่ึงมีพิกดั การใชง้ านเหมือนกบั AIS ทุกประการ เพียงแต่ออกแบบเป็นลกั ษณะ Module แต่ละ Moduleจะมีหนา้ แปลน(Flange) เพอ่ื จะไดน้ ามาประกอบต่อกนั ไดต้ ามลกั ษณะการจดั Bus ตามSingle Line ท่ีตอ้ งการส่วนต่างๆ ในแต่ละ Bay
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GIS ส่วนประกอบหลกั ( Primary components) ตวั ถงั โลหะ (Enclosure) ทาจาก อลูมิเนียมผสม ( Aluminium Alloy) หรือเหลก็ (Steel) ทาหนา้ ท่ีเป็นท่อหุม้ ส่วนที่มี ไฟ นอกจากน้นั ยงั เป็นทางผา่ นของกระแสเหน่ียวนา (Induced Current) ซ่ึงอาจสูงถึง 80-100% ของกระแสท่ีไหลในบสั บาร์ ดงั น้นั ท่อโลหะทุกส่วนตอ้ งต่อถึงกนั ท้งั หมดและต่อลงดินปัจจุบนั มาตรฐานสากล ไดม้ ีขอ้ กาหนดใหอ้ ตั ราการร่ัวของก๊าซไม่ควรเกิน 0.5 % ต่อปีตวั ถงั โลหะของ GIS แบ่งตามลกั ษณะโครงสร้างไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ แบบท่ีบรรจุบสั บาร์หรืออุปกรณ์ท้งั 3 เฟส อยภู่ ายในตวั ถงัเดียวกนั เรียกวา่ ตวั ถงั ชนิด 3 เฟส ( Three phase enclosure) ส่วนอีกประเภทหน่ึงคือ แต่ละท่อหรือตวั ถงั จะบรรจุอุปกรณ์เพียงเฟสเดียวเท่าน้นั เรียกวา่ ตวั ถงั ชนิดเฟสเดียว ( Single phase enclosure) และแบบผสม (Hybrid)
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GIS( Three phase enclosure) ( Single phase enclosure)
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISขอ้ พิจารณาเปรียบเทียบระหวา่ งตวั ถงั 1 เฟส และตวั ถงั 3 เฟส สรุปไดด้ งั น้ี������ GIS ที่ขนาดไม่เกิน 145kV ตวั ถงั แบบ 3 เฟส มีราคาถูกกวา่ แบบ 1 เฟส������ ราคาการติดต้งั ข้ึนอยกู่ บั การออกแบบของผผู้ ลิตแต่ละยห่ี อ้ ซ่ึงโดยทวั่ ไปไม่แตกต่างกนั มาก������ แบบ 3 เฟส มีขนาดเลก็ กวา่ จึงช่วยลดค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกบั ท่ีดินและอาคาร������ เมื่อเกิดฟอลท์ แบบ 1 เฟสลงดิน (1 Line to ground fault) ตวั ถงั แบบ 3 เฟสจะทาใหฟ้ อลท์ กลายเป็นแบบ 3 เฟส( 3 Phase fault) ซ่ึงทาใหร้ ะบบเสียเสถียรภาพมากกวา่ และความเสียหายของอุปกรณ์กม็ ีมากกวา่แต่เน่ืองจากปริมาตรตวั ถงั ใหญ่กวา่ ทาใหP้ ressure relief ทางานยากกวา่ (Pressure ไม่สูงเกิน)������ ถา้ ตอ้ งการให้ circuit breaker แต่ละ pole ทางานไดอ้ ยา่ งอิสระ (single-poleoperated) การเลือกใช้ตวั ถงั แบบ 1 เฟส จะเหมาะสมกวา่������ ผผู้ ลิตสามารถออกแบบชนิดผสมใหไ้ ด้ เรียกวา่ แบบ Hybrid คือ ตวั ถงั ของ บสั บาร์ เป็นแบบ 3 เฟส ส่วนอุปกรณ์อ่ืนเป็นแบบ 1 เฟส
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)2 บสั บาร์( Bus-Bar) โดยทว่ั ไปทาจากอลูมิเนียม หรือทองแดง ออกแบบใหม้ ีขนาดตามพกิ ดั กระแสต่อเน่ือง(Rated Continuous Current) ระยะความห่างของจุดจบั ยดึ (support) ข้ึนอยกู่ บั แรงกระทาทางกลขณะเกิดลดั วงจร ที่ปลายบสั บาร์ท้งั 2 ขา้ ง จะเคลือบดว้ ยเงิน หรือ Chromium Copperการต่อกบั อุปกรณ์มีท้งั แบบยดึ กนั ดว้ ย Bolt และ แบบเสียบ( Plug-in)
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)3 Insulation Spacer บางคร้ังเรียกวา่ Insulating Cone ทาจาก Epoxy Resin ซ่ึงมีคุณสมบตั ิเป็นฉนวนสูง ปราศจากโพรงอากาศภายในเน้ือ มีความตา้ นทานต่อสารเคมีต่างๆ ทนความร้อนสูง ข้ึนรูปง่ายไดต้ ามความตอ้ งการ สาหรับรองรับ บสั บาร์ หรืออุปกรณ์ต่างๆ ใน GIS เช่น เซอร์กิตเบรคเกอร์,ใบมีดตดั ตอน ,หมอ้ แปลงวดั แรงดนั เป็นตน้Insulation Spacer มีการออกแบบใชง้ าน 2 ประเภทคือแบบปิ ด ( Gas Tight Spacer) และแบบเปิ ด ( Gas Pass Insulator ) นอกจากจะใช้ InsulationSpacer แบบปิ ดรองรับ Conductor แลว้ ยงั ทาหนา้ ท่ีแบ่งส่วน (Partition) ของ GasCompartment เพอ่ื แยกเป็นส่วนๆ เวลาท่ีเกิดปัญหาไม่ใหก้ ระทบกบั ส่วนอื่นๆ
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)4 อุปกรณ์ระบายแรงดนั เกิน (Pressure relief device) ทาหนา้ ท่ีระบายแรงดนั ภายในไม่ใหส้ ูงเกินค่าที่ตวั ถงั โลหะทนได้ กรณีระบบป้องกนั ตดั ฟอลท์ทางานชา้ กวา่ ปกติ มกั กาหนดใหต้ ิดต้งั ทุก Compartment อุปกรณ์ระบายแรงดนั เกินน้ีเป็นแบบทางานได้คร้ังเดียว ทาจาก กราไฟท์ (Graphite) หรือโลหะ อุปกรณ์ระบายแรงดนั จะตอ้ งติดต้งั ใหข้ ณะที่ทางานจะระบายก๊าซออกไปในทิศทางท่ีเหมาะสม เพ่อื ป้องกนั อนั ตรายต่อผปู้ ฏิบตั ิงานท่ีอยใู่ นบริเวณน้นั
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)5 เซอร์กิตเบรคเกอร์ (Circuit breaker )ออกแบบเป็นชนิดตวั ถงั ไม่มีไฟ (Dead Tank) โดยใชก้ ๊าซ SF6 ทาหนา้ ที่เป็น ท้งั ฉนวนตวั กลาง( Dielectric) และตวั ดบั อาร์ค (arc) โดยปกติแลว้ Compartment ของเซอร์กิตเบรคเกอร์จะใชแ้ รงดนั ก๊าซสูงกวา่ ใน Compartment อ่ืน ๆ Interrupter มีหลกั การทางานแบบ Pufferคือ ขณะ Moving Contact เคลื่อนท่ีลง จะเป็นการใชล้ ูกสูบอดั ก๊าซในเวลาเดียวกนั ดว้ ย
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)5 เซอร์กิตเบรคเกอร์ (Circuit breaker )ลกั ษณะการจดั วาง มี 2 แบบ คือ การจดั วางในแนวต้งั (Vertical) และวางในแนวนอน (Horizontal) แนวนอน Horizontalฝ่ นุ ผง ที่เกิดจากการอาร์คจะตกลงส่งพ้นื ดา้ นล่างซ่ึงเป็นบริเวณที่มีความเครียดทางไฟฟ้า(Electricalstress)ต่ากวา่ การบารุงรักษากรณีการจดั วางในแนวนอนตอ้ งดึง Contact ท้งั ชุดออกตามแนวนอนดงั น้นั จะตอ้ งเผอื่ พ้นื ที่ดา้ นขา้ งในอาคารสาหรับการบารุงรักษาเช่นกนั
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)5 เซอร์กิตเบรคเกอร์ (Circuit breaker )ลกั ษณะการจดั วาง มี 2 แบบ คือ การจดั วางในแนวต้งั (Vertical) และวางในแนวนอน (Horizontal) แนวต้งั (Vertical) ฝ่นุ ผง ท่ีเกิดจากการอาร์คจะตกลงส่งพ้ืนดา้ นล่างซ่ึงเป็นบริเวณที่มีความเครียดทางไฟฟ้า (Electrical stress)สูง จะลดพ้นื ท่ีในการติดต้งั ไดม้ ากกวา่ แต่ระยะความสูงจะเพมิ่ ข้ึน เม่ือ บารุงรักษาจะตอ้ งยก Interrupter ข้ึนท้งั ชุด ดงั น้นั ตอ้ งออกแบบอาคารใหม้ ีความสูงเผอ่ื ไวด้ ว้ ย
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)6 ใบมีดตดั ตอน (Disconnecting switch)ใชส้ าหรับแยก เซอร์กิตเบรคเกอร์ , บสั บาร์ หรือ สายส่ง ออกจากระบบ เพอื่ การบารุงรักษาโดยทว่ั ไปใบมีดตดั ตอนจะเป็นชนิดที่ทางานขณะไม่มีกระแสไฟ แต่ตอ้ งสามารถตดั ตอนกระแส Charging ท่ีเกิดจากค่าคาปาซิแตนซ์ (capacitance) ของบสั บาร์ และสายส่งไดด้ ว้ ยชุดกลไกของใบมีดมกั เป็นแบบ มอเตอร์
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)7 ใบมีดกราวด์ (Ground Switch) จุดประสงคข์ องใบมีดกราวดม์ ีไวใ้ ชส้ าหรับงานบารุงรักษาเท่าน้นั เพ่อื ลดประจุที่คา้ งอยหู่ รือ แรงดนัเหน่ียวนาในจุดท่ีทางานใหเ้ กิดความปลอดภยั ต่อผปู้ ฏิบตั ิงาน มกั ติดต้งั ภายใน Module ของใบมีดตดัตอน ใบมีดกราวดท์ ี่ใชใ้ น GIS น้นั มี 2 แบบ คือ แบบธรรมดา และแบบความเร็วสูง (High Speed)
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)7 ใบมีดกราวด์ (Ground Switch) ใบมีดกราวดแ์ บบธรรมดา จะติดต้งั ไวภ้ ายใน Bay ส่วนแบบความเร็วสูงน้นั จะติดต้งั ที่ปลาย Bay ดา้ นท่ีออกไปยงั สายส่ง และ ดา้ นติดกบั บสั บาร์ เนื่องจากจุดดงั กล่าวมกั มีค่า Capacitance สูง การทางานของใบมีดกราวดค์ วามเร็วสูงน้นั เมื่อสงั่ Close สปริงจะถูกชาร์จ โดยท่ี Moving Contact ยงั ไม่เคลื่อนที่ จนกวา่สปริงถูกอดั เตม็ ท่ีแลว้ ส่วนการ Open น้นั Open ออก ดว้ ยความเร็วปกติเหมือนใบมีดกราวดแ์ บบธรรมดาเมื่ออยใู่ นตาแหน่ง Closed ใบมีดกราวด์ ตอ้ งสามารถทนกระแสลดั วงจรได้ นอกจากน้นั ใบมีดกราวดย์ งัสามารถใชเ้ ป็นจุดทดสอบสาหรับการทดสอบต่างๆ ไดอ้ ีกดว้ ย เช่น Timing,Contact Resistance เป็นตน้ระหวา่ งตวั ถงั ของ GIS และ ตวั ถงั ของใบมีดกราวด์ จะใชฉ้ นวนคนั่ และใชส้ ายตวั นาต่อเช่ือมใหร้ ะบบกราวด์ถึงกนั เม่ือตอ้ งการทดสอบทาไดโ้ ดยการปลดสายตวั นาน้ีออกและ Close ใบมีดกราวด์ กจ็ ะทาให้ Conductor ภายในเช่ือมต่อกบั ตวั ถงั ของใบมีดกราวดท์ าใหส้ ามารถป้อนแรงดนั หรือกระแสทดสอบเขา้ ไปที่ Conductorได้ การควบคุมการ ทางานของใบมีดกราวด์สามารถทาไดท้ ้งั 2 แบบ คือ ทาง Manual และ ทางไฟฟ้า
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)8 หมอ้ แปลงวดั กระแส (Current Transformers) ทาหนา้ ท่ีแปลงระดบั กระแสดา้ น Primary ใหต้ ่าลง เพือ่ ใชส้ าหรับระบบป้องกนั และระบบMetering โดยทวั่ ไปจะสอดท่อตวั นา ซ่ึงถือวา่ เป็นขดลวด Primary แบบ 1 รอบ ลอดผา่ นแกน เหลก็ (Core) ของหมอ้ แปลงวดั กระแส ซ่ึงเป็นชนิด Ring Type ตามปกติหมอ้ แปลงวดั กระแสแต่ละตวั จะมีแกนเหลก็ หลายๆ ชุด ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั Primary Current , Accuracy Class และRated Burden ของแต่ละ Coreหมอ้ แปลงวดั กระแส (C.T.) แบ่งตามลกั ษณะการติดต้งั ไดเ้ ป็น 2 แบบ คือ 1. ติดต้งั อยภู่ ายในตวั ถงั โลหะ สามารถใชก้ บั ท่อแบบ 1 Phase และ 3 Phase 2. ติดต้งั อยภู่ ายนอกตวั ถงั โลหะ กรณีน้ีใชไ้ ดก้ บั ท่อแบบ 1 Phase เท่าน้นั
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)8 หมอ้ แปลงวดั แรงดนั ( Voltage Transformers )เช่นเดียวกบั สถานีไฟฟ้าแบบ AIS Voltage Transformer แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ1 Capacitive Voltage Transformers (CVTs)2 Electromagnetic Transformers หรือ Potential Transformers (PTs)การพจิ ารณาเลือกชนิดใด ข้ึนอยกู่ บั คุณลกั ษณะท่ีตอ้ งการ ถา้ ตอ้ งการความแม่นยาสูงจะตอ้ งเลือก แบบ PTsซ่ึงโดยทว่ั ไปนิยมใชม้ ากกวา่ ส่วน CVTs จะราคาถูกกวา่ ภายในหมอ้ แปลงวดั แรงดนั จะ เติมดว้ ยแก๊ส SF6โดยมีระบบการตรวจวดั แยกออกจาก Compartment อ่ืนๆ
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)8 External connection 1 SF6/Air Bushingสาหรับเปลี่ยนจากฉนวน SF6ที่ใชภ้ ายใน GIS เป็น อากาศ ตวั Bushing ทาจากPorcelain ต่อกบั GIS โดยใช้ Module มีขอ้ งอจดั ไดต้ ามแนวท่ีตอ้ งการ ภายในบรรจุก๊าซSF6 เป็น Insulation ส่วนภายนอกจะตอ้ งมีCreepage Distance ตามระดบั Polution ที่ออกแบบใหท้ นไดเ้ ช่นเดียวกบั
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)8 External connection 2 Cable terminationsเป็นการเปลี่ยนจากฉนวน SF6 เป็นฉนวนท่ีใชก้ บั สาย cable เช่น XLPE , น้ามนั ฉนวน ซ่ึงมาตรฐานสากลไดม้ ีขอ้ กาหนดลกั ษณะการต่อ Cable terminator ระหวา่ งผผู้ ลิต GIS และผผู้ ลิตCable ใหส้ ามารถต่อเขา้กนั ไดท้ ุกยหี่ อ้
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)8 External connection 3 Transformer terminationsเป็นการต่อจาก GIS เขา้ หมอ้ แปลง หรือ Shunt reactor ซ่ึงใชน้ ้ามนั ฉนวน มีลกั ษณะดงั รูปท่ี21 เป็ น Enclosure ของ GIS ครอบ Bushing ของหมอ้ แปลง โดยEnclosure น้ีอดั ดว้ ยก๊าซSF6 Bushing ที่ใชแ้ บบน้ีจะออกแบบต่างจาก Bushingของหมอ้ แปลงโดยทวั่ ไป
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISส่วนประกอบหลกั ( Primary components)9 Lightning Arresterเป็ นชนิด Gapless Type โดยใช้ Zinc Oxide (ZnO) ที่ปลายของElement จะต่อกบั Conductor ส่วนปลายอีกดา้ นหน่ึงต่อกบัGround ของระบบ ภายในสภาวะการทางานปกติ Element จะเป็นResistive ไม่มีกระแสไหลผา่ น เม่ือเกิดแรงดนั เกินจากปรากฎการณ์ฟ้าผา่ หรือการ Switching เกิดข้ึนบน Bus conductor จะยอมให้กระแสไหลลง Ground เม่ือรักษาระดบั Voltage ใหอ้ ยใู่ นพกิ ดัโดยทวั่ ไปผใู้ ชง้ านมกั เลือกใชก้ บั ดกั ฟ้าผา่ แบบธรรมดาติดต้งั ไวภ้ ายนอกตวัGIS เน่ืองจากมีราคาถูกกวา่ แต่มีบางกรณีที่จาเป็นตอ้ งใชก้ บั ดกั ฟ้าผา่ แบบGIS เท่าน้นั เช่น สายส่งเป็นแบบใตด้ ิน (Under ground Cable) หรือกรณีต่อ GIS เขา้ กบั หมอ้ แปลงโดยตรงเป็นตน้
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISอุปกรณ์เสริม ( Secondary Components)1 Local Control Cubicle (LCC) GIS แต่ละ bay จะมีตูค้ วบคุมเพ่ือต่อสญั ญาณควบคุมไปยงั อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เซอร์กิตเบรคเกอร์ , ใบมีดตดั ตอน , ใบมีดกราวด์ , หมอ้ แปลงวดั กระแส , หมอ้ แปลงวดั แรงดนั และสวติ ซ์ตรวจจบั แรงดนั ก๊าซ (Pressure switches)การควบคุมจากตูแ้ บ่งออกเป็น 2 ระดบั คือa. ใชค้ วบคุมอุปกรณ์ภายใน Bay- สามารถควบคุมอุปกรณ์ทุกตวั ไดท้ างไฟฟ้า- มี Single Line Diagram และ Mimic Diagram สาหรับแสดงตาแหน่งของอุปกรณ์- แสดง Compartments ที่เกิดเหตุการณ์ เช่น แรงดนั ก๊าซต่าb. ใชต้ ่อเชื่อมกบั สญั ญาณควบคุมภายนอกสามารถต่อร่วมกบั อุปกรณ์ควบคุม เพ่ือใหส้ ามารถควบคุมจากหอ้ งควบคุมศูนย์ หรือ ศูนยค์ วบคุมได้ นอกจากน้นั ยงั ส่ง Information ข้ึนไปยงัศูนยค์ วบคุมไดอ้ ีกดว้ ย
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISอุปกรณ์เสริม ( Secondary Components)2 Gas systems อุปกรณ์ท้งั หมดภายใน GIS จะอดั ดว้ ยก๊าซ SF6 แรงดนั ท่ีเลือกใชข้ ้ึนอยกู่ บั แรงดนั ไฟฟ้าท่ีใชง้ าน และ Dimension ของท่อโลหะ อุปกรณ์แต่ละชนิด เช่น เซอร์กิตเบรคเกอร์ , ใบมีดตดั ตอน ,หมอ้ แปลงวดั แรงดนั , กบั ดกั ฟ้าผา่ หรืออุปกรณ์อ่ืนๆ จะแยกส่วนของก๊าซออกจากกนั ซ่ึงเรียกแต่ละส่วนวา่ Gas compartment
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GIS การแยก Compartment เพือ่ ป้องกนั หากก๊าซร่ัว รวมถึง ฝ่นุ ผงท่ีเกิดจากการอาร์คของ เซอร์กิตเบรคเกอร์ ,ใบมีดตดั ตอน หรือ เกิดอาร์คภายใน(Internal flashover)ฟุ้งกระจายไปยงั บสั บาร์ และ จุดต่อต่างๆนอกจากน้นั ยงั ลดผลกระทบต่อกนั ขณะทาการบารุงรักษา โดยไม่จาเป็นตอ้ งดูดเกบ็ ก๊าซออกท้งั หมดเพียงแต่ดูด Gas ในCompartmentท่ีตอ้ งบารุงรักษาออกเท่าน้นั
สถานีไฟฟ้าแรงสูง GISการแยกระดบั ก๊าซใน Compartment Compartment PCBCompartments ทวั่ ไป จะมีความดนั ประมาณ 5-7 บาร์ จะเห็นวา่ใบมีดตดั ตอน ,บสั บาร์ , หมอ้ แปลง Compartment PCB มีความดนั สูงกวา่วดั แรงดนั , กบั ดกั ฟ้าผา่ จะใชค้ วาม Compartments อ่ืนๆ เพราะวา่ นอกจากจะดนั ประมาณ 3-4 บาร์ ใชก้ ๊าซสาหรับเป็นฉนวนแลว้ ยงั ใชส้ าหรับ การดบั อาร์คดว้ ยการตรวจจบั และส่งสัญญาณเตือน เมื่อ Compartments ท่ีมีระดบั ความดนั กา๊ ซต่ากวา่ ปกติLow Pressure Alarm 1 Low Pressure AlarmLow Pressure Alarm 2 Low Gas Lock-Out
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: